Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงานการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ Best Practice

ผลงานการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ Best Practice

Published by rattanachai, 2021-08-16 16:35:33

Description: ผลงานการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ Best Practice

Search

Read the Text Version

ผลงานการปฏิบตั งิ านท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) 0

ผลงานการปฏบิ ตั ิงานทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 1 ผลงานการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) _____________________________________________________________________________ ช่ือผลงาน การจัดการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ รว่ มมือเพอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน สาหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ผนู้ าเสนอผลงาน นายรตั นชัย แม้นพรหม ตาแหน่งครูผ้ชู ว่ ย โรงเรยี นสริ ริ ัตนาธร กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. ทม่ี าและความสาคัญของปัญหา โลกในปัจจบุ ันมกี ารเปลยี่ นแปลงในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่ีมีการ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ซง่ึ สง่ ผลต่อส่ิงตา่ ง ๆ บนโลก เนือ่ งจากวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมีความสาคญั อยา่ งยิ่ง ในการดารงชีวิตของมนุษย์และการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีส่วนช่วยในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของมนษุ ย์ให้อยู่ดีกินดี ช่วยพัฒนาบุคคลให้มเี หตุ มีผล ใจกว้าง ยอมรับความคิดเหน็ ของผู้อน่ื และสามารถนาความรู้มาใชใ้ นการแก้ปญั หาดว้ ยตนเองได้ ทกุ ประเทศจงึ จดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้แตกฉานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Yager, 1984: 194 อ้างถึงใน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2546: 1-5) ดังนั้น เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ่ีมีผลตอ่ มนุษยด์ งั ทไ่ี ดก้ ล่าวมาแล้ว มนุษย์จงึ ต้องมีการปรบั ตัวเพือ่ ให้เขา้ กบั สภาพการ เปล่ยี นแปลง และการพฒั นาคุณภาพชีวติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม จากสภาพการในปจั จุบนั ซึ่งเป็นยคุ ศตวรรษท่ี 21 ครูควรสอดแทรกวิธกี ารจัดการเรียนร้ใู นรูปแบบทักษะ เพื่อการดารงชีวิตใหแ้ กน่ ักเรียน กล่าวถึงทกั ษะเพ่ือการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาระวิชาเทคโนโลย(ี วิทยาการ คานวณ) ก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรยี นรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษท่ี 21 ปัจจุบันการเรียนรู้ สาระวชิ าเทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ควรเป็นการเรียนจากการคน้ ควา้ เองของนกั เรียน โดยครชู ว่ ยแนะนา และ ช่วยออกแบบกจิ กรรมท่ชี ่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมนิ ความกา้ วหน้าของการเรียนรขู้ องตนเองได้ ทกั ษะ ในศตวรรษท่ี 21 ที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ไปตลอดชีวิต หลัก ๆ จะประกอบไปด้วยทักษะทางด้านการคิด การ สร้างสรรค์ การทางานเปน็ ทีม การสอื่ สารสารสนเทศ และทักษะการเรยี นรู้ (วิจารณ์ พานิช, 2555, น.19) ซึ่ง การอยูร่ ่วมกันในสงั คม ทกั ษะที่สาคัญอยา่ งยิ่ง คอื ทกั ษะการทางานเปน็ ทมี ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการทางานเป็นทีมน้ัน การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative Learning) ก็เป็นนวัตกรรมอกี รปู แบบหนงึ่ ทีเ่ หมาะสม เน่ืองจากการจัดการเรยี นร้แู บบร่วมมือน้ี จะเน้นการจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นให้แก่นกั เรียนไดเ้ รยี นรรู้ ว่ มกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ โดยมอี งคป์ ระกอบสาคญั คือ มกี ารพ่งึ พาอาศยั กนั มีการปรกึ ษาหารอื กันอย่างใกลช้ ดิ สมาชิกแต่ละคนมีบทบาทหนา้ ที่และความรับผิดชอบ ของแต่ละบุคคล ทักษะการสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และทักษะการทางานกลุ่ม มีการวิเคราะห์กระบวนการกลุม่ หากนักเรียนให้ความร่วมมือในลักษณะดังกล่าวจะเกิดการเรียนรู้ได้ดี เน่ืองจากการร่วมมือกันสามารถช่วยให้

ผลงานการปฏบิ ตั งิ านท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) 2 นกั เรียนมีความพยายามทีจ่ ะเรยี นร้จู นบรรลเุ ป้าหมาย มแี รงจูงใจภายใน แรงจงู ใจใฝ่สัมฤทธ์ิ และรูจ้ กั กระบวนการ คิด นอกจากน้ีนักเรยี นยังมีความสมั พนั ธ์ตอ่ กันและกนั และมีสภาพจติ ใจที่ดีขึ้นด้วย (ทิศนา แขมมณี, 2543, น. 24 – 25) ซึ่งการเรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือน้ันยังเป็นวิธีการท่ีสอดคล้องกับวิชาเทคโนโลยี(วิทยาการ คานวณ) อกี ทง้ั การเรยี นร้แู บบร่วมมือยังทาใหน้ กั เรียนเกิดความสนกุ สนานไม่เกิดความรู้สกึ เบ่ือ และยังสามารถที่ จะถามเพื่อนสมาชิกในกลมุ่ ใหช้ ่วยอธิบายในเนื้อหาท่ีไม่เข้าใจในช่วงท่ีทากิจกรรมได้ (ศิริมา พนาภินันท์, 2552, น.71) 2. วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) เร่ืองการเขยี นผงั งาน (Flowchart) 2. เพ่อื ศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั เรียนทม่ี ตี อ่ กระบวนการกล่มุ ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 3. สมมติฐาน 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) เร่ืองการเขียนผังงาน (Flowchart) หลงั เรียนมากกว่ากอ่ นเรยี น 2. นักเรยี นมคี วามพงึ พอใจต่อการเรยี นร้โู ดยใช้กระบวนการกลุม่ ในระดับมาก 4. ขอบเขตการวิจัย ประชากรกลุ่มตวั อยา่ ง ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนสิริรัตนาธร สานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานครเขต 2 ซ่ึงกาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 3 หอ้ ง จานวนนักเรียนทั้งหมด 118 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 1 ห้องเรียน 46 คน การเลือกกลุ่ม ตวั อย่างโดยการสุ่มแบบเจาะจง ( Purposive Sampling)

ผลงานการปฏิบตั งิ านทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 3 ตัวแปรทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ตัวแปรต้น การเรยี นรู้แบบร่วมมือ ตัวแปรตาม 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) เรื่องการเขียนผังงาน (Flowchart) 2. ความพงึ พอใจตอ่ การเรียนรู้แบบรว่ มมือ 5. ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน วิเคราะหห์ ลกั สตู ร วางแผนการปฏิบตั งิ าน การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ประเมนิ ผล สรปุ ผลการดาเนินงาน 5.1 วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2561) 5.2 วางแผนการปฏบิ ตั งิ าน 5.2.1 ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตาม แนวคิดของนักการศกึ ษา 5.2.2 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) เรื่องการเขียนผังงาน (Flowchart) แบบร่วมมอื

ผลงานการปฏิบตั งิ านท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) 4 5.2.3 สรา้ งและออกแบบเครือ่ งมือท่ใี ช้ในการวัดผลประเมินผล ดังนี้ 5.2.3.1 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) เร่ืองการ เขียนผังงาน (Flowchart) เป็นข้อสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก มีเกณฑ์การให้ คะแนน คือ ตอบ ถกู ให้ 1 คะแนน ตอบผดิ หรือไมต่ อบให้ 0 คะแนน 5.2.3.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม ตาม หัวข้อท่ีกาหนด โดยกาหนดเกณฑ์การประเมนิ เป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) คา่ 5 ระดบั ตามวธิ ขี องเคริ ท์ (Likert Scale) โดยกาหนดให้มีระดบั การประมาณคา่ คอื มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสดุ มีคะแนนเป็น 5, 4, 3, 2 และ 1 ตามลาดับ 5.2.4 แสดงตารางเปรียบเทียบความสัมพันธ์ทางแนวคิดของนักการศึกษาสาหรับการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมอื แนวคิดของนกั การศึกษา ขั้นตอนการ อารอนสนั และ โรเบริ ์ต สลาวิน เดวิด จอห์นสนั เปรมจิตร ขจรภัย สุวทิ ย์ มูลคา และ สรปุ แนวคดิ ของ จัดการเรยี นรู้ คณะ (Aronson และคณะ (Slavin และรอเจอร์ ลารเ์ ซน่ (2536) อรทัย มลู คา นกั การศกึ ษา แบบรว่ มมอื and others, จอห์นสัน (2546) and others, (Johnson and ขัน้ นาเข้าสู่ ขน้ั ท่ี 1 1978) 1987) Johnson, 1994) ขัน้ เตรียม บทเรยี น ขน้ั ท่ี 2 ขั้นแบ่งกล่มุ และ ขน้ั แบง่ งาน ขนั้ สอน ข้ันทบทวน ขน้ั เตรียม ขนั้ เรมิ่ บทเรียน ระดมความคดิ ขั้นท่ี 3 ขั้นจดั กลุม่ บ้าน ขั้นทบทวนความรู้ ข้นั แบง่ ภาระงาน ขั้นสอบ ขั้นดแู ลกากับการ ขน้ั นาเสนอ ขน้ั ท่ี 4 (Home Groups) เป็นกล่มุ เรยี นรู้ ขั้นการศึกษาของ ขั้นสรปุ และ ขน้ั ท่ี 5 กล่มุ ผู้เชีย่ วชาญ ข้ันหาคะแนน ข้ันส่งผลงาน ข้ันทางานลุ่ม ขน้ั การประเมิน ประเมินผล ขัน้ ที่ 6 (Expert Group) พัฒนาการ การทางานและ ขัน้ อธบิ ายภายใน ข้นั ใหร้ างวลั กลมุ่ ข้นั ตรวจสอบ ข้นั ตรวจสอบ ผลงาน กลมุ่ บา้ น ผลงาน ผลงานและ ทดสอบ ขัน้ ทดสอบ ขั้นสรุปและ ประเมินผล ขัน้ ให้รางวัลกลุ่ม

ผลงานการปฏิบตั ิงานทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) 5 5.3 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 5.3.1 จดั กจิ กรรมการจัดการเรยี นร้แู บบรว่ มมือรายวิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) เรอ่ื งการ เขยี นผังงาน (Flowchart) ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียน ขั้นแบ่งกลมุ่ และระดมความคดิ การจัดการเรยี นรู้ ขั้นนาเสนอ แบบรว่ มมือ ขั้นสรปุ และประเมินผล 5.4 ประเมนิ ผล โดยใชเ้ ครอ่ื งมือทผี่ ูว้ จิ ัยสรา้ งข้นึ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ 5.4.1 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) เรื่องการเขียนผงั งาน (Flowchart) 5.4.2 แบบประเมินความพงึ พอใจตอ่ กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ 5.5 สรปุ ผลการดาเนินงาน การจัดการเรยี นรู้วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) เรื่องการเขียนผังงาน (Flowchart) โดยใช้ กระบวนการเรยี นร้แู บบร่วมมอื เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ปรากฎผลดงั น้ี 5.5.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) เร่ืองการเขียนผังงาน (Flowchart) ของนักเรียนหลงั ได้รับการจดั การเรยี นรู้แบบร่วมมือ สูงกว่ากอ่ นเรยี นอย่างมีนยั สาคญั ทาง สถติ ทิ ่รี ะดบั .01

ผลงานการปฏิบตั งิ านท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) 6 จากตาราง พบว่าการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียทั้งสองกลุ่มของผู้เรียน แบบปกติ มคี า่ เฉลย่ี เทา่ กับ 13.52 แบบร่วมมือ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 17.87 เมื่อเปรียบเทียบแล้วมีความแตกต่างกัน เทา่ กบั -4.35 ดงั นนั้ จากการทดสอบสถิติ t พบว่า คา่ เฉลย่ี ระหวา่ งผู้เรียน แบบรว่ มมอื กับ แบบปกติ สงู กว่าอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .01 5.5.2 นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสริ ริ ตั นาธร มคี วามพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นรวู้ ชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) โดยใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบรว่ มมือ (Mean = 4.21, S.D. =0.22) ผลการวเิ คราะหภ์ าพรวมของแบบสอบถามทีใ่ ช้เกณฑค์ ่าคะแนน 5 ระดบั 6. ปัจจัยความสาเร็จ 6.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนสิริรตั นาธร ให้ความสาคัญและสนับสนนุ การจดั การเรยี นรู้ 6.2 การมีส่วนรว่ มของครแู ละนกั เรยี นในการจดั การเรยี นรู้ 6.3 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีท่ีเหมาะสม

ผลงานการปฏบิ ตั งิ านที่เปน็ เลศิ (Best Practice) 7 7. บทเรยี นท่ไี ดร้ ับ 7.1 การดาเนินการจัดการเรยี นรู้ชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ทาให้เกดิ การเปล่ียนแปลงในการจดั การเรียนรูท้ เี่ หมาะสมในการดารง อยใู่ นศตวรรษท่ี 21 7.2 นักเรียนมีทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการทางานเป็นทีม ทักษะการเรียนรู้และ นวัตกรรม อันส่งผลให้นักเรียนรู้หน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล สามารถดาเนินไปอย่าง สอดคล้องและประสบความสาเรจ็ ชว่ ยให้เกิดความรูร้ กั สมคั คีระหวา่ งสมาชิกในกลุ่ม 8. การเผยแพร่ 8.1 แผยแพร่ผลงานผ่านทางเว็บไซต์ https://sites.google.com/srt.ac.th/classroom-krupentor

ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 8 ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน

ผลงานการปฏิบตั งิ านท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) 9


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook