Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเศรษศาสตร์เบื้องต้น -พระปัณฑ์ อคควโร เลขที่ 37

รายงานเศรษศาสตร์เบื้องต้น -พระปัณฑ์ อคควโร เลขที่ 37

Published by พระปัณฑ์ อคฺควโร, 2023-08-07 03:21:17

Description: รายงานเศรษศาสตร์เบื้องต้น -พระปัณฑ์ อคควโร เลขที่ 37

Search

Read the Text Version

ก รายงาน เรื่อง การสกิ ขาจารกิ อารยธรรมขอม-ทวาราวดี ปราสาทปลายบัด ปราสาทเมืองต่ำ และ ปราสาทพนมรุง เสนอ พระอาจารยป ลดั วชั ระ วชิรญาโณ จัดทำโดย พระปณ ฑ อคฺควโร / จติ ราณุภักดี รหสั นสิ ิต 6409501037 นิสิตปท ่ี 2 สาขาพระพทุ ธศาสนา รายงานนเ้ี ปนสวนหนงึ่ ของวิชา ๐๐๐ ๑๐๘ เศรษฐศาสตรเบอ้ื งตน ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565 มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั วิทยาลยั วทิ ยาเขต สรุ ินทร

ข คำนำ รายงานฉบบั น้ีเปน สวนหนึ่งของวชิ า ๐๐๐ ๑๐๘ เศรษฐศาสตรเบ้อื งตน โดยมีจุดประสงค เพ่ือการศกึ ษาหาความรทู ี่ไดจากการสิกขาจารกิ วฒั นธรรมพุทธในอารยธรรมขอม-ทวารวดี พราหมณ-ฮินดลู ทั ธิไศวนิกาย และพทุ ธสถานนกิ ายมหายาน อสี านใต อำเภอ ประโคนชัย จงั หวัด บุรีรัมย ซึง่ รายงานนี้ มเี น้ือหาความรูในการสกิ ขาจาริกประวัติศาสตรของอารยธรรมขอม-ทวารวดี ในอีสาน เพอื่ ศกึ ษาแนวความคิดของชาวพทุ ธ ในสมัยโบราณ เพอ่ื ศึกษาเกีย่ วกับดานเศรษฐศาตร ของสังคม และชุมชนในสมัยขอมเรืองอำนาจ ในสมัยพระเจา ชยั วรมนั ที7่ ไดเรียนรศู กึ ษาเกีย่ วกับพฤตกิ รรมของ บคุ คลและสังคมในการดำเนินกิจกรรมทาเศรษฐกจิ การประยุกตแนวความคดิ ทางศาสนาพุทธเก่ียวกบั ธรรมชาติของมนษุ ยม าใชอธิบายหลักการและ แนวคดิ ทางเศรษฐศาสตร เปน แนวทางใหมในการทำความเขา ใจเศรษฐศาตร ผจู ดั ทำ พระปณฑ อคฺควโร รหัสนสิ ิต ๖๔๐๙๐๕๑๐๑

สารบัญ 1 เร่ือง หนา 1.1 ดานการศกึ ษา ประวัติความเปนมาของปราสาทเขาปลายบัด 2-3 1.2 ดา นการศึกษา ประวิติความเปน มาของปราสาทเมอื งตำ่ 4-11 1.3 ดานการศึกษา ประวัตคิ วามเปน มาของปราสาทพนมรงุ 12-15 2. ดา นสังคมปราสาทปลายบัดปราสาทเมืองต่ำและปราสาทพนมรงุ 17-18 3. ดา นเศรษฐกิจปราสาทปลายบดั ปราสาทเมอื งต่ำและปราสาทพนมรุง 17 4. ดา นการเมืองปราสาทปลายบดั ปราสาทเมอื งต่ำและปราสาทพนมรงุ 18 ๕. สรุปทา ยบท 18 บรรณานุกรม 20 ภาคผนวก 21-32

2 ปราสาทปลายบัด ปราสาทปลายบดั หรือ ปราสาทเขาปลายบัด ประกอบดวยโบราณสถานในคติความเช่ือของ ขอมสองหลัง ไดแ ก ปราสาทเขาปลายบดั 1 และ 2 ซึ่งตั้งอยหู า งกนั ราว 1 กิโลเมตร[ ตั้งอยทู ่ี อำเภอประโคนชยั และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จงั หวัดบรุ รี ัมย หา งจากปราสาทพนมรุง ไปทางทศิ ใตป ระมาณ 5.5 กิโลเมตร จากปราสาทเมืองต่ำไปทางทศิ ตะวันออกเฉียงใต ประมาณ 1.4 กิโลเมตร และหางจากเมืองบรุ ีรมั ยป ระมาณ 62 กโิ ลเมตร เปน ศาสนบรรพตหรอื ศาสนสถานที่ สรา งบนเขาปลายบัดทีม่ คี วามสงู 289 เมตร ซ่ึงสันนษิ ฐานวา เปน ภเู ขาไฟทีด่ บั สนทิ แลวเชนเดียว กับเขาพนมรงุ ปราสาทปลายบดั สรางข้นึ ราวพทุ ธศตวรรษท่ี15-16 เพอื่ เปนเทวสถานในศาสนาพราหมณ- ฮนิ ดลู ทั ธิไศวนิกายและพทุ ธสถานนกิ ายมหายาน มีความโดดเดนในเร่ืองการสรางระบบการจดั การ น้ำเพื่อเช่ือมโยงพน้ื ท่ีสำคัญ ดวยการดัดแปลงปากปลอ งภูเขาไฟเปนสระนำ้ มีการสรางคันบงั คบั นำ้ เช่อื มตอ กบั แหลงนำ้ ธรรมชาติเพ่ือใหไ หลลงสบู ารายของปราสาทเมืองต่ำเพ่ือหลอ เล้ียงชมุ ชนบน พ้ืนทรี่ าบ และเปนภูเขาลูกโดดเพยี งลูกเดียวทพี่ บปราสาทขอมบถงึ 2 ปราสาท ซ่งึ ไมค อยพบเห็น ในปราสาททีไ่ ดร ับอิทธิพลจากอารยธรรมขอม

3 ปราสาทปลายบัด 1 ปราสาทปลายบดั 1 ตงั้ อยูบนยอดเขาปลายบัด ในเขตบานโคกเมอื ง ตำบลจรเขม าก อำเภอ ประโคนชัย ปจจุบันพบเพียงปราสาทประธานและอาคารบริวารท่ีต้งั อยูดานหนา 2 หลัง ตัว ปราสาทมีลกั ษณะเปนอาคารผงั สี่เหลีย่ มจตรุ สั ยอ มุมสรา งดว ยหนิ ทรายและอฐิ มีประตูทางเขา ทาง ทิศตะวนั ออกในขณะท่ีอกี สามดานเปนประตูหลอก ขอบประตูมลี วดลายบางตอนเขาใจวา เปน ปราสาททสี่ รา งไมแ ลวเสร็จ ตง้ั อยบู นฐานไพทีศิลาแลงรปู สีเ่ หล่ียมพ้ืนผา จึงสันนิษฐานวาดานขาง ทัง้ สองของปราสาทประธานเคยมีปราสาททรงปราสาทอีกสองหลงั ที่สรา งดว ยอิฐและพลงั ทลาย แลว บนยอดเขาทางทิศตะวันตกเฉยี งใตของปราสาทยงั พบหลกั ฐานคลายเขอ่ื นขนาดใหญซ ึง่ รว ม สมยั กบั ศิลปะแบบคลงั เชน ปราสาทตาแกว ปราสาทคลงั ใต ปราสาทคลังเหนือ เปน ตน

4 ปราสาทเมอื งต่ำ ประวตั ทิ ม่ี าและความสำคัญ ปราสาทเมืองต่ำ ต้ังอยบู านโคกเมือง ตำบลจรเขมาก อำเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ รี ัมย หาง จากปราสาทพนมรุงไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใตป ระมาณ 8 กโิ ลเมตร ตัวปราสาทและหมูบ านตัง้ อยูบ นเนินดนิ รูปรางคอนขางกลมอยสู ูงกวาระดับพ้นื ชายเนนิ ทเี่ ปน ทองนาประมาณ 1-2 เมตร ท่ตี ง้ั ของตัวปราสาทปจ จบุ ันมีวดั ปราสาทบรู พารามอยูทางทศิ ตะวนั ออก ทางทศิ เหนือมีอา งเกบ็ น้ำขนาดใหญห รือบารายซ่ึงเรยี กกนั วา ทะเลเมืองต่ำ กวาง ประมาณ 510 เมตร ยาวประมาณ 1,090 เมตร สวนทางทิศใตและทิศตะวันตกแวดลอมไปดว ย บานเรือนของราษฎร แหลง นำ้ ท่มี ีความสำคญั ตอ บา นโคกเมือง ไดแ ก ทะเลเมอื งต่ำและลำหว ยปนู ซึง่ เปน สาขาของ หวยประเทยี อยทู างทศิ เหนอื หวยน้ำขนุ อยทู างดานทศิ ตะวนั ออก ซ่งึ ตางเปนแหลง นำ้ สำหรบั อุปโภค กรมศลิ ปากรไดป ระกาศขึน้ ทะเบยี นโบราณสถาน ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลมที่ 52 ตอนท่ี 75 วนั ที่ 8 มนี าคม 2478 และประกาศกำหนดขอบเขตโบราณสถานในราชกจิ จานุเบกษา เลม 115 ตอนพิเศษที่ 83 ง วันที่ 21 กนั ยายน 2541 เนอ้ื ท่ี 538 ไร 2 งาน 1 ตารางวา (รวมกบั บารายเมืองต่ำ)

5 ประวัติการอนุรกั ษ ภายหลงั จากอาณาจักรกัมพูชาเสอ่ื มลงในปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 18 เปน เหตุใหศ าสนสถาน อิทธิพลวฒั นธรรมของขอมเสอื่ มโทรม ถกู ทอดท้งิ ใหรกราง เชนเดียวกับปราสาทเมืองตำ่ ทถี่ ูกทิง้ รางไปเปน ระยะเวลายาวนาน จนกระทง่ั ถึงสมัยลาอาณานิคม นกั สำรวจและนกั วิชาการชาวฝร่งั เศส ไดบันทึกการสำรวจ ดนิ แดน และรองรอยของศาสนสถานตางๆ ไว ชื่อ “ปราสาทเมืองต่ำ” ไดปรากฏในรายงานการ สำรวจ เมือ่ ป พุทธศักราช 2444 และ พทุ ธศกั ราช 2450 ไดใ หขอมลู เกีย่ วกับชอื่ บา นนามเมอื ง วา ช่อื “เมืองตำ่ ” อาจจะกำหนดเรยี กโดยเปรียบเทียบสภาพทีต่ งั้ กบั ปราสาทพนมรงุ ซง่ึ อยูบนยอด เขา ป ครสิ ตศ กั ราช 1910 จากหนังสอื Le Cambodge Tome II ผูเ ขยี นคือ Aymonier, E. หนา 131 กลาววา “ ต้งั อยหู างจากเมอื งประโคนชัย 2 – 3 โยชน ทางทศิ ตะวันตกเฉยี งใต และจากเขาพนมรุง 1 โยชน ไปทางใต จากเขาพนมได (Phnom Dei) (เขาปลายบดั ปจ จุบัน) 1 โยชนท างทศิ ตะวนั ออก ชื่อเมอื งตำ่ น้ีเปน ภาษาไทย ดูจะเปนกรณีไมป กติสำหรับทองทท่ี ่ีชาวบานพูดเขมรตรงกบั คำวา NOKOR TEAP หรอื BANTEAI TEAP อาจเปนเพราะชื่อนี้ถูกเรียกโดยฝงตรงขามอยางดูถกู ท่ีอาจ อาศัยอยูทเี่ มืองสงู ใกลพ นมรงุ กอนอ่ืนท่ีเราจะพบกบั บารายขนาดใหญเรียกวา ละหาน หรอื ทะเล ที่ไมไ ดถูกขดุ ข้นึ ทางทศิ ตะวันออก แตกลับเปน ทางทิศเหนือ วดั ขนาดได 550 x 1,200 เมตร มี ขอบเปนคนั ดนิ ยกสูงโดยรอบกวาง 40 เมตร ลำธารทีพ่ ักจะแหง ในหนา แลง ไหลมาจากพนมได เขา สูบารายทีม่ มุ ตะวันตกเฉยี งเหนือและไหลออกไปอีกครงั้ ท่ีมุมดานตะวันออกเฉยี งใต ยงั คงมี ประตนู ำ้ ทเ่ี ปนตวั ควบคุมระดับของน้ำ หรือแมแ ตใ ชปลอ ยน้ำออกเพอื่ ใหจบั ปลาไดงา ยขน้ึ ดวยระยะ 100 เมตร ไปทางใตของบารายเปน ท่ีตง้ั ของโบราณสถานท่เี รียกในปจ จบุ นั วาเมือง หรอื กำแพง มีตนไมจ ำพวกมะมวง มะพราวขึ้นอยู แสดงถึงการเคยเปนทีต่ ้งั ของชุมชนเมือ่ ประมาณ 1 หรือ 2 ชวั่ อายุคนมาแลว แตใ นปจจุบันปรากฏวากลายเปน ท่ีลมุ น้ำทว มขังและรกราง ปราศจากผคู น กำแพงแกวชั้นนอกเปนศิลาแลงสูง 3 เมตร ลอมรอบบริเวณเปน รปู ส่เี หล่ียมผืนผา ขนาด 160 เมตร แนวตะวนั ออก – ตะวันตก และ 120 เมตรในแนวเหนอื – ใต เจาะชองเปน ประตูขนาดใหญต รงแกนหลักทงั้ สด่ี าน ภายในระหวางกำแพงแกวและศาสนสถาน เปนท่ีตั้งของ สระนำ้ รปู มมุ ฉากกวา ง 10 เมตร บุสระสีด่ วยศิลาแลงเรียงเปน รูปขั้นบันได มที างเดินตามแนวแกน ไปจบท่ีสว นกลางของทุกดา น ทางเดินทางทศิ เหนอื มบี อน้ำขนาดเลก็ ลกึ ๑ เมตร บุดา นศลิ าแลง ปจจบุ นั ไมมีน้ำขงั อยู ตวั อาคารซงึ่ ยกระดับสูงขึ้นตงั้ บนกำแพงกนั ดินสงู 1 เมตร รวมประตทู างเขา ขนาดใหญ ทางดานตะวนั ออก ขนาบขา งดวยระเบยี งคดที่กินพืน้ ท่เี ต็มทั้งดาน มปี ระตขู นาดเลก็ อีก 2 ประตู แยกอยทู างดา นทิศเหนือและใต สวนทางดานตะวันตกมเี พยี งบันไดทางขึ้น และปราสาทอฐิ 5 องค

6 ท่ีมขี นาดแตกตางกนั องคก ลางผงั รปู ส่ีเหล่ียมผืนผา ชาวพื้นเมอื งเรียกวาพระวิหาร ประตมิ ากรรม มีอยูเปน จำนวนมากในโบราณสถานที่อยใู นสภาพปรักหกั พงั เปน สว นใหญแ หงน”ี้ ในป คริสตศกั ราช 1907 จากขอเขยี นเรอื่ ง Inventaire Descriptif Des Monuments Du Cambodge Tome II เขียนโดย Delajonguiere,E.Lunet. มี Ernest Leroux เปน บรรณาธกิ าร หนา 215 – 238 ความวา \"เมืองตำ่ (MOEUONG TAM) ทีเ่ รียกเชนน้อี าจจะเนือ่ งมาจากสภาพทีต่ ั้งเมือ่ เปรยี บเทยี บกบั ปราสาทพนมรุง นาแปลกทมี่ ชี ่อื เรียกเปนไทย ท้งั ท่ีต้งั อยูในทอ งทที่ หี่ มบู านสว นใหญยังมชี ื่อเปน เขมร แตอยา งไรกไ็ มสำคัญขนาดเอามาพิจารณาถึงความสำคัญระหวางสองปราสาทน้ี ปราสาทเมอื งตำ่ ตง้ั อยทู างใตของบารายใหญทโ่ี ดนถมไปบางสว นประกอบดวย 1. กลมุ ปราสาท 2. ระเบียงคดชั้นใน 3. สระน้ำภายใน 4. กำแพงแกว ชัน้ นอก 1. ส่ิงกอ สราง 5 หลงั สรางดว ยอิฐ แผนผงั รูปสี่เหล่ียมจตั รุ สั หันหนา ไปทางทิศตะวนั ออก ใน แถวหนา มีปราสาท 3 องคเรยี งกนั ในแนวเหนือ – ใต สวนแถวหลงั มปี ราสาทอกี 2 องค ตั้งสบั หวา งอยู ปราสาทเหลานี้เปน แบบธรรมดาสามญั มากเมื่อพิจารณาจากทุกแง องคกลางอยแู ถวหนามี ขนาดใหญก วาองคอ น่ื ๆ อาจมีมขุ ย่นื ตรงประตูดา นหนา สรางอยูบนฐานศิลาแลงท่ยี กสูงกวาองค อื่นๆในกลมุ น่ีคือทง้ั หมดทีเ่ ห็นไดเนื่องจากอยูใ นสภาพปรักหกั พัง และยังถกู แกไ ขดดั แปลงเอาวัสดุ จากซากโบราณสถานไปใชโดยคนพ้นื เมอื ง สวนประกอบของอาคารลอมรอบ อยูในสภาพท่ีดีกวา มคี วามละเอียดลออแตไ มเ สร็จสมบรู ณ ทับหลังเปน แบบธรรมดาเห็นไดท่ัวไปเปนแบบที่ 3 มกี ารเลาเรอ่ื งดังน้ี 1. องคทางเหนือของแถวหนาสลักรปู พระสวิ ะ นางปาวตีและโคนันทิ (อุมามเหศวร) 2. องคทางใตแ ถวหนา เปนรปู บคุ คลไมแนวา เปน ใคร 3. องคท างใตแถวหลังเปน รูปพระพรหมทรงหงส (พระวรณุ ) 4. องคทางเหนือแถวหลงั เปน รปู บุคคลไมแ นวา เปน ใคร

7 2. ระเบียงคดช้นั ใน ลอ มรอบกลุมปราสาท 5 องค ถกู สรางขนึ้ ไปบางสวน ผนังยังไมเสรจ็ จนถึง ชนั้ ทต่ี อ กับโคง ประทุนที่ทำหลงั คา เปนระบบของระเบยี งคดแคบๆ ดานนอกเปน ผนงั ตันเต็มๆ เปด เปน ชองหนาตา งจำนวนมากหนั เขา ลานโลงดานใน ตรงกลางของระเบยี งคดทัง้ ส่ดี านเปนท่ตี งั้ ของ โคปุระ มเี พยี งสามดา นทส่ี รา งเสร็จคอื ดานทศิ ตะวันออก ทศิ เหนอื และทิศใต โดยดา นท่ีสเ่ี พ่ิงจะ เริ่มลงมือ ถอื เปน สง่ิ กอสรา งที่ยิง่ ใหญ สรางจากศิลาทรายเหมอื นกบั ระเบยี งคดแตมผี นงั ปด ลอมเปนหอง เฉพาะรปู สเ่ี หล่ียมผืนผาเปดออกสทู างดา นยาวทง้ั สองดา น โดยมีประตทู ย่ี ื่นออกไปเปนมุขทกี่ าร กอ สรางประณตี มาก การตกแตง ท่ัวไปเปน แบบธรรมดา ทบั หลังเปน แบบที่ 3 ท่ีมกี ารดัดแปลง เลก็ นอย ปรากฏภาพบคุ คลตางๆที่สวนใหญจ ะระบไุ มไ ดวา คอื ใคร ที่พบจะชดั เจนท่สี ดุ ก็มเี พียงท่ี ประตทู างทิศตะวันออก ดานในของโคปุระตะวันออก เปน รปู ลงิ เลน กับนาค (กฤษณะปราบนาคกา ลิยะ) โบราณสถานท้งั หมดตัง้ อยูบนเนนิ สูงกวาบรเิ วณโดยรออบ โดยไดท ำเปน กำแพงกนั ดินทม่ี ีลวด บัวประดบั เปน ฐาน หนาตางจรงิ หนาตางหลอกมขี นาดใหญแ ละประดับดวยลกู มะหวด 7 ตน

8 3. สระน้ำภายใน ระเบียงคดชน้ั ในถกู ลอ มรอบดวยสระนำ้ รูปมมุ ฉากกวางประมาณ 15 เมตร เวน ชว งกลางของแตละดานดว ยทางเดินกวาง 10 เมตร ท่ีเขาสูโคปรุ ะช้นั ใน ทำใหแบงเปนสระอยู ตรงมุม 4 สระ ขอบสระชน้ั บนทำดวยศิลาทรายเปนรูปลำตัวนาค ซ่ึงสวนหัวย่ืนออกหรือหันเขา สู สวนมมุ

9 4. กำแพงแกว ชน้ั นอกเปน กำแพงศลิ าแลงทีม่ ีการประดับสว นกำแพงสงู 3.75 เมตร ลอ มรอบ กลมุ อาคารภายในเปนผังรูปสเี่ หลยี่ มจัตุรสั ตรงสวนกลางแตล ะดานเปนที่ต้ังของโคปุระขนาดใหญ สรางดวยศิลาทราย มปี ระตุทางเขา 3 ประตู ทางเขา ตรงกลางผานหอ งซ่ึงเปน รูปกากบาท จากการ ท่ีมุขยนื่ ออกมาทัง้ สองดา น ขณะทห่ี องดา นขา งทีย่ งั คงติดตอ ไดกบั หอ งกลางไดก ลายเปนทางเขา รอง โดยท่สี ว นประตูไมม ีมขุ ยืน่ ตวั อาคารไดรบั การออกแบบในสดั สวนทีใ่ หญโ ตดว ยความประณตี ท้งั ในฝมือการกอสราง แตยังไมเ สร็จสมบูรณ เชน สวนหลังคาซึง่ เร่ิมทำ เพียงบางสว น การประดับ ประดากย็ งั คงคางไมเสร็จหรือแมแตย งั ไมไ ดโกลนขน้ึ รปู ในบางจดุ รูปดา นตะวันออกของกำแพงแกว ทศิ ตะวันออกเหมอื นรูปแบบปกติ พื้นที่ทางดานหนาลดระดับลง ไปทำเปน ฐานท่ีมีลวดบัวและบันไดทางข้นึ สวนมุขยื่นดานนอกของโคปุระดา นน้พี ังทลายลงหมด แตเราอาจสามารถพบทางเดินปพู ้ืนหิน ประกอบเสานางเรียงตอยาวไปทางดา นหนา”

10 พุทธศักราช 2472 เรม่ิ มีการสำรวจโดยเจาหนาชัน้ สูงของไทย คอื สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ เสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรปราสาทเมืองตำ่ ในคราวเสด็จตรวจโบราณวัตถุ สถานในมณฑลราชสีมา พทุ ธศักราช 2478 กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบยี นโบราณสถานปราสาทเมืองตำ่ และ ประกาศกำหนดขอบเขตโบราณสถานเมอ่ื ป พทุ ธศกั ราช 2541 พทุ ธศกั ราช 2530- 2539 กรมศิลปากรดำเนินการขุดแตงและบูรณะปราสาทเมอื งตำ่ ดวย วิธอี นสั ติโลซิส พรอมทั้งปรบั ปรุงสภาพภูมิทัศนและกอ สรางส่งิ อำนวยความสะดวกจนเสรจ็ สมบรู ณ พุทธศักราช 2540 กรมศิลปากรไดกราบทลู เชญิ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า สยามบรมราช กมุ ารีเสดจ็ พระราชดำเนนิ ทรงเปดปราสาทเมืองต่ำอยางเปนทางการเมอื่ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2540 เน่ืองในมหามงคลสมัยแหงปก าญจนาภเิ ษก ฉลองสิรริ าชสมบตั คิ รบ 50 ป พทุ ธศักราช 2539 แหงพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ภูมพิ ลอดุลยเดช การอนรุ ักษป ราสาทเมืองต่ำ กรมศลิ ปากรไดประกาศขึน้ ทะเบยี นโบราณสถานปราสาทเมอื งตำ่ ตั้งแต พทุ ธศักราช ๒๔๘๗ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาเลม ท่ี 23 ตอนท่ี 75 ลงวนั ท่ี 8 มีนาคม 2578 และไดจ ดั ทำ โครงการบรู ณะและปรบั ปรงุ ภมู ิทศั นเ พอ่ื ใหโบราณสถานกลับคนื สสู ภาพเดมิ ใหมากท่สี ดุ เทาท่ีจะ ทำได เพอ่ื ประโยชนในการอนรุ ักษใ หคงอยเู ปนมรดกตกทอดสูคนรนุ ตอๆ ไปและเปดใหเ ปนแหลง ทศั นศึกษา โดยเร่ิมจากการขุดแตงหาหลักฐานเมอ่ื พุทธศกั ราช 2531 และ 2532 รวมทงั้ การขดุ ตรวจทางโบราณคดี

11 หลงั จากนน้ั จงึ เริ่มทำการบูรณะใน พุทธศักราช 2533 โดยใชวธิ อี นสั ติโลซสี สำหรับ โบราณสถานทส่ี รางดวยหิน สว นปราสาทอิฐไมสามารถร้อื ออกประกอบใหมไ ดเ ชน ทที่ ำกบั หนิ จึง ทำการบรู ณะเสริมความมั่นคงเทา ที่สามารถทำได เชน ร้อื ฐานศลิ าแลงสวนทท่ี รุดออกแลว หลอ คอนกรตี เสริมสวนฐานที่ทรดุ เอยี งแลว เรียงศิลาแลงกลับเขาที่เดมิ สวนท่ชี ำรุดไมม ากก็ใชวิธรี ้ือ ออกแลว เรียงใหมใหเขา มุมเขา ฉากตามรปู เดมิ อฐิ ที่ผุและเลื่อนออกกร็ ื้อเฉพาะสว นมาทำความ สะอาดแลวจึงเรยี งกลบั เขาไปใหม พรอ มท้งั ใชอิฐใหมเสริมในสว นที่จำเปน เสรมิ ความแขง็ แรงให โครงสรา งโดยเสริมคานคอนกรีต สวนบนของปราสาททพี่ งั ทลายเกิดเปนชองโหว ใชแผน คอนกรตี ปด ทับแลวเรยี งอฐิ ปด อกี ช้ันหนงึ่ สวนฐานและองคป ราสาทท่มี รี อยแตกแยกทำการเจาะเยบ็ ซอม รอยแยก ทับหลังทีร่ ว งหลนลงมายกขนึ้ กลบั ไปติดตง้ั ท่เี ดมิ โดยหลอ คานคอนกรีตรับนำ้ หนัก และ สกดั หนิ เปน เสาแปดเหลย่ี มรองรบั ทับหลังในกรณที ไี่ มม ีเสาเดิมเหลอื อยู สว นอาคารทีส่ รา งดวยหนิ ทรายทำการบูรณะโดยวธิ อี นสั ติโลซสิ (Anastylosis) คอื รอื้ ถอด ช้นิ สวนของเดมิ ลงมาจนถึงฐานรากโดยเขยี นรหัสกำกับไวทกุ กอน รวมทั้งลงไวใ นแผนผงั ชิน้ สวนที่ พังลงมาแลว กท็ ำเชน เดียวกนั เพือ่ จะไดน ำกลับมาเรยี งไวใ นทเ่ี ดิมไดอ ยางถูกตอง จากนนั้ เสรมิ ความแขง็ แรงของฐานรากโดยบดอัดดินฐานรากเสียใหมแลวเสริมดวยคอนกรีตเสรมิ เหล็ก เสร็จ แลว นำชิน้ สวนกลับมาเรียงประกอบเขาที่เดิมตามลักษณะและรูปแบบเดมิ การบรู ณะรวมทงั้ ปรบั ปรุงภูมทิ ัศนปราสาทเมืองต่ำแลวเสร็จใน พุทธศกั ราช 2539 และไดทำ พิธเี ปดอยา งเปน ทางการโดยสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ มาทรงเปน ประธานในวนั ที่ 10 ตลุ าคม 2540 ศมิ ปราสาทเมืองตำ่ เปนศาสนสถานในศาสนาฮนิ ดู ท่ีมีลกั ษณะทางสถาปตยกรรมอนั ทรงคุณคา เปน อยางสงู กอ สรางดว ยวสั ดุ 3 ชนิด คอื อิฐ ศิลาแลง และหนิ ทราย มแี ผนผังเปนรูป

12 สเี่ หลี่ยมผืนผาขนาดใหญก วา งประมาณ 120 เมตร ยาวประมาณ 127 เมตร หันหนา ไปทางทศิ ตะวันออกประกอบดว ยอาคารสถาปตยกรรมตา งๆ ดังน้ี คือ 1. กำแพงแกว และซมุ ประตู 2. สระน้ำ 3. ระเบียงคดและซุม ประตู 4. บรรณาลัย 5. ปราสาทอฐิ 5 องค 6. บาราย (ทะเลเมอื งตำ่ )

13 ปราสามพนมรุง ประวตั ทิ ี่มาและความสำคัญ อุทยานประวัติศาสตรพ นมรงุ ปราสาทพนมรุง เปนโบราณสถานทต่ี ง้ั อยบู นเขาพนมรุง ในเขตอำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ จังหวดั บุรรี มั ย สรา งขึ้นโดยมรี ูปแบบศิลปะเขมรโบราณท่ีมีความงดงามมากทส่ี ุดแหงหนง่ึ ในประเทศไทย ความงดงามและความยง่ิ ใหญข องปราสาทแหง น้ี ปรากฏใหเ หน็ จากรูปแบบของงานสถาปต ยกรรม ประตมิ ากรรม ภาพสลกั การเลือกทำเลทีต่ ง้ั บนยอดเขาซงึ่ มีแผนผงั ตามแนวแกนท่ีมีองคประกอบ ของสงิ่ กอสรางตางๆ เรยี งตัวกันเปนแนวเสน ตรงพุงเขา หาจุดศนู ยกลาง คือ ปราสาทประธาน ปราสาทพนมรงุ เปนทรี่ จู กั ของชาวทอ งถ่นิ เปนอยางดี โดยมีนิทานพ้ืนบา นเรอ่ื ง “อินทรปรัส ถา” กลา วถึงคูพ ระคนู างซดั เซพเนจรมาพบที่พกั พงิ ซึ่งเปน ปราสาทหินรกรางงดงามอยกู ลางปาเขา แตส ำหรบั บุคคลภายนอก ปราสาทแหง นีเ้ ปน ท่รี จู กั ครั้งแรกจากบันทกึ ของนายเอเตยี น เอมอนิเยร (Etienne Aymonier) ชาวฝรั่งเศส ในปพ ทุ ธศักราช 2428 ตพี มิ พเปน บทความในป พทุ ธศกั ราช 2445 ปพ ุทธศักราช 2449 สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสด็จมาที่ปราสาทพนมรงุ คราว เสด็จมณฑลอสี าน และเสด็จอีกคร้ังในป พทุ ธศักราช 2472 กรมศิลปากรไดประกาศข้นึ ทะเบยี น ปราสาทพนมรงุ เปน โบราณสถานของชาติ ในราชกิจจานเุ บกษา เลม 52 ตอนที่ 75 วนั ท่ี 8 มีนาคม พทุ ธศกั ราช 2478

14 และปพุทธศักราช 2503 – 2504 ไดด ำเนนิ การสำรวจปราสาทพนมรงุ อีกครง้ั ตอ มาในป พทุ ธศกั ราช 2514 ไดเ ร่ิมดำเนินการบูรณะปราสาทพนมรุง ดวยวิธี “อนัสติโลซสิ ” (Anastylosis คือการนำช้นิ สวนของปราสาทกลบั เขาสูตำแหนงเดิม) และเปดเปนอุทยานประวตั ิศาสตรพนมรุง ในวนั ท่ี 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 โดยสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ พระราชดำเนินเปนองคป ระธาน ช่ือของปราสาทพนมรงุ เปนชือ่ ด้งั เดิมของโบราณสถานแหงน้ี คำวา พนมรุง ปรากฏอยใู นศิลา จารึกพนมรงุ หลกั ที่ 2 หลกั ท่ี 4 และ K.1090 จารึกวา พนมรุงเปนชื่อเทวสถานท่ีมขี อบเขต กวา งขวาง มีท่ีดิน หมูบาน เมอื ง ซง่ึ มีผปู กครองหรือขา ราชการไดจัดหามาถวายในลกั ษณะเปน กลั ปนาของเทวสถาน จากหลกั ฐานทางดานศิลาจารกึ และงานศิลปกรรมท่ีปรากฏ กลาวไดวา ปราสาทพนมรงุ สราง ข้นึ ในศาสนาฮินดู ลทั ธิไศวนิกาย นกิ ายปศปุ ตะ โดยนับถอื พระศิวะเปนเทพสูงสดุ ศิลาจารึกพนม รุง หลกั ท่ี 7 และหลกั ท่ี 9 มีเนื้อความเรมิ่ ตนเปน บทสรรเสรญิ พระศิวะ ศิลาจารกึ บางหลักกลาวถงึ การสรา งศิวลึงค สรางรูปทองคำของพระศวิ ะในทา ฟอ นรำ สรา งรูปทองคำของพระวษิ ณุข้ึนใน เรอื นของพระศิวะ ปราสาทแหงนี้ สรางขนึ้ เพื่อเปน เทวาลยั ทป่ี ระทับของพระศวิ ะ พระองคม ที ่ปี ระทบั อยูบนเขา ไกรลาส ดงั นั้นการสรางปราสาทแหงนีข้ ้นึ บนยอดเขา จึงเปน การสะทอ นถึงการจำลองที่ประทบั ของพระศวิ ะมาไวบ นโลกมนุษย อาคารสง่ิ กอ สรา งตา งๆ ของปราสาทพนมรงุ ไมไดสรา งขึ้นมาพรอมกนั ทั้งหมดในคราวเดยี วกนั ในชว งแรกไดมีการสรางศาสนสถานเพอ่ื เปน ศนู ยก ลางทางความเช่อื การนบั ถือศาสนาของชมุ ชน ข้นึ ครง้ั แรกในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 15 ไดแ ก ปราสาทอฐิ 2 หลงั ที่ปจ จุบนั อยใู นสภาพพงั ทลาย เหลือเพียงฐานและกรอบประตู หลังจากนั้นไดมีการกอสรา งตอ เนื่องกนั มาเปนลำดับ โดย อาณาจักรเขมรโบราณ หรือผนู ำท่ปี กครองชมุ ชน อันมปี ราสาทพนมรงุ เปน ศนู ยกลาง

15 ปราสาทพนมรุง คงมคี วามสำคัญสืบเน่ืองมาจนถึงสมยั พระเจา ชัยวรมันที่ 5 (พทุ ธศักราช 1511 - 1544) พระองคท รงนับถือศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนกิ าย เชน เดียวกบั พระราชบิดา (พระ เจาราเชนทรวรมันท่ี 2) นอกจากจะมีพระราชโองการใหสรา งจารึกเพื่อสรรเสริญเกยี รติคณุ ของ พระราชบดิ าแลว ยังทรงถวายทดี่ ินใหก ับเทวสถานดว ย ในสมัยนี้เองเทวสถานบนเขาพนมรงุ เปน ศนู ยกลางของชุมชนโดยรอบอยางแทจรงิ จากขอความในจารึกท่พี บทป่ี ราสาทพนมรงุ แสดงใหเ หน็ วาเทวสถานบนเขาพนมรงุ เปน ทีป่ ระดิษฐานรปู เคารพ คือ ศิวลึงค มีอาณาเขตกวา งขวาง มีทีด่ นิ ซงึ่ พระเจาแผนดนิ (พระเจา ชยั วรมนั ท่ี 5) และขาราชการระดบั ตาง ๆ ถวายหรอื ซ้อื ถวายใหก บั เทวสถาน พรอมกบั มีพระราชโองการใหปกหลักเขตทด่ี ินขึ้นกับเทวสถานเขาพนมรุง พรอ มกับการ สรางเมือง สรางอาศรมใหกบั โยคี และนกั พรตดวย ในราวพุทธศตวรรษที่ 17 ไดม กี ารกอสรา งปราสาทประธานขึน้ จากการศึกษาศลิ าจารึกพนม รุงหลักที่ 7 และหลกั ที่ 9 กลาววาปราสาทประธานสรา งข้ึนในสมัย “นเรนทราทติ ย” ทานเปน โอรสของพระนางภูปตนี ทรลักษมี เปนผูมสี ติปญญาหลักแหลม มีความสามารถในการรบ ไดเขา รวมกับกองทพั ของพระเจาสุริยวรมนั ที่ 2 ในการรวบรวมแผนดนิ ใหเ ปนปก แผน จากศึกสงคราม นเรนทราทติ ยคงไดรับความดคี วามชอบเปน ทไ่ี วว างพระราชหฤทัย ไดรบั การแตงตัง้ เปนผูป กครอง เมือง ซง่ึ อยูภายใตอ ำนาจของราชวงศม หิธรปรุ ะ ทรงไดด ำเนนิ การสรา งปราสาทหลังใหญขน้ึ ประดษิ ฐานรูปเคารพ สรา งงานศิลปกรรมปรากฎเปนงานสลกั ตามสวนตา งๆ ทลี่ วนแตแสดงให เห็นวา มคี วามประสงคทจ่ี ะสรางเทวสถานแหงนี้เปนเทวาลัยของพระศิวะ มศี ิวลึงคเปน องค ประธานและยังมีการนบั ถือเทพองคอนื่ ๆ แตอยใู นสถานะเทพชนั้ รอง นอกจากน้ขี อความที่ปรากฏ

16 ขึ้นในจารกึ ยังแสดงใหเหน็ วา นเรนทราทิตย ไดสรา งปราสาทแหง นเ้ี พอ่ื ประดษิ ฐานรูปเคารพของ ตนเอง เพ่ือเตรยี มไวส ำหรับการเขา ไปรวมกบั เทพท่ที รงนบั ถอื หลังจากส้นิ พระชนม ความเลอื่ มใส ศรัทธาอันแรงกลาตอ ศาสนา ทำใหท านออกบรรพชาถือองคเ ปน นักพรตจวบจนวาระสุดทา ย ขอความทป่ี รากฏในจารึกพนมรุง ทำใหส ันนษิ ฐานไดว า ทา นคงเปน นกั พรตในลทั ธไิ ศวนิกาย ตาม แบบนิกายปศปุ ตะท่มี กี ารนบั ถอื กนั มาแลว แตเ ดิม โอรสของนเรนทราทิตย คือ หิรัณยะ เปนผูให จารึกเรอื่ งราวเพ่อื สรรเสริญเกียรติคณุ ของพระบดิ า และไดใ หช างหลอรูปของนเรนทราทติ ยดว ย ทองคำ ส่งิ กอสรางสมัยสดุ ทาย คือ บรรณาลยั และพลับพลา ซึ่งมกี ารกอ สรางเพม่ิ เติมซอมแซมขึน้ ใน สมยั ของพระเจาชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ. 1724 - 1763) มหาราชองคส ุดทา ยแหงราชอาณาจักรเขมร พระองคท รงนบั ถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ทรงโปรดใหส รางอโรคยศาล จำนวน 102 แหง และทพ่ี กั คนเดนิ ทาง หรือธรรมศาลา จำนวน ๑๒๑ แหง ขึน้ ในดินแดนทีอ่ ยภู ายใตการปกครองของ พระองค ตามขอความทีป่ รากฏในจารกึ ปราสาทตาพรหม และจารกึ ปราสาทพระขรรคต ามลำดับ โบราณสถานดงั กลาวนี้ ทอ่ี ยูใกลเคียงปราสาทพนมรุง ไดแก กุฏิษโี คกเมอื ง และกฏุ ิษีหนองบวั ราย ซ่งึ เปนอโรคยศาล และปราสาทบานบุ เปนทพี่ กั คนเดนิ ทางหรอื ธรรมศาลา

17 ๑. การศึกษาปราสาทปลายบดั ปราสาทเมืองดาและปราสาทพนมรุง ในการศกึ ษาศลิ ปะขอมในประเทศไทยไดใชก ารเรียกชือ่ ศลิ ปะอยา งเดียวกบั ศิลปะขอมใน ประเทศกมั พชู า เปน หลกั ซง่ึ ในการกำหนดอายขุ องปราสาทขอมน้ันไดแบงออกเปน ๒ สมยั ใหญ ๆ ไดแก สมยั กอนเมืองพระนคร (พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๔) และสมัยเมืองพระนคร (พุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๖) และแบงออกเปนสมยั ยอยเรียกเปน ชอื่ ศิลปะแบบตา งๆรวม ๑๒ แบบดังน้ี สมัยกอนเมืองพระนคร ๑. ศิลปะแบบพนมดา ราว พ.ศ. ๑๑๐๐ ๑๑๕๐ ๒. ศิลปะแบบสมโบไพรกุก ราว พ.ศ. ๑๑๕๐-๑๒๐๐ ๓. ศิลปะบบไพรกเมง ราว พ.ศ. ๑๑๘๐-๑๒๕๐ ๔. ศิลปะแบบกำพงพระ ราว พ.ศ. ๑๒๕๐-๑๓๕๐ ๕. ศลิ ปะแบบกเุ ลน ราว พ.ศ. ๑๓๗๐-๑๔๒๐ ๖. ศิลปะแบบพระโค ราว พ.ศ. ๑๔๒๐-๑๔๔๐ ๗. ศลิ ปะแบบบางแคง็ ราว พ.ศ. ๑๔๔๐-๑๔๗๐ ๘. ศิลปะแบบเกาะแกร ราว พ.ศ. ๑๔๖๕-๑๔๙๐ ๙. ศลิ ปะแบบแปรรูป ราว พ.ศ. ๑๔๙๐-๑๕๑๐ ๑๐. ศิลปะแบบบันทายสรี ราว พ.ศ. ๑๕๑๐-๑๕๕๐ ๑๑. ศิลปะแบบคลงั (หรือเกลยี ง) ราว พ.ศ. ๑๕๕๐-๑๕๖๐ ๑๒ ศิลปะบบบาปวน ราว พ.ศ. ๑๕๖๐-๑๖๓๐ ในชวงระยะเวลาตรงกับศิลปะขอมแบบคลงั -บาปวนและแบบนครวัดไดพบปราสาทขอมใน ประเทศไทยหลายแหงเชน ปราสาทพนมวันและปราสาทหินพมิ ายทจี่ งั หวัดนครราชสมี าปราสาทคู สวน แตงปราสาทพนมรงุ และปราสาทเมอื งตำ่ ท่ีจงั หวัดบรุ รี มั ยปราสาทตาเมือน ธ มปราสาทบา น พลวงและ ปราสาทศีขรภูมทิ จ่ี ังหวัดสุรนิ ทรปราสาทสระกำแพงใหญจ งั หวดั ศรีสะเกษปราสาทกา สงิ หจ ังหวัด รอ ยเอด็ ปราสาทสตอ็ กก็อก ธ มทีจ่ งั หวัดสระแกว รูปแบบและแผนผงั ของปราสาทในชว งระยะเวลา นีม้ ี ระเบียบแบบแผนเดียวกับปราสาทในกมั พชู าสมัยเมอื งพระนครและเปนศาสนสถานขนาดใหญ ทจ่ี ัดเปนศาสนสถานประจำเมืองมโี ครงสรางท่ีสำคัญคอื ปราสาทประธานทอี่ ยูต รงกลางอาจมีหลงั

18 เดยี ว เชนปราสาทหนิ พิมายปราสาทพนมรุงหรอื เปน หมู ๓ หลัง ๕ หลังหรอื ๖ หลังเชนปราสาท เมอื งตำ่ ๒. ดา นสังคมปราสาทปลายบัดปราสาทเมืองต่ำและปราสาทพนมรุง สังคมยอมตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั นน้ั มรี ปู แบบตามยุคสมัยตางๆดงั นี้ปราสาทเขมร หรือ ปราสาทขอมเปน ศาสนสถานในศาสนาพราหมณทส่ี รางขึน้ โดยอาณาจกั รเขมรต้ังแตพทุ ธ ศตวรรษ ที่ ๑๒ ในสมัยพระเจาชยั วรมันที่ ๒ เปนตนมาพบมากในประเทศกัมพชู าและในเขต อีสานใตของ ประเทศไทยปราสาทขอมกอ สรางดวยวสั ดอุ ิฐหนิ ทรายและศลิ าแลงดว ยศิลปะ เขมรในประเทศ ไทยมีปราสาทขอมในท่ีราบสูงอสี านทั้งส้นิ ๑๕๕ แหง ไดแก จังหวัด นครราชสมี าจำนวน ๓๗ แหงแลวจงั หวดั บรุ รี มั ยอกี ๕๐ แหง จังหวัดสุรินทรม ีอยจู ำนวน ๓๑ แหง จังหวัดชยั ภมู ิ ๕ แหงจังหวัดรอ ยเอ็ด ๓๔ แหงจังหวดั ศรสี ะเกษแหง และจังหวัด อุบลราชธานีอีก ๕ แหง สว นมากมกั ถูกทำลายเหลือเพยี งบางสวนปราสาทขอม ๓ตอ มาในป พ.ศ. ๑๓๕๐ ชัยวรมนั ท่ี ๒ ไดยกทพั ขึ้นมาประกาศเอกราชจากอาณาจักร ขวาและยงั รวมอาณาจกั รเจนหาบกและเงนิ ทานทีแ่ ตกแยกเขา ดว ยกันสรางความเปน ปกแผน ใหกับอาณาจักร เขมรใหมแ ละขนานนามใหมวาเมอื งกัมโพชนตะวันออกโดยแยกมาจาก อาณาจกั รไทยหรือละไว หรือปจจบุ นั เรยี กวา ลพบรุ ีพระเจา ชัยวรมันท่ี ๒ ทรงตงั้ ราชธานขี องเมอื งกัมโพชนในบรเิ วณทาง เหนอื ของทะเลสาบเขมรพระองคท รงขยายพระราชอำนาจเขา ไป ถงึ บริเวณลมุ แมน ้ำบรเิ วณอีสาน ใตข องประเทศไทยในจังหวดั นครราชสมี าชัยภมู ิบรุ ีรัมยส ุรนิ ทรและศรสี ะเกษ ๓. ดานเศรษฐกจิ ปราสาทปลายบัด ปราสาทเมืองต่ำ และปราสาทพนมรุง ลัทธิเทวราชาหรือระบบเทวราชาตางจากลัทธิไศวนกิ ายแลไว ณ พนิกายคอื กอนหนา นนั้ กษัตริย เปนเพียงมนุษยท นี่ บั ถือเทพเจา แตท ธริ าชานั้นถือวากษตั ริยเปน อนั หนง่ึ อันเดยี วกับ เทพเจา คอื เทพเจา แบงภาคลงมาจุตเิ ปน กษตั ริยนน่ั เองเม่อื กษัตรยิ เ สวยราชยแ ลว ตอ งกระทํา ๓ ส่งิ คือขดุ สระ ชลประทานหรอื ท่เี รียกวาบารายซงึ่ เปนสาเหตหุ นง่ึ ทที่ ำใหเขมรมคี วามยิง่ ใหญ เพราะเน่ืองจาก เขมรกไ็ มนยิ มตงั้ ถนิ่ ฐานใกลแมน ำ้ เทา ใดนักท่ีเมอื งพระนครมบี ารายขนาดใหญ หลายบารายเชน นา รายอนิ ทรฎกะกษัตริยตองสรา งศาสนสถานบนฐานเตี้ย ๆ อุทิศถวายบรรพ บรุ ุษหรือปราสาทสราง บนฐานเต้ยี ๆ เพียงช้ันเดียวเชน ปราสาทพะโตท่พี ระเจา อินทรวรมนั ที่ ๑ สรางขนึ้ เพ่อื อุทศิ ใหก ับ บรรพบรุ ุษของพระองคตองสรา งศาสนสถานบนฐานเปนชัน้ หรือ ปราสาทแบบยกฐานเปนชั้นสงู

19 หลายช้นั เพ่อื เปน ทีส่ ถิตของเทพเจาหากเปนศาสนาพราหมณ ลทั ธไิ ศวนิกายจะประดษิ ฐานศวิ ลงึ ค ของสัญลกั ษณแ หง องคพระอิศวรหรอื ศาสนาพราหมณ ลัทธโิ วษ ณ พนิกายจะประดิษฐานเทวรู ปพระวิษณแุ ละมคี วามเชื่อวา เมื่อกษัตริยส้ินพระชนม วิญญาณของพระองคจ ะไปเสด็จรวมกับเทพ เจา ทปี่ ราสาททพ่ี ระองคส รา งไวนัน่ เองเชน พระเจา สุรยิ วรมนั ท่ี ๒ ทรงสรา งปราสาทนครวดั อทุ ิศ ถวายแดอ งคพระวษิ ณุเมือ่ พระองคส ิ้นพระชนมมี พระนามวาบรมพษิ ณโุ ลก ๔. ดานการเมอื งปราสาทปลายบัด ปราสาทเมืองต่ำ และปราสาทพนมรุง ประเพณีทก่ี ษตั รยิ เขมรทุกพระองคจะตอ งสรางปราสาทอยางนอยท่สี ุด ๒ หลังสว น รปู แบบของปราสาทขอมนัน้ กพ็ ฒั นารปู แบบมาจากศาสนสถานในประเทศอนิ เดียท่เี รียกกันวา ศขิ รเปนศาสนสถานของศิลปะอินเดยี ในภาคเหนอื และวิมานเปนศาสนาสถานของอินเดยี ภาคใต นอกจากน้ีกย็ ังไดร ับอทิ ธิพลของจนั ทศิ าสนาสถานในศลิ ปะชวาเมือ่ คร้ังทอ่ี าณาจักรเจนพาตกเปน เมอื งข้นึ ของอาณาจักรทวาดว ยปจจยั ท้ังหมดนจ้ี งึ กอ ใหเกดิ รปู แบบงานศิลปกรรมเขมรทเ่ี รยี กกนั วา ปราสาทขอมหรือศาสนสถานในศาสนาพราหมณทมี่ คี วามสวยงามและ คณุ คาทางประวตั ศิ าสตรและโบราณคดเี ปน อยางยิ่งและเน่ืองดวยปราสาทขอมเหลา น้ีสรา ง ดว ย วสั ดทุ เี่ ปนอฐิ ศิลาทรายและศิลาแลงซงึ่ เปน ถาวรวตั ถุจึงทำใหมีความคงทนจนถึงในปจจบุ นั แตวา ปราสาทเขมรกม็ ไิ ดมเี พียงในเขตแดนของประเทศกมั พูชาเทานั้นในบรเิ วณของประเทศ ตามและ ประเทศไทยซ่งึ มปี ระมาทเขมรอยูมากมายเชนกันเน่ืองจากในบางชว งอาณาจักรเขมรมีความ เขม แข็งทำใหสามารถขยายอำนาจและดินแดนไดอ ยา งกวางขวางดวยเหตนุ ี้จงึ มปี ราสาททถ่ี ูกสราง ขึน้ ในดินแดนของประเทศอ่ืน ๆ ดวย ๕. สรุปทา ยบทกจิ กรรมจากประวตั ศิ าสตรอารยธรรมขอม-ทวารวดอี ีสานใต ในครัง้ น้ไี ดศกึ ษาประวัติความเปนมาและสถานท่ีและเศรษฐศาสตรในมุมมอง ๔ ดา น คือ การศึกษาสังคมเศรษฐกิจและการเมืองปราสาทเขมรหรือปราสาทขอมเปน ศาสนสถานใน ศาสนา พราหมณท สี่ รางขึน้ โดยอาณาจกั รเขมรต้งั แตพ ทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ ในสมัยพระเจาชัยวร มันท่ี ๒ เปน ตน มาพบมากในประเทศกัมพูชาและในเขตอีสานใตของประเทศไทยปราสาทจอม กอสรางดว ย วสั ดอุ ิฐหินทรายและศลิ าแลงดวยศิลปะเขมรในประเทศไทยมปี ราสาทขอมในท่ี ราบสงู อีสานทัง้ สนิ้ ๑๕๕ แหง ไดแ ก จงั หวดั นครราชสีมาจำนวน ๑๗ แหง แลว จังหวดั บุรรี มั ย อีก ๕๐ แหง จังหวัด สรุ นิ ทรม ีอยูจำนวน ๓๑ แหง จงั หวดั ชยั ภมู ิ ๕ แหงจังหวดั รอยเอ็ด ๑๔ แหง จังหวัดศรีสะเดแหงและ จงั หวัดอุบลราชธานอี ีก ๕ แหงสวนมากมกั ถูกทำลายเหลือเพียง บางสวน

20 บรรณานุกรม สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชนโดยพระราชประสงคในพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั เลม ท่ี ๓๐ www http://www.saranukromthat.or.th/sub/book/book.php?book=๒๐%chap ๓๒ page = chap๒.htm ปราสาทขอม สบื คนเม่ือ: วันที่ 28 กนั ยายน ๒๕๖๕ www.saranukromthal.or.th สืบคน เมอ่ื : วันท่ี 28 กันยายน ๒๕๖๕ https://th.wikipedia.org/wiki/%E๐% BB% ๙๗๙๖E ๐๙๖ B๘% ๘๒% E๐% B๘% AD% E๐% B๘% A๑

21 ภาคผนวก

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32