Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิทรรศท่องแดนเอกภพ

นิทรรศท่องแดนเอกภพ

Published by 945sce00466, 2020-04-30 02:43:58

Description: เอกสารประกอบการเรียนนิทรรศท่องแดนเอกภพ

Search

Read the Text Version

นทิ รรศการทอ่ งแดนเอกภพ (Our Universe) กรอบความคิด (Theme) นทิ รรศการทอ่ งแดนเอกภพเปน็ นทิ รรศการทนี่ ำเสนอความร้เู กี่ยวกับเอกภพ หรอื จกั รวาล ไม่ว่า จะเป็นตำนาน ความเชื่อ สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ในยุคต่างๆ เรื่องราวเกี่ยวกับระบบสุริยะ ดาราจักร ท้องฟ้าและดวงดาว ในนิทรรศการท่องแดนเอกภพยังมีเนื้อหาเชื่อมโยงวัฏจักรชีวิตของมนษุ ย์ กับวัฏจักรของดวงดาว ซึ่งมีความเหมือนกันคือ เกิดข้ึน ตั้งอยูแ่ ละดับไป ซึ่งจะทำให้ผู้ทีส่ นใจไดร้ ูจ้ ักและ เขา้ ใจในความเปน็ มาของเอกภพมากขึ้น เอกภพ เป็นคำเรียกของทกุ ๆ สรรพสิ่ง ท้งั ดาราจกั ร กระจุกดาว ดำรงอยไู่ ปถงึ เมื่อใด ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ รวมทงั้ พลงั งาน และสสารต่างๆซงึ่ ท้ังหมด เหล่าน้ีอยู่รวมกันภายในเอกภพ นักวิทยาศาสตร์คาดวา่ เอกภพมี อายุประมาณ 13,000 ล้านปี และมีขนาดที่กว้างใหญ่ประมาณ 91,000 ลา้ นปแี สง ซึ่งใหญโ่ ตเกินกวา่ ท่มี นษุ ย์จะจนิ ตนาการไปถงึ ได้ เอกภพถือกำเนิดมาได้อย่างไรนั้นยังเป็นปริศนาที่ นักวิทยาศาสตร์พยายามค้นหาคำตอบ แม้ในปัจจุบัน นกั วิทยาศาสตร์สว่ นใหญ่จะเชอ่ื วา่ ทฤษฎีบิกแบง จะเป็นทฤษฎที ี่ อธิบายการกำเนิดเอกภพได้ดีที่สุด แต่ปริศนาต่างๆก็ได้เกิดข้ึน ตามมาอีกมากมาย และยังคงรอคอยนักวิทยาศาสตร์ร่วมค้นหา คำตอบว่าแท้จริงแล้วเอกภพและสิ่งมีชีวิตถือกำเนิดขึ้น และจะ

ความเช่อื เกย่ี วกบั เอกภพยุคโบราณ ชาวอียิปต์ ให้มมุ มองต่อโลกและจกั รวาลว่าเปน็ ดงั เทพเจา้ ท่ีคอยโอบอุม้ หม่มู วลมนษุ ย์และสรรพสิ่งเอาไว้ โดยใหเ้ ทพเจา้ เจบ๊ (Geb) เป็นตวั แทนแห่งแผน่ ดนิ และผนื หญ้าสเี ขยี ว สว่ นท้องฟ้านน้ั คอื เทพเจา้ นุต(Nut) ผู้ ที่มีเรอื นร่างประดบั ประดาไปด้วยดวงดาวและทุกเช้าเทพเจ้ารา (Ra) ผู้เป็นดวงอาทติ ย์จะเดินทางไปยงั ดินแดนมนุษย์ทั้ง 12 แคว้นและจะกลับไปพักผ่อนยังเรือนดอกบัว ทำให้เกิดกลางวันและกลางคืน นอกจากน้ียังมเี ทพเจ้าชู (Shu) ซง่ึ เป็นตัวแทนของอากาศคอนยนื ค้ำเทพเจ้านุตไมใ่ ห้ลม้ ลงทบั เทพเจ้าเจ๊บ และเมืองมนษุ ย์ ชาวไทยโบราณ ในแต่ละภูมภิ าคจะมคี วามเช่ือและมมุ มองต่อจกั รวาลท่ีแตกตา่ งกนั แต่แนวความเช่ือท่ีโด เด่นที่สุดได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นวรรณกรรมเรื่องไตรภมู ิพระร่วง โดยแบ่งเขตแดนของโลกออกเปน็ 3 ภูมิหลักๆคือ 1)กามภูมิ ประกอบด้วยภูมขิ องมนุษย์ สรรพสัตว์ นรกและสวรรค์ 2) รูปภูมิ เป็นที่อยู่ของ พรหมท่มี รี ปู กาย และ 3) อรูปภมู ิ เป็นที่อยูข่ องพรหมทไี่ มม่ ีรูปกายเป็นภูมสิ งู สุด ทั้ง 3 ภูมิน้ีตั้งอยู่บนเขา พระสุเมรุ มที วิ เขาและทะเลลอ้ มรอบ ดา้ นนอกสุดจะเปน็ กำแพงเหล็กท่คี อยกนั้ ขอบจักรวาลเอาไว้ ชาวฮินดูโบราณ ได้รับอิทธพิ ลจากศาสนาฮินดูซึ่งถือพระวิษณหุ รือพระนารายณ์เป็นใหญ่ มีความเชื่อวา่ โลกมนษุ ยถ์ กู วางอยู่บนหลงั ช้างขนาดใหญท่ ้ัง 4 เชือก และช้างท้งั 4 เชอื กนัน้ กอ็ ยูบ่ นหลงั เตา่ อกี ด้วย ทุก ครงั้ ทเ่ี ตา่ ขยับตัวกจ็ ะทำให้เกิดแผน่ ดนิ ไหว สว่ นบนท้องฟ้า และขอบรอบๆแผน่ ดนิ นนั้ จะมงี ูเหา่ ขนาดยักษ์ ท่ขี ดตัวเป็นวงกลมล้อมเอาไว้ ยคุ กรกี อรสิ โตเตลิ (384-322 ปีก่อนคริสตศกั ราช) เปน็ ผทู้ ่มี มี มุ มองต่อโลกในลักษณะทแี่ ตกตา่ งจากความ เชื่อโบราณ โดยอรสิ โตเตลิ เปน็ ผใู้ หแ้ นวคดิ ว่าจกั รวาลนี้ประกอบด้วยธาตทุ ง้ั 4 คือ ดนิ น้ำ ลม ไฟ ซงึ่ ดนิ นัน้ ก็คอื โลกมลี ักษณะเป็นทรงกลมอย่นู ่ิงกบั ที่ มนี ำ้ อยู่บนพ้ืนโลก มีลมอยเู่ หนอื น้ำและสงู ไปน้นั เปน็ ช้ันไฟ และ มดี าวอืน่ ๆโคจรรอบโลกเป็นวงกลม ยุคกรีก เคลาดิอสุ ทอเลมี (ค.ศ. 87-150) คนส่วนใหญจ่ ะเรียกเคลาดิอสุ ทอเลมีว่าปโตเลมีเปน็ นักดารา ศาสตร์และภูมิศาสตร์ที่เชื่อว่าโลกเป็นจุดศูนย์กลางของจักรวาลซึ่งได้รับอิทธพลมาจากแนวคิดของ อรสิ โตเติล แนวคิดดงั กลา่ วยังได้รับการยอมบั สืบเนอ่ื งตอ่ มาเป็นเวลา 1,400 ปี

แนวคิดและทฤษฎเี กีย่ วกบั เอกภพชว่ งยคุ โบราณ-ปจั จบุ ัน อริสโตเติล เปน็ บุคคลแรกทเี่ สนอว่าโลกเป็นศนู ยก์ ลางของเอกภพ เคลาดอิ สุ ทอเลมี เปน็ ผู้อธบิ ายวา่ โลกเป็นศนู ยก์ ลางของเอกภพและไดร้ บั การยอมรับมาอยา่ งยาวนาน นโิ คเลาส์ โคเปอรน์ คิ ัส เปน็ บุคคลแรกทนี ำเสนอว่าดวงอาทติ ยเ์ ปน็ ศูนย์กลางของเอกภพ กาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นผู้ค้นพบดวงจนั ทร์บริวาร 4 ดวงใหญ่ของดาวพฤหัสบดแี ละเป็นการยืนยันทฤษฎี ดวงอาทิตยเ์ ปน็ จดุ ศนู ย์กลางของเอกภพ โยฮนั เนส เคปเลอร์ เปน็ ผคู้ น้ พบวา่ โลกและดาวเคราะหด์ วงอืน่ ๆโคจรรอบดวงอาทติ ย์เปน็ วงรี เซอรไ์ อแซค นวิ ตัน เปน็ ผ้คู น้ พบแรงโนม้ ถว่ ง และกฎการเคลอ่ื นทขี่ องวัตถุ อัลเบิร์ต ไอสไตน์ เป็นผนู้ ำเสนอทฤษฎีเกี่ยวกับกาลอวกาศ และเวลาทยี่ ืดหดได้ เอด็ วิน โพเวลล์ ฮับเบลิ เป็นผูค้ น้ พบว่า เอกภพกำลังขยายตวั ด้วยอัตราเร่งคงท่ี สถานที่และวัตถุสำคัญในประวัตดิ าราศาสตร์โบราณ วงหินสโตนเฮจน์ อนุสรณ์สถานที่ตั้งอยู่บนที่ราบซอลส์บรี(Salisbury Plain) ทางตอนใต้ของประเทศ อังกฤษ นักโบราณคดีเชื่อว่าวงหินสโตนเฮจน์ถกู สร้างขึ้นเมือ่ ประมาณ 2,000-3,000 ปีก่อนคริสตศกั ราช โดยอาจเป็นท่ีประกอบพิธีกรรมบางอยา่ ง เชน่ พิธศี พ แต่ในมุมมองของนักดาราศาสตร์เชือ่ วา่ วงหินสโตน เฮจน์ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เป็นปฏิทินหรืออาจใช้เพือ่ คำนวณทางดาราศาสตร์ เช่น การคำนวณตำแหน่ง การเกิดสุริยปุ ราคา และอาจเป็นสถานทส่ี ังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ด้วย วงหนิ สโตนเฮจนป์ ระกอบด้วย

แท่งหินขนาดใหญจ่ ำนวน 112 ก้อน วางเรียงกันเป็นวงกลม 3 วงถัดออกไปด้านนอกเป็นคูน้ำที่ขุดเป็น วงกลมล้อมวงหนิ สโตนเฮจน์เอาไว้ วัดสนั เปาโล เปน็ หอดดู าวแห่งแรกของประเทศไทยซ่ึงสร้างขน้ึ เมอ่ื ปี ค.ศ. 1686 โดยคณะบาทหลวงเยสุ อิส (Les Jesuites) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เพื่อพัฒนาการทำแผนที่และวิชาการเดินเรือสมุทรที่ปลอดภัย และในช่วงดังกล่าวสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชยังมพี ระราชประสงคพ์ ฒั นากองเรือพาณิชย์นาวีข้ึนเพื่อใช้ในการค้าขายกบั ประเทศในแถบทะเล ตะวนั ออก หอดูดาววัดสันเปาโลมีลักษณะเป็นหอดดู าวรูปทรงแปดเหลย่ี ม ถูกสรา้ งขึน้ ตามมาตรฐาน ของหอดูดาวที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ปัจจบุ ันวัดสันเปาโลเปน็ โบราณสถาน ตั้งอยู่บนถนนรามเดโช ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรีปฏิทินชนเผ่ามายา ปฏิทินที่ถูกสร้างขึ้นโดยชนเผ่า มายาเมอื่ ประมาณ 2,300 ปกี อ่ นครสิ ต์ศกั ราช ชนเผา่ ทอ่ี าศัยอยู่ในดนิ แดนยูคาทานแถบๆ ประเทศเม็กซโิ ก และกัวเตมาลา มีความเชอ่ื ว่าในยุคแรกของการทำปฏิทินมายา ถูกสร้างขนึ้ เพอื่ ทำนายโชคชะตาเป็นหลัก และปฏิทินในยคุ แรกนนั้ กำหนดให้ครบรอบวงท่ี 260 วนั ซ่ึงเรยี กว่าระบบโซลคนิ (Tzolkin) และค่อยถูก นำมาใช้ในการบอกวนั เดือนปใี นภายหลัง และได้ถูกปรบั รอบวงใหมเ่ ปน็ 365 วนั กำหนดวัน 20 วนั เดอื น 18 เดือนมเี ดอื นพเิ ศษกอ่ นส้นิ ปีอีก 1 เดือน ซ่ึงมวี นั เพียง 5 วนั และเม่อื ครบ 365 วันก็จะกลับมานับรอบ ปฏทิ ินใหมอ่ กี ครัง้ ความเช่อื เกยี่ วกบั เอกภพของนกั วทิ ยาศาสตร์ 2 ยคุ โดยเคลาดิอุส ทอเลมี หรือ ปโตเลมี (ค.ศ.87 - 150) ปโตเลมี ได้สร้างแบบจำลองจักรวาลขึ้นมา ซึ่ง พยากรณ์การเคลื่อนที่และการทำงาน ของทรงกลมท้องฟ้าได้อย่างแม่นยำ ปโตเลมี ได้มีความเชื่อ เชน่ เดียวกนั กับอริสโตเติลวา่ โลกหยดุ นิง่ กับที่ ดวงอาทติ ย์และดวงดาวต่างๆ โคจรรอบโลก นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส (ค.ศ.1473 – 1543) เป็นบุคคลแรกที่เสนอว่าดวงอาทิตยเ์ ป็นจุดศูนย์กลางของ ระบบสุริยะ แต่การนำเสนอทฤษฎีดังกล่าวต่อสาธารณะชนก็ไดเ้ กิดขึ้นหลังจากที่โคเปอร์นิคัสเสียชวี ติ ไป แลว้ แนวคิดของโคเปอรน์ คิ สั กล่าววา่ โลกและดาวเคราะห์ตา่ งโคจรรอบดวงอาทติ ย์เปน็ วงกลม โดยทีโ่ ลก

มีลักษณะเป็นทรงกลมและหมุนรอบตัวเองไปด้วยในระหว่างการโคจร มีคาบการหมุนรอบตัวเอง 24 ชว่ั โมง และคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 365 วัน โดยเรียกระบบนวี้ า่ “Heliocentric” แตง่ านดังกล่าว ยงั ไม่ได้รบั การยอมรบั จาก ศาสนจกั รในยุคน้นั โยฮนั เนส เคปเลอร์ (ค.ศ.1571 - 1630) เป็นทั้งนักคณติ ศาสตร์ โหราศาสตร์ และนกั ดาราศาสตร์ทีม่ คี วามกล้า ท้าทายต่ออำนาจของคริสตจักรและแนวคิดของปโตเลมีที่ยังคงได้รับความนิยมอย่างสูงสดุ ในยุคนั้น เคปเลอร์ แสดงให้เห็นวา่ ดาวเคราะห์ทกุ ดวงโคจรรอบดวงอาทติ ย์เป็นวงรแี ละเส้นตรงทีล่ ากจากดวงอาทิตยถ์ งึ ดาวเคราะห์ จะกวาดพืน้ ทีไ่ ปเท่ากนั เสมอในเวลาทีผ่ ่านไปเท่ากัน นอกจากน้ีเคปเลอร์ยังพบว่าดาวเคราะหท์ ีม่ ีวงโคจรห่างดวง อาทิตย์มากกว่า ก็จะมีความเรว็ บนเส้นทางโคจรที่ชา้ กว่าด้วย การค้นพบดังกล่าวได้สรุปเป็นกฎ 3 ข้อของเคป เลอร์ แม้จะไม่ได้รบั ความเชื่อถือในช่วงที่เคปเลอร์มีชีวติ อยู่ แต่กฎดังกล่าวก็ได้ถกู ยืนยันความถูกต้องและใชใ้ น การคำนวณทางฟสิ ิกสต์ ่อมาจนถงึ ปัจจบุ ัน กฏข้อท่ี 1 ดาวเคราะหโ์ คจรรอบดวงอาทติ ย์เปน็ วงรี โดยมีดวงอาทติ ย์อยทู่ ่ีจดุ โฟกสั ณ จดุ ใดจุดหน่งึ ตำแหน่งทด่ี าวเคราะห์ อยู่ใกล้ดวงอาทติ ยท์ ส่ี ดุ เรยี กว่า Perihelion และตำแหนง่ ทดี่ าวเคราะห์อย่ไู กลดวงอาทติ ย์ท่ีสดุ เรยี กว่า Aphelion

กฏขอ้ ที่ 2 เส้นที่ลากเชือ่ มต่อระหวา่ งดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์ จะกวาดที่พืน้ ที่เท่ากันในเวลาเท่ากัน หมายความวา่ เมอื่ ดาวเคราะหอ์ ยู่ไกลดวงอาทิตย์จะเคลอ่ื นที่ช้ากวา่ ช่วงทีอ่ ยู่ใกลด้ วงอาทิตย์(ในเวลาทีโ่ คจรเทา่ กันพน้ื ที่1 = พื้นท่ี2 = พน้ื ท่ี3) กฏข้อท่ี 3 กำลังสองของคาบวงโคจรของดาวเคราะห์รอบอาทติ ย์ จะแปรผนั ตามกำลังสามของระยะหา่ งจากดวงอาทิตย์ น่นั คอื ยิ่งดาวเคราะห์มวี งโคจรห่างจากดวงอาทติ ยเ์ ทา่ ไหร่ กย็ ิง่ โคจรรอบดวงอาทติ ยไ์ ดช้ า้ ลงตามไปดว้ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook