Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ

เนื้อหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ

Published by Rush Antique, 2020-01-12 01:53:43

Description: เนื้อหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ

Search

Read the Text Version

ภยั พิบัติทางธรรมชาติ ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ เปน็ เหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขนึ้ ตามธรรมชาติ เมอ่ื เกิดขน้ึ แลว้ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ อันตรายและเกิดความ สญู เสยี ทัง้ ชวี ิตและทรัพย์สินต่างๆ ภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาตเิ กิดขนึ้ ใน 3 ลกั ษณะ คือ ภัยพบิ ัติทีเ่ กดิ ข้ึนเน่อื งจาก สาเหตภุ ายในโลก เชน่ แผ่นดนิ ไหว ภูเขาไฟระเบดิ ภยั พิบัติท่ีเกดิ ขน้ึ บนผิวโลก เชน่ การเกิดแผน่ ดินถล่ม อุทกภยั ภัยแล้ง ไฟปา่ และภัยพิบัติที่เกดิ ขึ้นในบรรยากาศ เช่น วาตภยั ภาวะโลกรอ้ น ลูกเห็บ ฟ้าผา่ เปน็ ต้น ภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติและการเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติในโลก การเปลยี่ นแปลงทางสภาวะแวดลอ้ มของโลก อาจเกดิ ขน้ึ เนื่องจากปัจจยั ธรรมชาติหรือจากการกระทาของมนุษย์ ไดส้ ่งผลใหเ้ กิดปญั หาทางกายภาพหรือภัยพบิ ตั ิตา่ งๆ ท้งั ในประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ งๆของโลก อาทิ แผน่ ดนิ ไหว สนึ ามิ อทุ กภยั ตลอดจนภัยพิบตั ิอืน่ ๆ ก่อให้เกิดผลกระทบท้ังโดยตรงและโดยอ้อมตอ่ มวลมนุษย์ ลักษณะการเปลย่ี นแปลงมีต้งั แตก่ ารเกิดขน้ึ อย่างชา้ ๆไปจนถงึ การเกดิ อย่างฉับพลันและรุนแรง ซึง่ เป็นอันตรายตอ่ ชีวิตและความเป็นอยู่ของสิง่ มีชีวติ จึงมีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งศกึ ษาหาความรเู้ กีย่ วกบั ภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติและ การเปลยี่ นแปลงทางธรรมชาตใิ นโลกตา่ งๆ เพ่ือจะได้ปรับวิถึชีวิตใหส้ อดคล้องกบั สภาวะในขณะน้ี ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ (Natural Disasters) รปู แบบตา่ ง ๆ ทางธรรมชาตทิ ีไ่ ด้มีการศึกษารวบรวม และบันทึก รายละเอยี ดไว้ อาจสรุปได้เป็น 10 ประเภท คือ 1. การระเบดิ ของภูเขาไฟ (Volcano Eruptions) 2. แผ่นดินไหว (Earthquakes) 3. คล่นื ใตน้ า้ (Tsunamis) 4. พายใุ นรูปแบบตา่ ง ๆ (Various Kinds of storms) คอื ก. พายแุ ถบเสน้ Tropics ทม่ี แี หล่งก้าเนิดในมหาสมุทร (Tropical Cyclones) ข. พายหุ มนุ ทม่ี ีแหลง่ ก้าเนดิ บนบก (Tornadoes) ค. พายุฝนฟ้าคะนอง (Thunderstorms) 5. อุทกภัย (Floods) 6. ภัยแล้ง หรือทพุ ภิกขภยั (Droughts) 7. อคั คีภยั (Fires) 8. ดนิ ถล่ม และโคลนถลม่ (Landslides and Mudslides) 9. พายุหมิ ะและหิมะถล่ม (Blizzard and Avalanches) และ 10. โรคระบาดในคนและสตั ว์ (Human Epidemics and Animal Diseases)

1. การเกิดภูเขาไฟระเบิด ภูเขาไฟระเบดิ เป็นภยั พิบตั ิทางธรรมชาติทร่ี า้ ยแรงอย่างหน่ึง การระเบดิ ของภูเขาไฟ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ใตเ้ ปลือกโลก ลงไปมีความร้อนสะสมอยู่มาก ภเู ขาไฟเกิดจากหนิ หนืดรอ้ น เหลว (แมกมา) ท่ีอยูใ่ นส่วนลกึ ใต้เปลอื กโลก เคล่ือน ตัวดว้ ยแรงดนั ออกมาส่ผู ิวของเปลอื กโลก ทาให้มีการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ และทางเคมภี ายในเปลอื กโลกขึน้ อตั ราความรนุ แรง ของการระเบิดข้ึนอยู่กับความรนุ แรงของการระเบดิ ความดนั ของไอ และความหนดื ของลาวา ถ้าลาวาขน้ มาก ๆ อตั ราความรุนแรงของการระเบดิ จะรุนแรงมากตามไปด้วย เวลาภูเขาไฟระเบิด มใิ ชม่ ีแตล่ าวาที่ ไหลออกมาเท่านนั้ ยังมีไอน้า กา๊ ซ ฝุน่ ผงเถา้ ถ่านตา่ ง ๆ ออกมาด้วย พวกไอน้าจะควบแน่นกลายเปน็ น้า นาเอาฝนุ่ ละอองเถา้ ต่าง ๆ ทตี่ กลงมาด้วยกันไหลบา่ กลายเปน็ โคลนท่วมในบริเวณเชิงเขาต่าลงไป ยงิ่ ถา้ ภูเขาไฟน้นั มีหิมะปก คลมุ อยู่ มนั จะละลายหมิ ะ นาโคลนมาเป็นจานวนมากได้ ภเู ขาไฟมกั เกดิ ขน้ึ ตามแนวขอบของแผน่ เปลือกโลก ตาม แนวเทือกเขารมิ ฝ่งั มหาสมทุ รของทวปี ตา่ ง ๆ รวมท้งั ในบรเิ วณหมู่เกาะในมหาสมุทร บริเวณรอบ ๆ มหาสมทุ ร แปซฟิ ิกจะมีภูเขาไฟเป็นจานวนมากตามแนวขอบของมหาสมุทรแปซิฟิก จนถูกขนานนามว่าเปน็ “วงแหวนแห่ง ไฟ” (Ring of Fire) นอกจากน้กี ็มที ่มี หาสมุทรอนิ เดยี ทางตอนเหนอื และพบเพยี งเลก็ นอ้ ยในทะเลแครเิ บยี น ทะเล เมดเิ ตอรเ์ รเนยี น และบนเกาะไอซแ์ ลนด์ ผลกระทบจากภูเขาไฟระเบิด แรงสัน่ สะเทือนท่ีสน่ั มาก ทง้ั การเกิดแผ่นดินไหวเตือน แผน่ ดนิ ไหวจรงิ และแผ่นดนิ ไหวตดิ ตาม ประชาชนทตี่ ้ังถน่ิ ฐานอยู่บนเชิงภูเขาไฟอาจหนีไมท่ นั เกิดความสูญเสียชวี ิตและทรัพยส์ นิ การเคลือ่ นท่ีของลาวา อาจไหลออกมาจากปากปล่องภเู ขาไฟเคลอื่ นทรี่ วดเรว็ ถึง 50 กิโลเมตรต่อช่วั โมง มนษุ ย์ และสัตว์อาจหนภี ัยไม่ทนั เกิดความสญู เสียอย่างใหญ่หลวง เกิดเถา้ ภเู ขาไฟ ระเบดิ ขึน้ สบู่ รรยากาศ ครอบคลมุ อาณาบริเวณใกลภ้ ูเขาไฟ และลมอาจพัดพาไปไกลจากแหล่ง ภูเขาไฟระเบิดหลายพนั กโิ ลเมตร เช่น ภเู ขาไฟพินาตโู บระเบิดท่ีเกาะลซู อนประเทศฟิลิปปินส์ ฝุน่ ภเู ขาไฟยังตก ทางจงั หวัดภาคใต้ของประเทศไทย เชน่ จงั หวัดสงขลา นราธิวาส และปัตตานี เกดิ มลภาวะทางอากาศและแหล่ง นา้ กินน้าใชข้ องประชาชน รวมทง้ั ฝุ่นภูเขาไฟได้ขนึ้ ไปถงึ บรรยากาศข้ันสตราโตสเฟยี ร์ ใชเ้ วลานานหลายปี ฝนุ่ เหล่าน้ันถึงจะตกลงบนพนื้ โลกหมด เกดิ คล่ืนสึนามิ ขณะเกิดภเู ขาไฟระเบิด โดยเฉพาะภูเขาไฟใต้ทอ้ งมหาสมุทร คล่นื นจ้ี ะโถมเข้าหาฝ่งั สูงกว่า 30,000 เมตรหลังจากภเู ขาไฟระเบดิ เถ้าภเู ขาไฟจะถลม่ ลงมา ทาให้พน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี งถกู ทาลาย ประโยชนข์ องการเกิดภเู ขาไฟ แผน่ ดนิ ขยายกว้างข้ึนหรอื สงู ขึ้น เกิดเกาะใหมภ่ ายหลงั ที่เกดิ การปะทุใต้ทะเล ดินทเี่ กิดจากภเู ขาไฟระเบิดจะอุดมสมบรู ณด์ ว้ ยแรธ่ าตตุ า่ งๆ เปน็ แหลง่ เกดิ นา้ พรุ ้อน การระเบิดของภูเขาไฟช่วยปรบั ระดับของเปลือกโลกให้อยใู่ นภาวะสมดลุ การเคลื่อนที่ของลาวาจากการระเบดิ ของภเู ขาไฟ ทาให้หนิ อคั นีและหนิ ชั้น ซง่ึ อยู่ใตท้ ่ีลาวาไหลผา่ น เกดิ การแปร สภาพเปน็ หนิ แปรทีแ่ ข็งแกรง่ ข้นึ

แหลง่ ภเู ขาไฟระเบิด ทาใหเ้ กิดแหลง่ แรท่ ี่สาคญั ข้นึ เช่น เพชร เหลก็ และธาตุอ่ืน ๆ อีกมากมาย [2] แหล่งภเู ขาไฟระเบดิ จะเปน็ แหลง่ ดินดีท่เี หมาะแก่การเพาะปลูก เชน่ ดนิ ท่อี าเภอท่าใหม่ จงั หวัดจนั ทบุรี เป็นต้น แหล่งภูเขาไฟ เป็นแหล่งท่องเท่ยี วทส่ี าคญั เชน่ อุทยานแหง่ ชาตฮิ าวาย ในอเมริกา หรอื แหลง่ ภูกระโดง ภูอังคาร ในจังหวัดบุรีรัมยข์ องไทย เป็นต้น ฝุ่น เถา้ ภูเขาไฟที่ลอ่ งลอยอยูใ่ นชั้นสเตรโตสเฟยี ร์ ทาให้บรรยากาศโลกเยน็ ลง ปรับระดับอณุ หภูมิของบรรยากาศ ชน้ั โทรโพสเฟยี ร์ของโลกท่กี าลังรอ้ นขน้ึ ข้อควรปฏิบัติเมอ่ื ภเู ขาไฟเริ่มปะทุ กอ่ นเกดิ เหตุ ควรสรา้ งชอ่ งทางติดต่อสื่อสารฉกุ เฉิน ตกลงกันในครอบครัววา่ จะติดต่อกนั อยา่ งไรด้วยวิธไี หน ถ้าเกิด เหตกุ ารณฉ์ ุกเฉนิ จะไปเจอกนั ท่ไี หน ตดิ ตามข่าวสารจากทางราชการและเม่ือทางการสงั่ อพยพใหอ้ พยพออกจากพน้ื ทท่ี ันทอี าจไปรวมตวั กนั ท่ีสถานท่ี หลบภยั ทันที ไม่ควรหลบอยู่ในอาคารสงิ่ ก่อสรา้ งเพราะอาจถล่มลงมาจากแผ่นดินไหวหรอื เถา้ ภเู ขาไฟได้[6] เตรยี มอปุ กรณ์ยังชีพให้พร้อม ไฟฉาย และ ถา่ นทใ่ี ชง้ านได้ ยาสามัญประจาบ้าน และ ต้องรู้วธิ ใี ช้ น้า อาหารแห้ง หรอื อาหารที่สามารถใชก้ ินได้ยามฉกุ เฉิน หนา้ กากกันฝนุ่ หรือหน้ากากอนามยั และแวน่ ตาเพ่ือปอ้ งกันเถา้ ของภเู ขาไฟ เสอ้ื แขนยาว และ กางเกงขายาว วิทยุทฟ่ี ัง AM-FM ได้ ภูเขาไฟในประเทศไทย ภูเขาไฟดอยผาคอกจาปา่ แดด และปลอ่ งภเู ขาไฟดอยผาคอกหินฟู จงั หวัดลาปาง[8] ภูเขาพระองั คาร ตาบลเจรญิ สุข อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวดั บุรีรัมย์ ภูเขาหลวง จงั หวัดสุโขทัย ภูเขาพนมสวาย (วนอุทยานแหง่ ชาตพิ นมสวาย) จงั หวัดสรุ ินทร[์ 9] ภูเขาพนมรุ้ง จงั หวัดบุรรี ัมย์ เขากระโดง จงั หวดั บรุ ีรัมย์ เขาท่าเพชร จงั หวัดสุราษฎร์ธานี

2. แผ่นดนิ ไหว (Earthquakes) แผน่ ดินไหว เปน็ ปรากฏการณส์ ่นั สะเทือนหรือเขย่าของพ้ืนผวิ โลก เพอื่ ปรบั ตวั ใหอ้ ยูใ่ นสภาวะสมดุล ซึง่ แผน่ ดินไหวสามารถก่อให้เกดิ ความเสียหายและภยั พิบัติต่อบ้านเมอื ง ทอี่ ยู่อาศัย ส่ิงมชี ีวิต สว่ นสาเหตขุ องการเกดิ แผน่ ดินไหวน้ันส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลกั ษณะสามารถเกิดจากการกระทาของมนษุ ย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าทเ่ี กิดขึ้นเองจากธรรมชาติ นักธรณีวิทยาประมาณกันวา่ ในวันหนงึ่ ๆ จะเกิดแผ่นดนิ ไหว ประมาณ 1,000 ครง้ั ซึ่งส่วนใหญ่จะเปน็ แผ่นดนิ ไหวที่มีการส่ันสะเทอื นเพียงเบา ๆ เทา่ น้นั คนท่ัวไปไมร่ ู้สึก แผน่ ดนิ ไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติทเ่ี กดิ จากการเคล่ือนทข่ี องแผน่ เปลอื กโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณภี าค) ทาใหเ้ กิดการเคลื่อนตวั ของช้นั หินขนาดใหญเ่ ล่ือน เคล่ือนท่ี หรอื แตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลงั งานศักย์ ผ่านใน ชัน้ หนิ ทอ่ี ย่ตู ิดกัน พลงั งานศักย์นอ้ี ยู่ในรูปคลนื่ ไหวสะเทือน ศนู ยเ์ กดิ แผ่นดินไหวมกั เกดิ ตามรอยเล่อื น อยูใ่ นระดบั ความลกึ ต่าง ๆ ของผวิ โลก เทา่ ทีเ่ คยวดั ได้ลกึ สุดอยู่ในช้ัน แมนเทลิ สว่ นจุดทีอ่ ยใู่ นระดับสูงกว่า ณ ตาแหน่งผิวโลก เรยี กวา่ จุดเหนอื ศูนยเ์ กิดแผ่นดินไหว โดยการศกึ ษาเร่ือง แผน่ ดินไหวและคล่ืนส่นั สะเทือนทีถ่ ูกส่งออกมา เรยี กว่า วิทยาแผน่ ดนิ ไหว เม่ือจดุ เหนอื ศูนยเ์ กิดแผน่ ดินไหวของ แผ่นดนิ ไหวขนาดใหญ่อยูน่ อกชายฝั่ง อาจเกิดคลนื่ สึนามิตามมาได้ นอกจากนี้ แผน่ ดินไหวยงั อาจก่อใหเ้ กิดดินถล่ม และบางคร้ังกจิ กรรมภูเขาไฟตามมาได้ แผน่ ดินไหววัดโดยใชก้ ารสังเกตจากไซสโมมิเตอร์ (seismometer) มาตราขนาดโมเมนต์เปน็ มาตราทีใ่ ช้มากทสี่ ุด ซ่งึ ทวั่ โลกรายงานแผน่ ดนิ ไหวทม่ี ขี นาดมากกว่าประมาณ 5 สาหรบั แผ่นดินไหวอกี จานวนมากที่ขนาดเล็กกวา่ 5 แมกนิจดู สานักเฝ้าระวังแผ่นดนิ ไหวแตล่ ะประเทศจะวดั ดว้ ยมาตราขนาดทอ้ งถนิ่ เปน็ สว่ นใหญ่ หรอื เรยี ก มาตรา รกิ เตอร์ สองมาตรานี้มีพสิ ัยความถูกต้องคลา้ ยกันในเชงิ ตัวเลข แผน่ ดนิ ไหวขนาด 3 หรอื ต่ากวา่ ส่วนใหญ่แทบไม่ รูส้ กึ หรือร้สู ึกไดเ้ บามาก ขณะท่แี ผ่นดินไหวตง้ั แต่ขนาด 7 อาจก่อความเสียหายรนุ แรงเป็นบริเวณกวา้ ง ขนึ้ อยู่กบั ความลกึ แผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญท่ ่สี ดุ ในประวตั ิศาสตร์มขี นาดมากกวา่ 9 เลก็ นอ้ ย แม้จะไมม่ ีขีดจากดั วา่ ขนาดจะมี ไดถ้ งึ เท่าใด แผ่นดนิ ไหวใหญ่ล่าสุดทมี่ ีขนาด 9.0 หรือมากกว่า คอื แผน่ ดินไหวขนาด 9.0 ทป่ี ระเทศญีป่ ่นุ เมื่อปี 2554 และเปน็ แผ่นดนิ ไหวคร้ังใหญ่ท่ีสดุ เท่าทเี่ คยมกี ารบนั ทึกในญ่ีปุน่ ความรนุ แรงของการส่นั สะเทือนวดั โดย มาตราเมร์กัลลีท่ีถกู ดัดแปลง หากตัวแปรอนื่ คงท่ี แผน่ ดินไหวทอ่ี ยตู่ ้นื กว่าจะสร้างความเสียหายแก่สิ่งก่อสรา้ ง มากกว่าแผน่ ดนิ ไหวท่ีอยู่ลึกกว่า แผ่นดินไหว แผน่ ดนิ ไหว เป็นภยั พิบตั ทิ างธรรมชาตทิ ่ีเกดิ จากการส่นั สะเทอื นของพ้นื ดนิ อันเนอื่ งมาจากการปลดปล่อย พลังงานเพอื่ ลดความเครียดที่สะสมไวภ้ ายในโลกออกมาเพ่ือปรบั สมดุลของเปลือกโลกให้คงท่ี ปจั จุบัน นกั วทิ ยาศาสตร์ยังไม่สามารถทานายเวลา สถานท่ี และความรุนแรงของแผ่นดนิ ไหวท่จี ะเกดิ ข้ึนในอนาคตได้ ดังนน้ั

จึงควรศึกษา เรียนรู้ เพ่ือใหเ้ ข้าใจถงึ กระบวนการเกดิ ของแผ่นดินไหวทีแ่ ทจ้ รงิ เพอื่ เป็นแนวทางในการลดความ เสยี หายทเี่ กิดข้นึ สาเหตุของการเกดิ แผน่ ดนิ ไหว การเกดิ แผน่ ดนิ ไหวมีสาเหตมุ าจาก 2 สาเหตใุ หญ่ สาเหตุแรกเกดิ จากการกระทาของมนุษย์ ไดแ้ ก่ การ ทดลองระเบิดปรมาณู การกกั เก็บน้าในเข่ือน และแรงระเบิดจากการทาเหมืองแร่ สว่ นสาเหตุทสี่ องเป็นสาเหตุ หลักของการเกิดแผ่นดินไหว โดยเป็นการเกิดตามธรรมชาติอนั เนอื่ งมาจากการเคลือ่ นที่ของแผน่ เปลอื กโลก ทง้ั นี้ ทฤษฎีกลไกการเกิดแผน่ ดนิ ไหวท่ยี อมรบั กันในปจั จุบันมี 2 ทฤษฎคี ือ ทฤษฎีวา่ ดว้ ยการขยายตัวของเปลือกโลก โดยแผ่นดินไหวเกดิ จากการท่ีเปลอื กโลกเกดิ การคดโคง้ โก่ง ตวั อยา่ งฉับพลัน และเมื่อวตั ถุขาดออกจากกันจึงปลดปลอ่ ยพลงั งานออกมาในรูปคลื่นแผ่นดินไหว ทฤษฎีวา่ ดว้ ยการคนื ตัวของวตั ถุ โดยแผน่ ดนิ ไหวมาจากการเคลอื่ นตวั ของรอยเลอ่ื น กล่าวคอื เมือ่ รอย เลอ่ื นเกิดการเคลื่อนตัวถึงจดุ หนง่ึ วตั ถุจะขาดออกจากกันและเสยี รูปอย่างมาก พร้อมทงั้ ปลดปลอ่ ยพลังงาน มหาศาลออกมาในรปู ของคล่ืนแผน่ ดินไหว และหลังจากน้ันวตั ถจุ ะคนื ตัวกลับสู่รปู เดิม

3. คลน่ื สนึ ามิ สนึ ามิ (Tsunami) เปน็ ภาษาญปี่ ่นุ แปลวา่ คลน่ื ท่า (harbor wave) คือ คลืน่ หรอื กลมุ่ คล่นื ทม่ี จี ดุ กาเนิดอยู่ในเขต ทะเลลึก ซง่ึ มักปรากฏหลังแผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญ่ แผน่ ดินไหวใต้ทะเล ภเู ขาไฟระเบดิ ดินถล่ม แผน่ ดินทรดุ หรือ อุกกาบาตขนาดใหญต่ กลงในทะเล ซงึ่ คลนื่ สึนามิสามารถเข้าทาลายพื้นที่ชายฝั่ง ทาให้เกิดการสญู เสยี ท้ังชวี ิตและ ทรพั ย์สินได้ ลักษณะของคลืน่ คลื่นสึนามิแตกต่างจากคลืน่ น้าธรรมดามาก ตวั คลื่นนนั้ สามารถเดนิ ทางได้เปน็ ระยะทางไกล โดยไมส่ ญู เสีย พลงั งาน และสามารถเข้าทาลายชายฝงั่ ท่ีอย่หู ่างไกลจากจุดกาเนดิ หลายพนั กโิ ลเมตรได้ โดยทั่วไปแลว้ คลน่ื สึนามิ ซ่งึ เป็นคลนื่ ในน้า จะเดินทางได้ชา้ กวา่ การสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวทเ่ี ปน็ คลื่นท่ีเดนิ ทางในพน้ื ดิน ดังนัน้ คลนื่ อาจเขา้ กระทบฝงั่ ภายหลงั จากทผ่ี ้คู นบริเวณน้นั ร้สู กึ ว่าเกดิ แผน่ ดนิ ไหวเปน็ เวลาหลายชวั่ โมง คลน่ื โดยทวั่ ไปจะมี คุณสมบัติสาคัญทวี่ ัดได้อยสู่ องประการคอื คาบ ซ่ึงจะเปน็ เวลาระหว่างลกู คลื่นสองลูก และ ความยาวคล่ืน ซง่ึ เปน็ ระยะหา่ งระหวา่ งลกู คลนื่ สองลกู ในทะเลเปิดคล่ืนสนึ ามมิ ีคาบท่ีนานมาก โดยเรม่ิ จากไมก่ ่ีนาทไี ปจนเปน็ ชว่ั โมง ใน ขณะเดียวกันก็มีความยาวคล่ืนที่ยาวมาก โดยอาจยาวถึงหลายรอ้ ยกโิ ลเมตร ในขณะทค่ี ลน่ื ท่วั ไปท่เี กิดจาก ลมที่ ชายฝงั่ น้นั มคี าบประมาณ 10 วินาที และมคี วามยาวคล่ืนประมาณ 150 เมตรเท่านัน้ ความสูงของคลื่นในทะเล เปิดมักน้อยกวา่ หน่งึ เมตรซ่ึงทาให้ไม่เป็นที่สงั เกตของผู้คนบนเรอื คล่นื สึนามจิ ะเคลือ่ นท่ีด้วยความเร็วตัง้ แต่ 500 ถึง 1,000 กโิ ลเมตรต่อชัว่ โมง อยา่ งไรกต็ าม เม่อื เขา้ สชู่ ายฝง่ั ทม่ี ีความลึกลดลง คล่นื จะมีความเร็วลดลงและเรม่ิ ก่อ ตัวเป็นคลืน่ สูง โดยอาจมคี วามสูงมากกว่า 30 เมตร คลื่นสึนามิจะเคลื่อนตัวออกจากแหล่งกาเนิด ดังนน้ั ชายฝ่งั ทถ่ี ูกกาบังโดยแผน่ ดนิ สว่ นอ่ืนๆ มักปลอดภยั จากคล่ืน อยา่ งไรก็ตาม ยังมโี อกาสทค่ี ล่ืนจะสามารถเล้ียวเบนไปกระทบได้ นอกจากน้ี คล่นื ไมจ่ าเปน็ ต้องมีความแรงเทา่ กนั ในทุกทิศทุกทาง โดยความแรงจะขนึ้ กบั แหลง่ กาเนิดและลักษณะของภูมิประเทศแถบน้ัน คลื่นจะมีพฤติกรรมเปน็ \"คล่ืนน้าตนื้ \" เมื่ออัตราสว่ นระหว่างความลกึ ของน้าและขนาดของคลื่นนัน้ มีค่าตา่ ดงั นนั้ เน่อื งจากมขี นาดของคลน่ื ท่สี งู มาก คลืน่ สึนามจิ งึ มคี ุณสมบัตเิ ปน็ คล่นื น้าตน้ื แมอ้ ยู่ในทะเลลกึ ก็ตาม สาเหตุการเกดิ คลืน่ สึนามสิ ว่ นใหญ่เกิดจากการเคลอ่ื นตัวของเปลือกโลกใต้ทะเลอย่างฉบั พลนั อาจจะเป็นการเกิดแผน่ ดนิ ถล่ม ยบุ ตวั ลง หรือเปลอื กโลกถูกดันข้นึ หรอื ยบุ ตัวลง เม่ือแผน่ ดินใต้ทะเลเกิดการเปลี่ยนรูปรา่ งอย่างกระทันหัน จะทา ให้นา้ ทะเลเกดิ เคล่ือนตัวเพ่ือปรับระดับใหเ้ ข้าสู่จดุ สมดุลและจะก่อใหเ้ กดิ คลืน่ สนึ ามิ การเปล่ยี นรปู ร่างของพนื้ ทะเลมักเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผน่ ดินไหวเน่อื งจากการขยับตัวของเปลือกโลก ซงึ่ จะเกิดบรเิ วณทข่ี อบของเปลอื กโลก หลายแผน่ เชอ่ื มตอ่ กันที่เรยี กว่า รอยเล่ือน (fault) เชน่ บรเิ วณขอบของมหาสมทุ รแปซฟิ ิก นอกจากแผน่ ดินไหว

แล้ว ดินถลม่ ใตน้ า้ ท่ีมักเกิดร่วมกบั แผน่ ดินไหวสามารถทาให้เกดิ คลื่นสึนามิได้เชน่ กนั นอกจากการ กระทบกระเทอื นที่เกดิ ใต้น้าแล้ว การทพ่ี ืน้ ดินขนาดใหญถ่ ล่มลงทะเล หรอื การตกกระทบพ้ืนนา้ ของเทหวตั ถุ ก็ สามารถทาให้เกดิ คลืน่ ได้ คลื่นสึนามทิ เี่ กิดในรปู แบบนจ้ี ะลดขนาดลงอย่างรวดเรว็ และไม่มผี ลกระทบต่อชายฝ่ังท่ี อยหู่ า่ งไกลมากนัก อยา่ งไรกต็ าม ถ้าแผน่ ดินมีขนาดใหญ่มากพอ อาจทาใหเ้ กดิ เมกะสนึ ามิ ซง่ึ อาจมคี วามสูงรว่ ม ร้อยเมตรได้ ระบบเตือนภัยจากสึนามิ การบรรเทาภยั จากสึนามิจะทาไดโ้ ดยการเฝ้าระวงั อยา่ งใกล้ชดิ ประเทศไทยเปน็ สมาชกิ ในระบบเตือนภัยสนึ ามิใน แปซฟิ ิก (Pacific Tsunami Warning System) ซ่ึงมีสมาชกิ 26 ประเทศ ซง่ึ มีศูนย์อยู่ทฮ่ี าวาย เม่ือศูนย์ได้รับ ขอ้ มูลแผน่ ดินไหวจะทาการตรวจสอบว่าตาแหน่งทเี่ กิดกบั ขนาดของแผ่นดินไหวว่าเขา้ เกณฑ์เสี่ยงไหม ถ้าพบว่า เข้าเกณฑ์เสยี่ งกจ็ ะทาการแจ้งเตอื นภยั โดยรอบ พร้อมท้ังจะใหข้ ้อมลู เวลาทค่ี าดว่าคลน่ื จะมาถึงสาหรบั บรเิ วณท่ี คล่นื จะถงึ ใน 2-3 ชว่ั โมง เม่ือทางศนู ยต์ รวจพบสึนามิใหญจ่ ากการตรวจวดั ภาพพ้ืนทะเล ศนู ย์จะแจง้ เตือนท่ัว ประเทศในภาคพื้นแปซิฟิค ข้อควรปฏิบตั ิเมื่อเกดิ สนึ ามิ 1. กรณีทอ่ี ยบู่ นบก หากไดร้ ับสัญญาณเตือนภยั ข่าวการเกดิ คล่นื สนึ ามิ ควรเคลื่อนย้ายออกจากพนื้ ที่เสย่ี งภยั และปฏิบตั ิตามคา แนะนาของเจ้าหน้าท่ี หากอยู่บริเวณชายหาด และรู้สกึ ได้ถึงแผน่ ดนิ ไหว ให้รบี หนีไปอย่บู ริเวณท่ีสูงและอยหู่ ่างจากแมน่ า้ หรือคลองที่ ต่อเชือ่ มลงสู่ทะเลหรือมหาสมุทร หากเกิดคลื่นสึนามิในบริเวณมหาสมทุ รทห่ี า่ งไกล ก็มีเวลาเพียงพอท่จี ะหาบริเวณท่สี งู สาหรบั หลบภยั ได้ แต่สาหรับ คลื่นสึนามิทเ่ี กิดขนึ้ ประจาในท้องถนิ่ เมอื่ รู้สึกถงึ แผน่ ดนิ ไหว กจ็ ะมเี วลาเพียง 2 -3 นาทีเทา่ นนั้ สาหรบั หาท่หี ลบภัย ได้ สาหรบั ตกึ สูง หลายช้นั และ มีโครงสร้างเสรมิ ความแขง็ แรง ชนั้ บนของตึกสามารถใช้เป็นท่หี ลบภยั คลื่นสึนามิได้ใน กรณีท่ีไมม่ ีเวลาพอในการหาท่ีสงู หลบภยั 2. กรณีทอ่ี ยู่ในทะเล ปกติผ้เู ดนิ เรอื จะไมท่ ราบวา่ เกิดสนึ ามเิ มอ่ื อยู่ในทะเล และเมื่อได้ยินการเตือนภัย หา้ มเข้าชายฝงั่ เพราะระดบั น้าจะ เปลีย่ นแปลงอยา่ งมากที่ชายฝงั่ แตถ่ า้ เรือกาลังจะออกจากท่าเรอื ใหต้ ิดต่อกบั ทา่ เรือเพ่ือรับฟังคาแนะนา ถ้า รับทราบคาเตือนและมเี วลาท่ีจะไปยังน้าลึกก็อาจจะไปอย่างเปน็ ระเบยี บ แตส่ าหรบั เรือเล็กอาจจะปลอดภยั กว่าถ้า อพยพออกจากเรือไปยังทีส่ ูง

4. พายุ คือ สภาพบรรยากาศท่ีถูกรบกวนแบบใด ๆ ก็ตาม โดยเฉพาะทีม่ ีผลกระทบต่อพื้นผวิ โลก และบง่ บอกถงึ สภาพ อากาศทีร่ นุ แรง เวลากล่าวถึงความรุนแรงของพายุ จะมปี ัจจัยสาคัญอยู่บางประการคือ ความเรว็ ใกล้ศนู ย์กลาง ซ่ึง อาจสงู ถงึ 400 กม./ชม. ความเร็วของการเคล่ือนตัว ทิศทางการเคลื่อนตัวของพายุ และขนาดความกวา้ งหรอื เส้นผ่าศนู ยก์ ลางของตัวพายุ ซึ่งบอกถงึ อาณาบริเวณที่จะไดร้ บั ความเสยี หายวา่ ครอบคลุมเท่าใด ความรนุ แรงของ พายุจะมีมาตราวัดความรุนแรงคล้ายมาตราริกเตอร์ของการวัดขนาดแผน่ ดินไหว มักจะมีความเร็วเพิ่มข้ึนเรอื่ ย ๆ โดยมกี ารเกดิ ไดท้ ุกทีท่ ว่ั โลกร่วมกนั อยา่ งแพร่กระจายผา่ นไปผ่านอุปกรณ์ปอ้ นขอ้ มลู จากทา่ นผมู้ ีอานาจส่งั บรรจุ วัสดุก่อสร้างโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นทาลายจดุ เนอ้ื หา 1 การเกิด 2 ประเภท 3 ระดบั ความรนุ แรง 4 อ้างอิง 5 ดเู พมิ่ 6 แหล่งข้อมูลอ่นื การเกดิ พายุ (Storms)เกดิ จากแรงดันในอากาศตา่ ลงมากกว่าในบริเวณรอบๆ พน้ื ท่ีหน่งึ พร้อมกบั มีแรงดนั อากาศสงู เกดิ ข้ึนรอบ ๆ พน้ื ทน่ี ้ัน การรวมของแรงปะทะต่าง ๆ ก่อให้เกิดลม อันส่งผลใหเ้ กดิ การเคลื่อนตวั เปลย่ี นรูปของ พายเุ มฆ เชน่ สภาพท่เี รยี กว่า cumulonimbus ซ่งึ เป็นในรูปแบบก้อนเมฆดาทะมนึ หนาทบึ อันเต็มไปด้วยประจุ ไฟฟา้ ที่กอ่ ให้เกิดฝนฟา้ คะนอง ซง่ึ แรงดนั อากาศต่าอาจเกิดจากจุดเลก็ ๆ ท่ีพื้นทใ่ี ด ๆ อนั เกิดจากอากาศร้อนลอยล่องขึ้นจากพนื้ ดิน ส่งผลใหเ้ กิด การปั่นปว่ นนอ้ ย ๆ เช่น การเกิดพายุฝุ่น (dust devils) หรือลมหมุน (whirlwinds) ประเภท พายหุ ิมะ (Blizzard) - ที่ทาให้เกิดหมิ ะจานวนมาก จนมองไมเ่ หน็ ทางข้างหน้า ผลท่ีเกิดขึ้นคอื ทาให้วสิ ยั ทศั น์ใน การมองเหน็ แทบจะเหลอื ศูนย์ โดยมีลมแรงอยา่ งน้อย 35 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมง (56 กม. / ชม.) และมผี ลกระทบอยู่เปน็ เวลานาน พายฝุ ุ่น (Dust storm) - เกดิ จากสถานการณท์ ลี่ มพดั เอาทรายหรอื ดนิ ในปรมิ าณมาก มีผลกระทบทาใหล้ ดการ มองเห็นเปน็ อยา่ งมาก Gale - พายลุ มแรงดว้ ยความเร็ว 34-48 นอต (39–55 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมงหรอื 63–90 กม. / ชม.)

พายุลูกเห็บ (Hailstorm) - พายุชนดิ หนงึ่ เป็นปรากปรากฏการณท์ าใหเ้ กิดลูกเหบ็ จานวนมากตกลงมาจากท้องฟ้า พายฟุ ้าคะนอง (Thunderstorm) - เป็นพายุชนิดหน่ึงทีถ่ ูกจดั ลกั ษณะโดยปรากฏการณ์จากผลกระทบของ แสง และ เสียง บนบรรยากาศของโลก ทร่ี จู้ กั กันในชื่อ ฟา้ รอ้ ง ทอรน์ าโด (Tornado) - เป็นพายทุ ีเ่ กดิ จากการหมุนของอากาศ สามารถเกิดขน้ึ ได้ในหลายลกั ษณะ โดยลักษณะที่ พบไดบ้ ่อยท่ีสดุ คอื ลักษณะรูปทรงกรวย โดยสว่ นปลายโคนชี้ลงทพ่ี น้ื พายหุ มุนเขตร้อน (Tropical cyclone) - เป็นระบบพายุท่ีหมุนอยา่ งรวดเร็ว มีลักษณะไดแ้ ก่ ศนู ย์กลางความกด อากาศต่า การไหลเวยี นของบรรยากาศระดบั ตา่ แบบปดิ ลมกระโชกแรง และการจดั เรยี งของพายุฟา้ คะนองแบบ กน้ หอยซึง่ ให้เกิดฝนตกหนกั พายหุ มุนนอกเขตรอ้ น (extratropical cyclone) เปน็ บริเวณความกดอากาศต่าซ่ึงขบั เคลอ่ื นลมฟ้าอากาศในพื้นที่ ส่วนใหญ่ของโลกร่วมกบั แอนไทไซโคลนในเขตละติจดู สูง พายุหมนุ นอกเขตร้อนสามารถทาใหเ้ กดิ ท้องฟา้ มีเมฆมาก และมีฝนตก ระดับความรุนแรง การจดั ระดบั เฮอรร์ ิเคนตามความรุนแรงของแรงลมทก่ี ่อให้เกิดพายุ หรือทเ่ี ราเรียกวา่ “มาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์– ซิมป์สนั ” การจัดระดบั ดงั กล่าวถูกใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการประเมนิ ความเสยี หายและอุทกภยั ทจี่ ะเกิดขนึ้ จากพายเุ ฮอร์ ริเคนเม่ือพดั ขน้ึ สชู่ ายฝั่ง โดยการจดั ระดบั นจี้ ะใช้กบั เฮอรร์ ิเคนทีก่ ่อตวั ข้นึ ในมหาสมุทรแอตแลนติกและทางตอน เหนอื ของมหาสมุทรแปซิฟิกเทา่ นั้น[1] ระดบั ความรนุ แรงของพายุ ระดับ F1 ความเร็วลม 119-153 กิโลเมตรตอ่ ช่วั โมง ความสูงของคล่ืน 1.2-1.5 เมตร ความกดอากาศ 980 มลิ ลบิ าร์ อานุภาพในการทาลายลา้ ง เล็กน้อยไม่ส่งผลตอ่ สิ่งก่อสรา้ ง มนี า้ ท่วมบา้ งตามชายฝั่ง ท่าเรอื เสยี หายเล็กนอ้ ย ระดบั ความรุนแรงของพายุ ระดบั F2 ความเรว็ ลม 154-177 กโิ ลเมตรตอ่ ชัว่ โมง ความสูงของคล่ืน 1.8-2.4 เมตร ความกดอากาศ 965-979 มลิ ลบิ าร์ อานภุ าพในการทาลายล้าง น้อย หลงั คา ประตู หนา้ ต่างบ้านเรอื นมีเสยี หายบา้ ง กอ่ ให้เกิดนา้ ทว่ มทาลายท่าเรอื จนถงึ อาจทาให้สมอเรอื ทไ่ี ม่ไดป้ ้องกันไว้หลดุ หรอื ขาดได้ ระดับความรุนแรงของพายุ ระดบั F3

ความเร็วลม 178-209 กิโลเมตรต่อช่วั โมง ความสงู ของคล่ืน 2.7-3.7 เมตร ความกดอากาศ 945-964 มิลลิบาร์ อานุภาพในการทาลายล้าง ปานกลาง ทาลายโครงสรา้ งท่ีอยอู่ าศัยขนาดเลก็ ได้บา้ ง โทรศัพทบ์ ้านถกู ตดั ขาด แผง ป้องกนั พายตุ ามบา้ นเรือนได้รับความเสียหาย อาจเกิดน้าท่วมขังเข้ามาถงึ พน้ื ดนิ ส่วนใน ระดับความรนุ แรงของพายุ ระดบั F4 ความเรว็ ลม 210-249 กโิ ลเมตรต่อชัว่ โมง ความสูงของคล่ืน 4.0-5.5 เมตร ความกดอากาศ 944-920 มลิ ลิบาร์ อานุภาพในการทาลายลา้ ง สูง แผงป้องกนั พายุเสียหายหนักยิง่ ข้นึ หลงั คาบ้านเรือนบางแหง่ ถูกทาลาย นา้ ท่วมเข้า มาถงึ พื้นดนิ ส่วนใน ระดบั ความรุนแรงของพายุ ระดบั F5 ความเรว็ ลม ไมน่ ้อยกวา่ 250 กิโลเมตรตอ่ ช่วั โมง ความสงู ของคลนื่ ไมน่ ้อยกวา่ 5.5 เมตร ความกดอากาศ น้อย กว่า 920 มลิ ลิบาร์อานภุ าพในการทาลายล้าง สูง หลงั คาบ้านเรอื นและโรงงานอุตสาหกรรมถูกทาลาย ตึกรามบาง แหง่ อาจถูกพดั ถล่ม เกิดน้าทว่ มขังปรมิ าณมากถงึ ขนั้ ทาลายขา้ วของในช้นั ล่างของบา้ นเรือนใกล้ชายฝง่ั และอาจ ตอ้ งมีการประกาศใหป้ ระชาชนในพ้ืนท่ีทาการอพยพโดยด่วน

5. อทุ กภยั (น้าท่วม) ภยั ท่ีเกดิ ขน้ึ เนื่องจากมนี ้าเปน็ สาเหตุ อาจจะเปน็ น้าท่วม น้าปา่ หรอื อื่น ๆ โดยปกติ อุทกภยั เกิดจากฝนตกหนัก ตอ่ เนอ่ื งกันเป็นเวลานาน บางครงั้ ทาใหเ้ กดิ แผน่ ดนิ ถลม่ อาจมีสาเหตจุ ากพายุ หมุนเขตร้อน ลมมรสุมมีกาลังแรง ร่องความกดอากาศตา่ มีกาลงั แรง อากาศแปรปรวน นา้ ทะเลหนนุ แผ่นดินไหว เขือ่ นพัง ทาให้เกดิ อุทกภัยไดเ้ สมอ แบ่งได้ 2 ชนิด 1.1 อทุ กภัยจากน้าปา่ ไหลหลากและนา้ ท่วมฉับพลนั เกดิ จากฝนตกหนักติดตอ่ กนั หลายชว่ั โมง ดนิ ดดู ซับไม่ทัน นา้ ฝนไหลลงพน้ื ราบอยา่ งรวดเร็ว ความแรงของนา้ ทาลายตน้ ไม้ อาคาร ถนน สะพาน ชีวิต ทรพั ยส์ นิ 1.2 อุทกภยั จากน้าท่วมขงั และน้าอ่อนลง เกิดจากนา้ ในแม่น้า ลาธารล้นตล่ิง มรี ะดบั สูงจากปกติ ท่วมและแช่ขัง ทาให้การคมนาคมชะงัก เกิดโรคระบาด ทาลายสาธารณูปโภค และพืชผลการเกษตร ชนิดของอทุ กภัย 1.นา้ ป่าหลาก เกดิ จากฝนตกหนักบนภเู ขา ต้นน้าลาธารและไหลบา่ ลงทรี่ าบอย่างรวดเรว็ เพราะไม่มี ต้นไม้ ชว่ ยดดู ซับ ชะลอกระแสน้า ความเรว็ ของน้า ของทอ่ นซุง และตน้ ไม้ ซง่ี พัดมาตามกระแสน้าจะทาลายต้นไม้ อาคาร ถนน สะพาน และชีวติ มนุษย์และสตั วจ์ นไดร้ บั ความเสยี หาย. 2.นา้ ทว่ มขัง นา้ เอ่อนอง เกิดจากน้าลน้ ตลง่ิ มีระดบั สูงจากปกติทว่ มแช่ขัง ทาให้การคมนาคม หยุดชะงกั เกิดโรคระบาดได้ ทาลายพืชผลเกษตรกร 3.คล่ืนซัดฝ่งั เกิดจากพายลุ มแรงซดั ฝ่ัง ทาให้นา้ ท่วมบริเวณชายฝัง่ ทะเล บางคร้งั มีคลนื่ สูงถงึ 10 เมตร ซดั เขา้ ฝั่งทาลายทรัพยส์ ินและชวี ิตได้ การปอ้ งกนั และลดความเสยี หายจากอุทกภยั ควรตดิ ตามฟังข่าวอากาศของกรมอุตุนยิ มวิทยาสม่าเสมอ เม่ือใดท่ี กรมอตุ นุ ิยมวิทยาเตือนให้อพยพ ท้ังคนและสัตวเ์ ลี้ยงควรรีบอพยพไปอยใู่ นท่ีสงู อาคารที่มน่ั คงแขง็ แรง ถ้าอยู่ที่ ราบใหร้ ะมัดระวังน้าปา่ หลาก จากภเู ขาทรี่ าบสูงลงมา กระแสน้าจะรวดเร็วมาก ควรสงั เกตเมื่อมีฝนตกหนัก ติดตอ่ กนั บนภูเขาหลาย ๆ วนั ใหเ้ ตรยี มตัวอพยพขนของไว้ทส่ี ูง ถ้าอยรู่ ิมน้าให้เอาเรอื หลบเขา้ ฝง่ั ไวใ้ นที่จะใช้งาน ได้ เมอื่ เกิดน้าทว่ ม เพื่อการคมนาคม ควรมีการวางแผนอพยพวา่ จะไปอยูท่ ี่ใด พบกนั ท่ีไหน อย่างไร กระแสนา้ หลากจะทาลายวัสดุก่อสรา้ ง เส้นทางคมนาคม ตน้ ไม้ และพืชไร่ ต้องระวงั กระแสนา้ พัดพาไป อย่าขับรถยนตฝ์ ่าลง ไปในกระแสนา้ หลาก แม้บนถนนก็ตาม อย่าลงเลน่ น้า อาจจะประสพอบุ ตั ภิ ัยอืน่ ๆ อีกได้ การเตรียมการและการปอ้ งกัน 1.ตดิ ตามข่าวสารและการพยากรณ์อากาศอยา่ งตอ่ เน่ือง 2.เตรยี มกระสอบทรายเพื่อเสริมคนั ดินกน้ั นา้

3.วางแผนการอพยพหนภี ยั เก็บของมีคา่ เอกสารสาคัญไวใ้ นท่ปี ลอดภยั 4.เตรียมเครือ่ งเวชภัณฑ์ไว้ในยามฉุกเฉนิ ผลกระทบจากนา้ ท่วม 1. เกิดโรคระบาดในระบบทางเดนิ อาหารทง้ั คนและสตั ว์ 2. เส้นทางคมนาคม และพืชผลทางการเกษตรเสียหาย



6. ภยั แล้ง หรือทุพภิกขภัย (Droughts) 1. ภัยแล้งคืออะไร ภัยแลง้ คือ ภยั ที่เกิดจากการขาดแคลนน้าในพ้ืนทใ่ี ดพืน้ ที่หนงึ่ เป็นเวลานาน จนกอ่ ใหเ้ กิดความแหง้ แล้ง และส่งผล กระทบต่อชมุ ชน 2. สาเหตขุ องการเกิดภัยแลง้ มอี ะไรบา้ ง 1. โดยธรรมชาติ 1.1 การเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ิโลก 1.2 การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ 1.3 การเปลยี่ นแปลงของระดับนา้ ทะเล 1.4 ภยั ธรรมชาติ เช่น วาตภัย แผน่ ดนิ ไหว 2. โดยการกระทาของมนุษย์ 2.1 การทาลายช้ันโอโซน 2.2 ผลกระทบของภาวะเรือนกระจก 2.3 การพฒั นาด้านอุตสาหกรรม 2.4 การตัดไม้ทาลายปา่ สาหรับภยั แล้งในประเทศไทย สว่ นใหญเ่ กดิ จากฝนแล้งและท้ิงช่วง ซ่ึงฝนแลง้ เปน็ ภาวะปริมาณฝนตกน้อยกว่าปกติ หรือฝนไมต่ กต้องตามฤดกู าล ปัญหาภยั แล้งในประเทศไทยสง่ ผลกระทบอย่างไรบา้ ง กับการดา้ รงชีวิตของประชาชน ภยั แลง้ ในประเทศไทยมีผลกระทบโดยตรงกับการเกษตรและแหลง่ นา้ เนื่องจากประเทศไทยเปน็ ประเทศ ท่ี ประชาชนประกอบอาชพี เกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ภยั แลง้ จึงส่งผลเสียหายตอ่ กิจกรรมทางการเกษตร เช่น พนื้ ดนิ ขาดความช่มุ ชืน้ พืชขาดน้า พืชชะงกั การเจรญิ เติบโต ผลผลติ ทไ่ี ดม้ ีคณุ ภาพต่า รวมถงึ ปริมาณลดลง สว่ นใหญ่ภัย แลง้ ทม่ี ผี ลตอ่ การเกษตร มักเกิดในฤดูฝนที่มีฝนทง้ิ ชว่ งเป็นเวลานาน ผลกระทบทเ่ี กิดขึน้ รวมถึงผลกระทบด้านตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. ด้านเศรษฐกจิ สน้ิ เปลอื งและสูญเสียผลผลติ ดา้ นเกษตร ปศสุ ัตว์ ปา่ ไม้ การประมง เศรษฐกจิ ทั่วไป เช่น ราคา ท่ดี ินลดลง โรงงานผลิตเสียหาย การว่างงาน สญู เสยี อตุ สาหกรรมการ ท่องเท่ยี ว พลังงาน อตุ สาหกรรมขนส่ง 2. ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม ส่งผลกระทบตอ่ สตั ว์ต่าง ๆ ทาใหข้ าดแคลนน้า เกิดโรคกบั สตั ว์ สญู เสียความหลากหลายพันธุ์ รวมถงึ ผลกระทบดา้ นอุทกวทิ ยา ทาใหร้ ะดับและปริมาณน้าลดลง พนื้ ท่ีชมุ่ น้าลดลง ความเค็มของนา้ เปลย่ี นแปลง ระดบั น้าในดนิ เปลี่ยนแปลง คุณภาพน้าเปลีย่ นแปลง เกิดการกัดเซาะของดิน ไฟปา่ เพ่ิมข้ึน สง่ ผลต่อคณุ ภาพ อากาศและสูญเสียทศั นยี ภาพ เปน็ ตน้ 3. ด้านสงั คม เกดิ ผลกระทบในด้านสุขภาพอนามยั เกิดความขัดแยง้ ในการใชน้ า้ และการจัดการคณุ ภาพชวี ติ ลดลง

10. วธิ กี ารแก้ปัญหาภัยแล้งทาได้อย่างไร วธิ กี ารแก้ปญั หาภัยแล้วสามารถกระท้าได้ดงั นี 1. แกป้ ัญหาเฉพาะหน้า เช่น แจกน้าให้ประชาชน ขุดเจาะน้าบาดาล สรา้ งศูนย์จ่ายน้า จัดทาฝนเทียม 2. การแก้ปัญหาระยะยาว โดยพัฒนาลุ่มนา้ เชน่ สรา้ งฝาย เข่ือน ขุดลอกแหลง่ นา้ รักษาป่าและปลูกปา่ ให้ความ รว่ มมือและมสี ว่ นร่วมมอื ในการจดั ทาและพฒั นาชลประทาน 7.อัคคภี ยั หมายถงึ ภยั อนั ตรายอันเกิดจากไฟทีข่ าดการควบคุมดูแล ทาให้เกดิ การติดต่อลกุ ลามไปตามบรเิ วณทมี่ เี ชื้อเพลิง เกิดการลุกไหมต้ ่อเนื่อง สภาวะของไฟจะรนุ แรงมากข้นึ ถ้าการลกุ ไหม้ท่ีมีเชือ้ เพลงิ หนนุ เน่ือง หรอื มีไอของเช้ือเพลงิ ถกู ขบั ออกมามากความร้อนแรงกจ็ ะมากยงิ่ ขึน้ สรา้ งความสูญเสยี ใหท้ รพั ย์สนิ และชวี ติ สาเหตขุ องอัคคีภยั สาเหตุของอคั คีภยั จนทาใหเ้ กิดการลุกลามเกดิ เพลงิ ไหม้ขนาดใหญน่ ั้น อาจเกิดได้ 2 ลกั ษณะใหญ่คอื สาเหตขุ องอคั คีภยั อันเกดิ จากการตง้ั ใจ และสาเหตขุ องอัคคีภยั อันเกดิ จากการประมาทขาดความระมัดระวงั หรือ มิไดต้ ง้ั ใจ สาเหตขุ องอัคคีภยั อันเกดิ จากความตง้ั ใจ เช่น การลอบวางเพลิงหรือการก่อวนิ าศกรรม ซึ่งเกดิ จากการจงู ใจอันมี มูลสาเหตจุ งู ใจทีท่ าใหเ้ กดิ การลอบวางเพลิง อาจเนือ่ งมาจากเป็นพวกโรคจิต สาเหตขุ องอัคคภี ัยอันเกิดจากความประมาท ขาดความระมัดระวงั ในกรณีน้ีพอจะแบง่ เป็นประเด็นหลักๆ ได้ 2 ประเด็นคือ ขาดความระมัดระวังทาให้เช้ือเพลงิ แพร่กระจาย ในกรณดี ังกลา่ วน้เี กิดจากการทาให้สิ่งทเี่ ปน็ เช้อื เพลิง ซ่ึงเป็นสาร ลกุ ไหม้ไฟหรือตดิ ไฟไดแ้ พร่กระจายเมื่อไปสมั ผัสกับความร้อนก็จะเป็นสาเหตุของการเกดิ อัคคีภัยได้ ตัวอย่างเช่น ในบริเวณทีม่ ีไอของตัวทาละลาย หรอื น้ามนั เช้อื เพลงิ แพรก่ ระจาย เม่ือไปสมั ผัสกับแหล่งความร้อน เช่น บริเวณทมี่ ี จุดสูบบุหรี่ก็จะทาให้เกิดอัคคีภัยได้ ขาดความระมดั ระวังการใช้ไฟและความร้อน ในกรณีดังกลา่ วน้กี ็เช่นกนั ทาใหแ้ หลง่ ความร้อนซง่ึ อาจอยู่ในรูปแบบ และลกั ษณะต่างๆ กนั เชน่ ความรอ้ นจากอปุ กรณไ์ ฟฟ้า การเช่อื มตดั เตาเผา เป็นตน้ ทาให้แหลง่ กาเนดิ ความรอ้ น นัน้ ไปสัมผัสกับเชื้อเพลิงในสภาพที่เหมาะสม กจ็ ะเป็นสาเหตุของอคั คีภัยได้ ตัวอย่างเช่น การทส่ี ะเก็ดไฟจากการ เชื่อมติดดว้ ยไฟฟ้า หรือก๊าซไปตกลงในบรเิ วณท่ีมีกองเศษไม้หรอื ผา้ ทาใหเ้ กิดการคุกรนุ่ ลกุ ไหมเ้ กิดอคั คภี ยั แหล่งกา้ เนิดอัคคภี ยั แหล่งกาเนดิ อคั คภี ยั เปน็ สาเหตขุ องการจุดตดิ ไฟมีสาเหตุและแหลง่ กาเนิดแตกตา่ งกนั ไปดังต่อไปนี้ อปุ กรณ์ไฟฟ้า การสบู บุหรี่หรอื การจุดไฟ

ความเสยี ดทานของประกอบของเคร่ืองจักร เคร่ืองยนต์ เครือ่ งทาความร้อน วตั ถทุ ่มี ผี วิ ร้อนจัด เชน่ เหลก็ ที่ถูกเผา ท่อไอนา้ เตาเผาซ่ึงไม่มฝี าปิดหรือเปลวไฟที่ไม่มีสิง่ ปกคลมุ การเช่ือมและตัดโลหะ การลุกไหมด้ ว้ ยตัวเอง เกิดจากการสะสมของสารบางชนิด เชน่ พวกขยะแห้ง ถ่านหนิ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความร้อนขน้ึ ใน ตวั ของมนั เอง จนกระท่ังถึงจุดตดิ ไฟ เกดิ จากการวางเพลงิ ประกายไฟท่ีเกิดจากเคร่ืองจักรขัดข้อง โลหะหรอื วตั ถุหลอมเหลว ไฟฟา้ สถิต ปฏิกิรยิ าของสารเคมบี างชนดิ เช่น โซเดยี ม โพแทสเซยี ม ฟอสฟอรสั เม่ือสมั ผัสกับน้า อากาศ หรือวสั ดุอ่ืนๆ ทาให้ เกดิ การลกุ ไหม้ได้ สภาพบรรยากาศที่มสี ิ่งปนเปื้อนก่อให้เกิดการระเบิดได้ จากสาเหตุอืน่ ๆ ผลกระทบท่เี กดิ จากอัคคีภยั ผลท่ีเกดิ ขึน้ จากอัคคภี ัยโดยตรงทที่ าให้เกิดการบาดเจบ็ และสญู เสียชีวิตอันเนื่องมาจากความรอ้ น เกดิ ความ เสียหายแกอ่ าคารสถานท่ี และเคร่ืองจักรอุปกรณต์ ่าง ๆ โดยตรง เมอื่ ไฟไหม้ จะทาให้โรงงานอตุ สาหกรรมเกดิ ความเสียหาย เครอ่ื งจกั รถูกทาลายตอ้ งเสยี คา่ ใช้จา่ ยในการสรา้ งขึ้นมาใหมห่ รือจัดหาเครื่องจักรใหมม่ าทดแทน ของเกา่ การป้องกนั และลดความสูญเสยี จากอคั คีภัย การจดั ระเบยี บเรียบร้อยดี หมายถึง การป้องกันการติดตอ่ ลกุ ลาม โดยจัดระเบยี บในการเกบ็ รกั ษา สารสมบัตทิ ี่ นา่ จะเกดิ อัคคีภยั ไดง้ า่ ยใหถ้ ูกตอ้ งตามลักษณะการเกบ็ รักษา สารสมบตั ินัน้ ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกอาคารให้ เรียบรอ้ ย โดยไม่สะสมเชือ้ เพลิงไว้เกนิ ประมาณท่กี าหนด เพราะเมือ่ เกดิ เพลงิ ไหมย้ ่อมทาใหเ้ กิดการตดิ ต่อลุกลาม ข้นึ ได้ การตรวจตราซ่อมบารุงดี หมายถงึ การกาจดั สาเหตใุ นการกระจายตวั ของเชอื้ เพลิงและความรอ้ น เชน่ การตรวจ ตราการไหลรวั่ ของเช้ือเพลงิ ต่าง ๆ พร้อมท้ังการควบคุมดแู ลมใิ หเ้ กิดการกระจายตัวของความร้อนของเครอ่ื งทา ความร้อน การมีระเบยี บวินัยดี หมายถงึ การปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและระเบยี บข้อบังคับทเ่ี กย่ี วกับการป้องกันอัคคีภยั เช่น สถานทใี่ ดท่ีให้มไี วซ้ ึ่งเคร่ืองดับเพลิง ความร่วมมอื ท่ีดี หมายถึง การศกึ ษาหาความรู้ความเขา้ ใจในการป้องกนั และระงับอัคคภี ัย โดยการฝกึ การใช้ อปุ กรณ์เครื่องมือเคร่ืองใชใ้ นการดบั เพลงิ ตลอดจนการฝึกซอ้ มในการปฏบิ ัตติ ามแผนฉกุ เฉนิ เมื่อเกิดเพลิงไหม้

8. ดินถลม่ และโคลนถล่ม (Landslides and Mudslides) โคลนถลม่ เป็นภัยธรรมชาตทิ เี่ กดิ ขนึ้ มาจากการเคลื่อนทีข่ องมวล เปน็ กระบวนการการเคล่อื นตัวมวลของหนิ ดิน ทราย ลงมาตามแนวของความลาดชนั โดยอยู่ภายใตแ้ รงดึงดูดของโลก ซงึ่ จะอาศยั ตัวกลางในการเคล่ือนท่ี เช่น น้า ลม ธารน้าแข็ง เป็นตวั พัดพาและชว่ ยเสริมการย้ายมวล สาหรับในประเทศไทยการเกิดเหตกุ ารณด์ นิ ถลม่ นั้นสว่ นใหญม่ ีตวั กลางสาคัญในการเคลื่อนยา้ ยมวลของดิน คือ น้า โดยมากแลว้ จะมสี าเหตหุ ลักมาจากการเกิดฝนตกหนัก และนา้ ท่วม ทาให้ดนิ ไมส่ ามารถอุ้มน้าไวไ้ ดจ้ งึ เกดิ กาวถลม่ ลงมาในส่วนของการเตรียมรับมือกับเหตุการณ์ดนิ ถลม่ นนั้ เปน็ ส่งิ สาคญั ดังน้นั ผู้เขยี นจะบอกถึงวิธกี ารปฏบิ ัติตน และเตรียมรับมือกอ่ นเกดิ เหตุการณ์ดนิ ถล่มเพ่ือเปน็ แนวทางในการรักษาชีวติ รอดได้ 1.ตอ้ งทาความเข้าใจเกี่ยวกบั ดนิ ถล่มก่อน วา่ เป็นการถล่มแบบใด เป็นการเคลื่อนย้ายของหิน การเคล่ือนของ แผน่ ดนิ หรือการสไลดล์ งมาตามแนวลาดชนั เปน็ การถล่มขนาดเล็กหรือใหญ่ ค่อยเกิดการเคลื่อนตัว หรอื เกิดขึ้น ฉับพลนั มีสาเหตุมาจากอะไร พายุ แผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ไฟปา่ หรือเกิดมาจากกจิ กรรมของมนุษย์ 2.รจู้ กั สังเกต และให้ความตระหนกั ถึงส่ิงแวดลอ้ มรอบตัวอยตู่ ลอดไม่ว่าท่านจะอาศัยอยู่ในพน้ื ท่ีซง่ึ มแี นวโน้มวา่ จะ เกดิ ดนิ ถล่ม หรือเดินทางผ่านเส้นทางบรเิ วณท่ีอาจเกิดดนิ ถล่ม สิง่ สาคญั ท่ีต้องให้ความสนใจคอื ลักษณะของภมู ิ ประเทศและธรณีวิทยาของดินบรเิ วณน้ัน นอกจากน้ียังต้องสังเกตในเรื่องของ - การเปลย่ี นแปลงของสภาพภมู ิประเทศโดยรอบ การเคล่อื นไหวของดนิ หรือมกี ารสไลด์ของดินขนาดเลก็ เกดิ ขน้ึ -มีรอยแตกร้าวปรากฏข้ึนบรเิ วณผนงั ของตัวบ้าน -รอยแตกรา้ วขยายขนาดเพ่ิมขึ้นในบรเิ วณถนนหรือบรเิ วณอาคารทม่ี ีรอยแตก -รัว้ กาแพง เสาไฟ และตน้ ไม้ มีการล้มเอยี งเกิดขน้ึ -เริ่มรู้สึกไดถ้ ึงการสัน่ สะเทือนของพื้นดนิ บรเิ วณใต้เทา้ ของท่าน -มเี สียงผิดปกติเกิดขน้ึ เชน่ เสยี งการหกั ของต้นไม้ การแตกของหนิ และเสียงการเคล่อื นย้ายและการไหลของโคลน เกดิ ข้นึ -เสยี งกระหึ่มหลังสุดจะเปน็ เสียงท่ีบ่งบอกถึงการถล่มของดินเกิดข้ึน 3.อพยบหรือเคลื่อนยา้ ยมาอยู่ในบริเวณท่โี ลง่ แจง้ และหลีกเล่ยี งบริเวณเสน้ ทางท่ดี ินโคลนถล่ม นอกจากน้ที ่านยัง ตอ้ งต่นื ตัวต่อการรับมอื จากเหตุการณ์อยตู่ ลอดเวลาอยา่ วางใจเพราะเคยมผี เู้ สียขีวิตจากการนอนโดยไม่ระวงั

มาแล้วหลายราย คอ่ ยสงั เกตสงิ่ แวดล้อมรอบๆขา้ งอย่เู สมอ ตอ้ งติดตามขา่ วสารจากวทิ ยุพกพาเกยี่ วกับการรายงาน ของปริมาณน้าฝนและการเขา้ ช่วยเหลอื ของหนว่ ยงานก้ภู ัย -การรับฟังขา่ วสารเกยี่ วกับปริมาณน้าฝนจะชว่ ยท่านได้ เพราะการที่มฝี นตกอยา่ งหนักและฉบั พลันถอื เป็นความ เสยี่ งอยา่ งยิ่งต่อเหตุการณ์ดินถล่ม 4.สดุ ท้ายเพื่อความปลอดภัยตอ่ ท่านและครอบครัวหากพจิ ารณาแลว้ วา่ บรเิ วณทที่ า่ นอาศยั เปน็ พ้ืนที่อ่อนไหวและมี ความเสยี่ งต่อเหตุการณ์ดนิ ถล่ม ท่านควรย้ายออกจากพ้ืนที่ดงั กลา่ วเปน็ การชั่วคราวจนกวา่ จะมกี ารยืนยันถึงความ ปลอดภัยจากหนว่ ยงานของรัฐบาล สาเหตขุ องดินถล่ม/โคลนถล่ม จาแนกไดด้ ังต่อไปน้ี 1. สาเหตจุ ากมนษุ ย์ (Manmade Causes) กจิ กรรมที่มนษุ ย์ท้าในบรเิ วณที่ลาดชัน เป็นสาเหตหุ นง่ึ ท่ที ้าให้ เกดิ ดินถล่มหรือโคลนถลม่ เช่น การก่อสรา้ งในบรเิ วณเชิงเขาทีล่ าดชนั โดยไมม่ กี ารคานวณด้านวศิ วกรรมท่ดี ีพอ การเกษตรในพ้นื ทีล่ าดชนั เชงิ เขา การกาจัดพืชท่ปี กคลมุ ดนิ และการตดั ไม้ทาลายปา่ กิจกรรมเหลา่ นีส้ ่งผลให้ พ้นื ที่ดงั กล่าวมีความลาดชนั เพ่มิ ข้ึนเกิดการเปล่ยี นแปลงรปู แบบการไหลของน้า ผวิ ดนิ และเปล่ียนแปลงระดับนา้ บาดาล ซ่ึงอาจก่อใหเ้ กดิ ดนิ ถล่มหรือโคลมถลม่ การขุดหรือตัดถนนในบริเวณที่ลาดเชงิ เขาอาจกอ่ ให้เกิดความชันของพ้นื ทม่ี าก ขึ้น การขดุ เหมืองและการระเบิดหนิ มักจะทาให้ดนิ มคี วามลาดชนั เพิ่มข้ึน การทาการเกษตรในบรเิ วณที่ลาดชัน เกษตรกรก็จาเปน็ ที่จะต้องกาจัดวชั พืชและอาจปรับพนื้ ท่ีให้มีลักษณะ ข้ันบันได หรอื ธุรกิจการตัดไม้ทาลายปา่ กจิ กรรมเหล่านล้ี ้วนทาใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงรูปแบบการไหลของนา้ บริเวณผิวดนิ กล่าวคอื น้าจะไหลผา่ นหน้าดนิ อย่างรวดเรว็ และก่อให้เกิดการชะลา้ งหนา้ ดนิ เน่ืองจากปา่ ถูกทาลาย ดนิ ขาดรากไมย้ ดึ เหนี่ยวนอกจากน้ีการเปลยี่ นแปลงรูปแบบการไหลของน้าบรเิ วณผวิ ดินยังส่งผลตอ่ ระดับน้า บาดาลอกี ด้วย ในการทาชลประทาน จะมปี รมิ าณนา้ สว่ นหน่ึงท่ีซึมออกจากคลองชลประทานและไหลซึมลงไปใต้ ดิน ทาให้ระดับน้าบาดาลเพ่ิมสูงข้นึ มวลดินมนี ้าหนักมากข้ึนและอาจเปน็ สาเหตุใหเ้ กิดดินถล่มในที่สุด การเพ่ิม ระดบั นา้ บาดาลอาจมสี าเหตุมาจากการรัว่ ของท่อน้า บ่อหรืออ่างเก็บนา้ หรือการปล่อยน้าท้ิงจากทต่ี า่ ง ๆ 2. สาเหตจุ ากธรรมชาติ (Natural factors) เหตกุ ารณท์ างธรรมชาตกิ เ็ ป็นสาเหตใุ ห้เกิดดินถล่มหรือโคลน ถลม่ ได้เช่นกนั เชน่ ฝนตกหนัก การเกิดดนิ ถล่มในประเทศไทยส่วนใหญ่มกั จะมีฝนเปน็ ปัจจัยเรง่ ที่สาคัญเสมอ การละลายของหมิ ะจะไปเพมิ่ ระดบั นา้ ใตผ้ วิ ดนิ และน้าหนกั ของดนิ อย่างรวดเร็ว

การเปล่ียนแปลงระดับนา้ เนื่องจากน้าข้นึ นา้ ลง การลดระดับนา้ ในแม่นา้ และอ่างเกบ็ น้า การกดั เซาะของดินจากกระแสน้าในแมน่ า้ ลาธาร หรือจากคลนื่ ซัดทาให้ความหนาแนน่ ของมวลดนิ ลดลง การผพุ งั ของมวลดนิ และหิน การส่ันสะเทือนจากแผน่ ดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบดิ ในบรเิ วณทภ่ี ูเขาไฟยงั ไมส่ งบ เถ้าภูเขาไฟหรือลาวาจะเคลื่อนตัวเปน็ มวลดินขนาดใหญ่ที่มีความ หนาแนน่ ต่าเมื่อเกดิ ฝนตกหนัก จงึ มโี อกาสที่เกิดดินถลม่ หรือโคลนถลม่ นอกจากน้ี การเกิดดนิ ถลม่ อาจมสี าเหตุจาก การเกิดภยั ธรรมชาติหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกนั ในบางกรณี ภยั ธรรมชาติเพยี งภัยหนง่ึ อาจสง่ ผลใหเ้ กดิ ภยั ตา่ ง ๆ ตามมาได้ ตัวอย่างเช่น แผ่นดินไหวซึ่งทาใหเ้ กดิ ดนิ ถลม่ และเข่ือนแตก สง่ ผลใหเ้ กิดน้าทว่ มอยา่ งรุนแรงในพ้ืนที่ ทา้ ยนา้ ท่มี ีระดับต่ากว่า เหตกุ ารณล์ ักษณะเชน่ น้ีอาจสง่ ผลกระทบแตกตา่ งไป จากเหตุการณ์ทมี่ ีสาเหตุการเกดิ จาก ภยั พบิ ัตเิ พยี งภัยเดียว ลักษณะพนื ที่ที่มโี อกาสเกิดภัยโคลนถลม่ และสญั ญาณเตอื นภัย พื้นท่ีที่มโี อกาสเกดิ ภัยโคลนถลม่ หมายถงึ พืน้ ทแี่ ละบรเิ วณท่อี าจจะเร่มิ เกิดการเล่ือนไหลของตะกอนมวลดนิ และ หินทีอ่ ยู่ บนภเู ขาสทู่ ่ตี ่าในลาห้วยและทางน้าขณะเมื่อมีฝนตกหนกั อย่างต่อเนอื่ ง ลักษณะของพน้ื ท่ีเสีย่ งภัยดนิ ถลม่ มขี อ้ สังเกตดงั นี้ พน้ื ที่ตามลาดเชิงเขาหรือบริเวณทล่ี มุ่ ใกลเ้ ชงิ เขาทมี่ ีการพังทลายของดินสูง พ้นื ทเ่ี ปน็ ภเู ขาสูงชันหรือหนา้ ผาทเ่ี ป็นหนิ ผพุ งั ง่ายและมชี ั้นดินหนาจากการผุกร่อนของหิน พ้นื ท่ีทีเ่ ป็นทางลาดชนั เชน่ บรเิ วณถนนที่ตดั ผา่ นหุบเขา บรเิ วณลาหว้ ย บริเวณเหมืองใต้ดินและเหมืองบนดนิ บริเวณท่ีดนิ ลาดชนั มากและมีหินก้อนใหญฝ่ งั อยูใ่ นดิน โดยเฉพาะบรเิ วณท่ใี กล้ทางนา้ เช่น หว้ ย คลอง แม่นา้ ทลี่ าดเชงิ เขาท่ีมกี ารขดุ หรอื ถมสภาพพ้นื ท่ีตน้ นา้ ลาธารท่ีมีการทาลายป่าไม้สูง ช้นั ดนิ ขาดรากไม้ยึดเหนีย่ ว เป็นพนื้ ที่ท่ีเคยเกิดดินถล่มมาก่อนพ้นื ท่สี งู ชนั ไม่มีพืชปกคลุมบริเวณทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงความลาดชนั ของชนั้ ดนิ อย่างรวดเร็วซ่ึงมสี าเหตุมาจากการก่อสร้างบริเวณพืน้ ท่ีลาดตา่ แตช่ ั้นดินหนาและชั้นดินอิม่ ตัวดว้ ยน้ามาก

9.พายหุ ิมะและหิมะถล่ม (Blizzard and Avalanches) พายหุ ิมะเปน็ พายทุ ่ที าใหเ้ กดิ หิมะจานวนมาก จนมองไมเ่ ห็นทางข้างหนา้ ผลทเ่ี กดิ ขึ้นคอื ทาให้วิสยั ทัศน์ในการ มองเหน็ แทบจะเหลือศูนยห์ รือมองไม่เหน็ เลย กองหมิ ะท่ีสูงใหญแ่ ละลึก พร้อมกบั อากาศทหี่ นาวส่นั จะสามารถ กอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายและขัดขวางต่อการคมนาคมขนสง่ รวมทงั้ การตดิ ต่อสื่อสารด้านโทรคมนาคม ดงั นัน้ ขอใหเ้ ราอยู่แต่ภายในบ้านหรืออาคาร และอยใู่ หห้ า่ งจากความหนาวเยน็ มากทีส่ ุด จากสถิติด้านสภาพ อากาศระบุวา่ ผ้คู นเป็นจานวนมากที่ไม่เอาใจใส่ต่อข้อแนะนาเร่ืองน้ี การเตรยี มการ สง่ิ ทีต่ ้องระมดั ระวังเปน็ พิเศษ คอื มคี วามเปน็ ไปได้มากที่จะสญู เสียความรอ้ น สูญเสียพลงั งานไฟฟ้า สูญเสียการ สือ่ สารโทรคมนาคม และขาดแคลนเสบียง (ขาดแคลนทงั้ อาหารและนา้ ด่มื ทสี่ ะอาด) ดังน้ันเราจงึ ควรทจ่ี ะ - เกบ็ ตนุ อาหารท่ใี ห้พลงั งานสงู เช่น ผลไมอ้ บแหง้ ของหวาน และอาหารที่ไม่เน่าเสียง่าย ตอ้ งเปน็ อาหารที่ พรอ้ มรบั ประทานทนั ที เชน่ อาหารกระป๋อง เปน็ ตน้ - เตรยี มเชือ้ เพลิงสาหรับการก่อไฟ เชน่ ถ่านไม้ ไม้แหง้ โดยตอ้ งเกบ็ ไวใ้ นท่ีหยิบได้ง่าย - อปุ กรณจ์ ุดไฟ เชน่ ไม้ขีดไฟ ไฟแช็ค โดยต้องเก็บไวใ้ นท่หี ยบิ ได้ง่าย - ควรมีเตาถา่ นสาหรบั ผงิ ไฟ ไม่ควรจุดไฟไว้บนพน้ื หรือจดุ เตาถ่านในสถานที่อับ หรอื ในอากาศที่ไม่ถ่ายเท - ควรมอี ปุ กรณ์ดบั เพลิง และมีการตรวจสภาพอยู่สมา่ เสมอเพอ่ื สามารถใช้งานไดต้ ลอดเวลา การอยรู่ อด - หากไม่มีเครื่องทานา้ ร้อน หรอื เตาผงิ ไฟ ใหป้ ิดห้องที่ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งใชใ้ หห้ มด - ปิดรอ่ งหรือช่องใตป้ ระตู ไม่ให้อากาศเขา้ ด้วยผา้ ขนหนู ผา้ ข้รี ิ้ว หรือ หนังสอื พมิ พ์ - ปดิ หน้าตา่ ง โดยเฉพาะเวลากลางคืน - รับประทานอาหารให้อม่ิ เพราะวา่ อาหารท่รี ับประทานเขา้ ไปน้ี จะเปน็ พลังงานทช่ี ว่ ยให้รา่ งกายอบอุ่น - ดื่มน้าใหม้ าก เพราะจะช่วยป้องกันไม่ใหร้ า่ งกายขาดน้า - ใส่เสื้อผา้ หลวมๆ แต่หลายๆชน้ั ควรเปน็ เสื้อทบี่ างเบา อบอุ่น และอย่าใหร้ ัดแนน่ เพื่อชว่ ยให้ทา่ นสะดวกใน การถอด หากทา่ นอย่ใู นสภาวะท่ีรา่ งกายรอ้ นเกินไป - ควรสวมหมวกไหมพรมขณะนอน และหม่ ด้วยผ้าหม่ บางๆ แต่หลายชนั้ การห่มหลายๆชน้ั ดว้ ยผา้ หม่ ท่บี าง จะ ดีกว่าห่มดว้ ยผา้ หม่ หนาๆ แต่เพยี งผนื เดยี ว - รับฟังข่าวสารจากสถานีวทิ ยุ หรือ ส่อื อนื่ ๆ เพ่ือรบั ทราบเกย่ี วกบั อากาศ เพื่อที่ทา่ นจะไดช้ า่ งใจว่า ควรหลบอยู่ ในบา้ น หรือตัดสินใจหลบภัยไปท่อี ื่น - อยใู่ นอาคารก่อน ยกเวน้ วา่ จะเกดิ อันตราย หากอย่ใู นอาคารต่อไป เชน่ กรณีเป็นอาคารทีอ่ ันตราย เพราะ กาลังจะถลม่ ลงมา

10.โรคระบาดในคนและสัตว์ (Human Epidemics and Animal Diseases) มนษุ ยเ์ ป็นส่ิงมชี ีวิต ทีม่ โี รคติดเช้ือร่วมกับสัตว์ชนดิ อ่ืนๆ ซง่ึ เรย็ กว่า zoonoses เชน่ โรคพษิ สนุ ขั บ้า คนติดโรคน้ี จากสุนขั กาฬโรค คนตดิ โรคจากหนู และโรคแอนแทรกซ์ คนตดิ โรค จากโค กระบือ ในศตวรรษที่ 19 Rudolf Virchow ไดใ้ หค้ านยิ ามของ zoonoses ว่าหมายถึงโรคตดิ ต่อจากสตั ว์เลีย้ งมาสู่คน แต่ ปัจจบุ นั น้ไี มไ่ ด้จากดั ความแตเ่ พียงแค่นน้ั zoonoses อาจหมายถงึ โรคตดิ ต่อระหว่างคนและสัตว์มีกระดูกสันหลงั อ่ืนๆ ทั้งสัตวเ์ ลย้ี งและสัตว์ป่า การตดิ ต่ออาจติดต่อจากสตั ว์มายงั คน หรือจากคนไปยงั สัตว์กไ็ ด้ หลังสงครามโลก คร้งั ท่ี 2 คณะกรรมการผู้เชย่ี วชาญทางโรคติดต่อระหวา่ งสัตว์และคน (1959) แห่งองค์การอนามัยโลกจึงได้ใหค้ า จากดั ความของ zoonoses วา่ หมายถงึ โรคทั้งหลาย และการติตเชอื้ โรคท่มี ีการติดต่อตามธรรมชาติระหวา่ งสัตวม์ ี กระดูกสันหลัง และคน ( Those diseases and infection which are naturally transmitted between vertebrate animals and man ). ประโยชน์คา้ นิยามของ Zoonoses คานิยาม zoonoses ทีค่ ณะผู้เชีย่ วชาญองค์การอนามัยโลกตงั้ ขึน้ มา เพื่อประโยชน์โดยตรงต่อผู้ที่มีความ รบั ผิดชอบตอ่ การควบคุมโรคตา่ งๆ เหล่าน้ี ได้แก่ แพทย์ สัตว์แพทย์ และเจา้ หนา้ ที่ทางสาธารณสขุ ตา่ งๆ ปกติโรค zoonoses เป็นโรคทมี่ ี โฮสต์(host) มากกว่าหนง่ึ ชนิด บางโรคอาจมีมากมายหลายสิบชนดิ ซึ่งเมอ่ื พิจารณาแลว้ ตวั เชื้อโรคเอง ( organism ) นับว่ามคี วามสามารถในการปรับตวั เองใหอ้ ยู่ภายใต้สภาพสิ่งแวดล้อมตา่ งๆ ได้ดีมาก จึงสามารถดารงชวี ิตอยู่ได้ โรคบางโรคมวี งจรชวี ิตของตัวเช้ือเองสลับซับซ้อนมาก สามารถอยู่ได้ในสภาพของโฮสต์ ทม่ี คี วามแตกต่างกันในด้านสรีรวิทยา และกายวิภาคในตวั โฮสตต์ า่ งๆ zoonoses ดังกลา่ วน้ี ยังมีอกี มากทย่ี ังคง เปน็ ปัญหาสาธารณสขุ ท่มี นุษยเ์ รายังไม่สามารถจะควบคุมได้ จากการประชมุ สตั วแพทยสาธารณสุข ซ่ึงจัดโดย องค์การอนามัยโลก ปี ค.ศ. 1978 ณ กรุงนวิ เดลี ประเทศอินเดยี ไดม้ ีรายงานว่าโรคทเี่ ป็นในมนษุ ยท์ ้ังหมด ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ เปน็ โรคท่ตี ดิ ตอ่ ได้ระหวา่ งสตั วแ์ ละคน ( zoonoses ) ในการควบคมุ โรคดงั กล่าวน้จี ึง จาเป็นอย่างยง่ิ ทีจ่ ะต้องรู้ถึงคุณสมบัตแิ ละลักษณะของเช้ือเองที่มผี ลกระทบต่อกนั ระหว่างโฮสต์ตา่ งๆ ตลอดจน นิเวศน์วิทยาที่มาเก่ยี วข้องท้ังหลาย ดังนนั้ ความหมายของ zoonoses นบั ว่าเป็นประโยชนใ์ นด้านทีเ่ น้นให้ บคุ คลากรสาธารณสุขฝ่ายตา่ งๆ ซึ่งจะเป็นแพทย์ หรือสัตวแพทย์ก็ตามจะได้ตระหนกั ถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ในการ รว่ มมอื หรอื ประสานงานการควบคุม หรือกาจดั โรค ตลอดจนคน้ ควา้ วจิ ยั หาเทคโนโลยีท่ ีเ่ หมาะสม เพอื่ นามาใชใ้ ห้ มปี ระสทิ ธผิ ลในการควบคมุ โรคแต่ละทอ้ งที่ นอกจากน้ีความหมายของ zoonoses ยงั ใหค้ วามกระจ่างต่อขา่ ยงาน รบั ผิดชอบของโรคที่เกดิ ขึ้น เชน่ กรณียท์ ่ีโรคเกิดระบาดในสัตว์ ความรบั ผดิ ชอบทางสตั วแพทย์จาเป็นมากทจ่ี ะต้อง ดาเนินการควบคุมโรค และพรอ้ มกนั นนั้ ก็ควรทจ่ี ะต้องมรี ายงานอบุ ัติการของโรคทเี่ กดิ ข้ึนทนั ทีให้กับฝา่ ยทาง แพทย์เพื่อเป็นเคร่ืองเตือนให้รวู้ ่าโรคจะเกิดในคนได้ เชน่ กัน ในกรณียน์ แพทยท์ ่ีสนใจศึกษาโรคสัตว์จะได้ มีโอกาส มาเกี่ยวข้อง และในทานองเดียวกันสตั วแพทย์ทสี่ นใจท่ีจะศึกษาภาวะโรคหรือการเกิดโรคในคนก็จะมีโอกาสเรียนรู้ ได้เช่นกัน

การจา้ แนกโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน การจาแนกกลมุ่ โรคติดต่อระหว่างสตั วแ์ ละคน แตกตา่ งกันแล้วแตจ่ ะใชเ้ หตผุ ลและแนวทางท่ีจะจัดกลมุ่ ของโรค อยา่ งไรก็ตามโรคตดิ ตอ่ ระหว่างสตั วแ์ ละคนนับว่าปน็ โรคท่ีมีความสาคัญที่สดุ ในกลุ่มโรคตดิ ตอ่ ( communicable diseases ) (O’ Rourke 1960) ดงั นน้ั จึงได้มกี ารจาแนกกลุ่มของโรคเหล่าน้ีออกไดห้ ลายแบบ เพื่อประโยชน์ ในการศึกษาทาง ระบาดวิทยาและการควบคมุ โรค เช่น 1. จาแนกตามแบบแผนของวงจรชวี ติ ของเช้ือโรค (รปู ที่ 1.1) 1.1 วงจรชวี ิตของเชอื้ โรค ตอ้ งการสตั วม์ ีกระดูกสันหลงั เปน็ โฮสต์ กักตุนโรคเพยี งตวั เดียว เรยี ก direct zoonoses 1 .2 วงจรชีวิตของเช้อื โรค ตอ้ งการสตั วม์ ีกระดูกสันหลงั เป็นโฮสต์ มากกว่าหนึ่งชนดิ เรยี ก cyclozoonoses 1.3 วงจรชวี ิตของเช้อื โรค ต้องการทั้งสัตวม์ ีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง เพ่ือให้ครบวงจร เรยี ก metazoonoses 1.4 วงจรชีวิต ตอ้ งการสตั ว์มกี ระดูกสันหลังเป็นโฮสตแ์ ละวงจรชีวติ จะต้องมีแหลง่ กักตุนโรคที่ไมใ่ ชส่ ตั ว์ เชน่ ดิน พืช เป็นท่เี จรญิ เติบโต เรยี ก saprozoonoses. 2. จาแนกตามธรรมชาติของโฮสต์ทเ่ี ป็นรงั กกั ตุนโรค การท่ีโรคยังมีอยูในธรรมชาติได้เพราะคนและสัตวม์ ีกระดูกสันหลังอ่นื ทาหน้าทเี่ ปน็ ตวั กักตุนโรคให้คงอยู่ จงึ มีการ จาแนกชนิดของโรคตดิ ต่อระหวา่ งสตั ว์และคนโดยอาศัยวธิ ีการตดิ ต่อระหวา่ งคนและสัตว์มีกระดูกสนั หลงั 2.1 Anthropozoonoses( Wagener, 1957) โรคกลุ่มน้ีในธรรมชาตจิ ะอยูใ่ นสัตวม์ ีกระดกู สันหลังแลว้ ติดตอ่ ไปยัง คน ตวั อยา่ งท่รี ้จู ักกันดี ได้แก่ โรคพษิ สนุ ัขบา้ (rabies) โรคแทง้ ตดิ ต่อในปศุสัตว์ (brucellosis) โรคกาลี (anthrax) เป็นตน้ คนจะเป็นโฮสต์สุดทา้ ยซ่งึ เมือ่ เป็นโรคแลว้ ส่วนมากจะไม่สามารถตดิ ต่อไปยังสัตว์มกี ระดูกสันหลงั ชั้นต่าได้ อกี เพราะระบบสังคมและวัฒนธรรมเปน็ สงิ่ ขวางกน้ั ไมใ่ หโ้ รคนั้นตดิ ตอ่ กลบั ไปยังสัตว์ได้ เช่น โรคพิษสุนัขบ้า เม่ือ คนตายแลว้ จะถูกเผาหรือฝัง ทาใหโ้ รคนนั้ ไม่สามารถติดต่อจากผู้ป่วยหรือตายไปยังบคุ คลอนื่ หรือสตั วไ์ ด้อีก 2.2 Zooanthroponoses( Wagener, 1 957 ) โรคกลุม่ นใ้ี นธรรมชาติมอี ยใู่ นคนแลว้ ติดตอ่ ไปยังสัตว์ ตวั อย่าง ได้แก่ โรคบิดมตี วั (amoebiasis) ปกติพบในคนแต่สุนขั อาจพบมี Entamoeba histolytica แต่จะพบเพียง

trophozoite ซึง่ ไม่ใช่ระยะติดต่อ ออกมากบั อจุ จาระ หรอื โรคคอตบี (diphtheria) ปกติพบแต่ในคน แต่อาจ ติดตอ่ ไปถึงโค ทาใหโ้ คตายได้ 2.3 Amphixenoses(Nelson, 1960 และ Hoare, 1962) เปน็ โรคติดต่อ ระหวา่ งสัตว์และคนทมี่ ีวงจรการติดโรค ในธรรมชาติกลับไปมาได้ ระหวา่ งสัตว์และคน ตัวอย่างได้แก่ Staphylococcus บางชนิด (strain) ทใ่ี หผ้ ลบวกกับ coagulase (Courtes and Galton, 1962) ซงึ่ ท้ังคนและสัตว์ชั้นตา่ ทยี่ งั ดารงการตดิ โรคจาก Staphylococcus ใหค้ งอยู่ในธรรมชาติ Smith และ Crabb ( 1960 ) พบว่ามกี ารต้านยาปฏชิ วี นะของเชื้อ Staphylococcus ในคน ที่เก่ยี วข้องกับสุกรที่ได้รับอาหารเสริมทผ่ี สมยาปฏิชวี นะมากกว่าในคนที่เกยี่ วข้องกบั สุกรท่ีไม่ได้รบั อาหารเสริมท่ี ผสมยาปฏิชวี นะ มีโรคตดิ ต่อระหว่างสตั วแ์ ละคนอกี หลายชนดิ ท่ีไม่สามารถแยกชนดิ เปน็ 3 กล่มุ ขา้ งตน เพราะยังไม่ค่อยเข้าใจ เก่ยี วกบั ประวตั ิของโรคทที่ าใหโ้ ฮสต์ตายตามธรรมชาติ นอกจากน้ันการแบ่งกลุ่มอาจจะแตกตา่ งกนั ได้ขน้ึ กับ สถานท่ี ถึงแมจ้ ะเป็นโรคเดยี วกนั เช่น kala azar เปน็ amphixenosis ในจีนและตามชายฝงั่ เมดิเตอรเ์ รเนียน แต่ ในอนิ เดยี ตอนใต้เท่านนั้ ท่โี รคติดตอ่ ระหว่างคนกบั คน 3. การจาแนกตามชนดิ ของเช้ือ เชอื้ โรคติดต่อระหวา่ งสตั ว์และคนท้ังหมดสามารถแบง่ ออกได้ตามสาเหตของเชอื้ เชน่ แบคทเี รีย ปาราสติ และ ไวรัส ( Hubbert, et al. 1974 ) ซึ่งง่ายแกก่ ารควบคมุ และการศกึ ษาวจิ ัยอน่ื ๆ 4. การจาแนกแบบอืน่ ๆ การจาแนกโรคติดตอ่ ระหว่างสตั ว์และคนอาจจาแนกตามการตดิ เชื้อ หรอื ธรรมชาตขิ องการดารงอยใู่ นโฮสต์ เช่น โฮสตช์ นดิ หน่ึงมีโรคติดต่อระหวา่ งสัตวแ์ ละคนอะไรบ้าง หรืออาจจะแบ่งตามสง่ิ อืน่ ๆ ที่จะเปน็ ประโยชน์ใหจ้ ัดกลุ่ม ได้ เชน่ สัตวเ์ ลีย้ งและคนเปน็ โรคเดยี วกนั ดังนน้ั การท่ีจะจาแนกโรคติดต่อระหวา่ งสตั วแ์ ละคน จะเป็นแบบไหน บ้างขน้ึ กับหลักการและเหตุผลวา่ เพ่ืออะไร ประโยชนม์ ากน้อยแค่ไหน เจา้ หน้าท่สี าธารณสขุ จะเข้าไปเกยี่ วข้องกบั โรคติดต่อระหว่างสัตวแ์ ละคน กต็ ่อเมื่อมีคนเข้าไปเก่ียวขอ้ งในวงจรของ โรคแตล่ ะชนิดกบั ความรุนแรงของโรค ซึ่งโรคแตล่ ะชนิดก็ต่างกันในแง่การสาธารณสขุ และความสาคัญทางด้าน การแพทย์ โรคติดต่อระหวา่ งสัตว์และคนบางชนิด ซึง่ มีความสาคญั ทางเศรษฐกิจการเกษตรอาจจะพบไดเ้ สมอใน คน เช่น Trichostrongylus, Brucella suis โรคเหล่านบ้ี างโรคไมม่ ีความสาคัญในทางสาธารณสุข แตบ่ างโรคท่ี เปน็ ปัญหาทางสาธารณสขุ อาจจะเปน็ ปัญหา หรอื ไมเ่ ปน็ ปัญหาทางเศรษฐกจิ การเกษตรก็ได้ เช่น encephalitis ดังน้ัน การทจี่ ะจาแนกโรคติดตอ่ ระหว่างสตั วแ์ ละคน อาจจะถือความสาคัญในกรณที จ่ี ะมีโอกาสพบโรคหรือความ รุนแรงของโรคทอี่ าจจะเกดิ ได้ในคน จากหลักสาคญั ๆ ขา้ งต้นน้ี อาจจาแนกโรคตดิ ต่อระหว่างสตั วแ์ ละคนโรคใดโรคหนง่ึ ได้เปน็ หลายแบบ เชน่ โรคพิษ สุนัขบา้ อาจจดั ไดว้ ่าเป็นไวรสั เป็นโรคของสนุ ขั ทต่ี ดิ ต่อมายังคนโดยตรง เป็น direct anthropozoonosis ซง่ึ พบ ไดเ้ ปน็ แห่งๆ แล้วตดิ ต่อมายังคน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook