Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1004010_example

1004010_example

Published by Wanniya Boondet, 2018-10-10 02:14:35

Description: 1004010_example

Search

Read the Text Version

1 หนงั สือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย ม. ๔ เลม ๒ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี ๔ กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ผูเรยี บเรยี ง เสนยี  วลิ าวรรณ อ.บ., ค.บ., M.A. สรุ ะ ดามาพงษ กศ.บ., กศ.ม. ทัศนีย ลวนสละ ศศ.บ. ผตู รวจ แสงเดอื น ประพนั ธ กศ.บ., ศษ.ม. โสภณ นิไชยโยค ศศ.บ., ศศ.ม. นันทวัลย ศรปี ญ จพร ศศบ., ศศ.ม. บรรณาธิการ ปท มา ดาํ ประสทิ ธ์ิ ศศ.บ., ศศ.ม. ทพิ ยโชค ไชยวิศิษฎก ลุ กศ.บ., ศศ.ม. สุมาลี มปี ลอด ศศ.บ. (เกียรตินิยม) ผลติ และจัดจำหนายโดย บริษทั สำนกั พมิ พวัฒนาพานชิ จำกดั วฒนาพานิช สำราญราษฎร ๒๑๖–๒๒๐ ถนนบำรุงเมือง แขวงสำราญราษฎร เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร. ๐๒ ๒๒๒ ๙๓๙๔ • ๐๒ ๒๒๒ ๕๓๗๑–๒ FAX ๐๒ ๒๒๕ ๖๕๕๖ • ๐๒ ๒๒๕ ๖๕๕๗ email: [email protected]

2หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ม.๔ เลม ๒วรรณคดีและวรรณกรรมชัน้ มัธยมศึกษาปท่ ี ๔กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทยตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑B สงวนลิขสทิ ธ์ิตามกฎหมาย หามละเมิด ทำซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร สว นหนึง่ สวนใด เวน แตจ ะไดรับอนญุ าตผเู้ รยี บเรียง เสนีย์ วลิ าวรรณ สุระ ดามาพงษ์ ทศั นีย์ ลว้ นสละผู้ตรวจ แสงเดอื น ประพนั ธ์ โสภณ นิไชยโยค นนั ทวลั ย์ ศรีปัญจพรบรรณาธิการ ปัทมา ดำประสิทธิ์ ทพิ ย์โชค ไชยวิศิษฎก์ ุล สมุ าลี มปี ลอดISBN 978-974-18-5930-6พิมพ์ที ่ บรษิ ัท โรงพมิ พ์วัฒนาพานิช จำ กัด นายเริงชยั จงพพิ ฒั นสขุ กรรมการผู้จดั การ

3 คานา หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ช้ันมัธยมศึกษาปที่๔–๖ ชุดนี้จดั ทา� ขน้ึ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มเี ปา หมายให้นักเรียนและครูใช้เป็นส่ือในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้วี ัดช่วงชนั้ และสาระการเรียนร้แู กนกลางท่หี ลกั สตู รก�าหนด พัฒนานักเรยี นให้มีสมรรถนะส�าคัญท้งั ด้านการสือ่ สาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกั ษะชวี ติ และการใชเ้ ทคโนโลยีตลอดจนพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมไทยและสังคมโลกไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในการจัดท�าหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ชุดน้ีคณะผจู้ ดั ทา� ซงึ่ เปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญในสาขาวชิ าและการพฒั นาสอื่ การเรยี นรไู้ ดศ้ กึ ษาหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อย่างลึกซ้ึง ท้ังด้านวิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมายสมรรถนะส�าคญั ของนกั เรยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัดช่วงช้ัน สาระการเรียนรู้แกนกลาง แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้แล้วจึงน�าองค์ความรู้ท่ีได้มาออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ซ่ึงองค์ประกอบต่าง ๆ ในแต่ละหน่วยการเรยี นร้จู ะช่วยสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นเกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งครบถว้ นตามหลักสูตร การเสนอเน้ือหา กิจกรรม และองค์ประกอบอ่ืน ๆ ในหนังสือเรียนชุดน้ีมุ่งเน้นผู้เรียนเปน็ สา� คญั โดยคา� นงึ ถงึ ศกั ยภาพของนกั เรยี น เนน้ การเรยี นรแู้ บบองคร์ วมบนพนื้ ฐานของการบรู ณาการแนวคิดทางการเรียนรู้อย่างหลากหลาย จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เน้นให้นักเรียนสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง มงุ่ พฒั นาการคดิ และพฒั นาการเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั พฒั นาการทางสมองของนักเรียน อันจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างสมบูรณ์และสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจ�าวันได้ จงึ หวงั เป็นอย่างย่ิงว่า หนังสอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรมชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔–๖ ชุดน้ีจะสนับสนุนให้นักเรียนได้พัฒนาการเรียนรู้ด้านภาษาไทยได้เป็นอยา่ งดี คณะผจู้ ดั ท�า

4 คาชแ้ี จง หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔–๖ไดอ้ อกแบบเป็นหน่วยการเรียนรู้ แต่ละหนว่ ยการเรยี นรูป้ ระกอบด้วย ๑. ตัวชี้วัดช่วงช้ัน เป็นเปาหมายในการพัฒนานักเรียนแต่ละช่วงช้ัน ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ มีรหัสท่ีของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดช่วงชั้นก�ากับไว้หลังตัวชี้วัดช่วงช้ัน เช่นท ๑.๑ ม. ๔–๖/๒ (รหัสแต่ละตัวมีความหมาย ดังนี้ ท คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๑.๑ คือสาระที่ ๑ การอา่ น มาตรฐานการเรยี นรขู้ อ้ ท่ี ๑ ม. ๔–๖/๒ คอื ตวั ชวี้ ดั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๔–๖ ขอ้ ที่ ๒) ๒. ผังมโนทศั นส์ าระการเรยี นร ู้ เปน็ การจัดระเบยี บและรวบรวมเนื้อหาแตล่ ะหนว่ ย พรอ้ มแสดงความเชื่อมโยงของเนื้อหาในสาระน้ัน ๆ ไว้ด้วย เพ่ือส่ือให้เกิดความเข้าใจชัดเจนขึ้น นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย เป็นผังมโนทัศน์ที่แสดงขอบข่ายเนื้อหาในแต่ละหน่วยการเรียนรู้โดยมชี ่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ หัวขอ้ หลกั หวั ข้อรอง และหวั ข้อยอ่ ยของเน้อื หาในหนว่ ยการเรยี นร้นู ั้น ๆ ๓. ประโยชน์ของการเรียนรู้ น�าเสนอไว้เพ่ือกระตุ้นให้นักเรียนน�าความรู้และทักษะจากการเรียนไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�าวัน ๔. ชวนคิด ชวนตอบ เป็นค�าถามหรือสถานการณ์ท่ีกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจต้องการทจ่ี ะค้นหาคา� ตอบ ๕. เนื้อหา แบง่ เป็นหวั ขอ้ หลัก หวั ข้อรอง และหัวขอ้ ยอ่ ย ตรงตามตวั ชว้ี ดั ช่วงชัน้ เน้ือหาบางตอนอาจน�าเสนอดว้ ยภาพ แผนภมู ิ และแผนท่ีความคดิ นอกจากนีย้ งั ประกอบดว้ ยสว่ นส�าคญั อ่ืน ๆ ดงั นี้ ๕.๑ ค�าส�าคัญ ระบุค�าส�าคัญที่แทรกอยู่ในเน้ือหาโดยใช้ลักษณะอักษรให้ต่างจากตัวพ้ืนค�าสา� คญั นี้จะใชต้ ัวอกั ษรที่แตกต่างเฉพาะค�าทป่ี รากฏค�าแรกในเน้อื หา ไม่เนน้ คา� ทเ่ี ปน็ หวั ขอ้ ๕.๒ เรื่องน่ารู้/เกร็ดควรรู้ เป็นความรู้เพ่ิมเติมท่ีเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาในหน่วยการเรียนรู้น้ันเพื่อให้นกั เรยี นมีความรู้กว้างขวางข้นึ โดยคดั สรรเฉพาะเรือ่ งท่นี ักเรยี นควรรู้ ๕.๓ แหล่งสืบค้นความรู้/แหล่งสืบค้นข้อมูล เป็นแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ หนังสือสถานท่ี บุคคล เพื่อใหน้ กั เรียนศกึ ษาคน้ คว้าเพมิ่ เติมให้สอดคล้องกบั เร่ืองท่เี รียน ๕.๔ กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นร ู้ เปน็ กจิ กรรมทก่ี า� หนดไวเ้ มอ่ื จบเนอ้ื หาแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้เปน็ กจิ กรรมทห่ี ลากหลาย ใชแ้ นวคดิ ทฤษฎตี า่ ง ๆ ทสี่ อดคลอ้ งกบั เนอ้ื หา เหมาะสมกบั วยั และพฒั นาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียน สะดวกในการปฏิบัติ กระตุ้นให้นักเรียนได้คิด และส่งเสริมให้ศึกษาค้นคว้าเพม่ิ เติม ๖. สรุป ได้จัดท�าบทสรุปไว้เป็นความเรียงหรือบรรยาย เป็นการทบทวนความรู้ หรือการเรียนรู้กวา้ ง ๆ อย่างรวดเรว็ ๗. กจิ กรรมเสนอแนะ เปน็ กจิ กรรมบูรณาการทักษะทีร่ วมหลักการและความคิดรวบยอดในเร่ืองต่าง ๆ ท่ีนักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ไปแลว้ มาประยกุ ต์ในการปฏบิ ัติกจิ กรรม

5 ๘. โครงงาน เป็นข้อเสนอแนะในการก�ำหนดให้นักเรียนปฏิบัติโครงงาน โดยเสนอแนะหัวข้อโครงงานและแนวทางการปฏิบัติโครงงานท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดช่วงชั้นของหนว่ ยการเรียนร้นู ั้น เพื่อพฒั นาทักษะการคิด การวางแผน และการแก้ปัญหาของนักเรยี น ๙. การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เป็นกิจกรรมท่ีเสนอแนะให้นักเรียนได้น�ำความรู้ ทักษะในการประยุกตค์ วามรู้ในหนว่ ยการเรียนรูน้ น้ั ไปใช้ในชวี ติ ประจ�ำวัน ๑๐. คำ� ถามทบทวน เปน็ คำ� ถามเพือ่ ทบทวนผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน ๑๑. ทา้ ยเล่ม ประกอบด้วยบรรณานุกรมและอภธิ านศัพท์ ๑๑.๑ บรรณานุกรม เป็นรายชื่อหนังสือ เอกสาร เว็บไซต์ ท่ีใช้ค้นคว้าอ้างอิงประกอบการเขียน ๑๑.๒ อภิธานศัพท์ เป็นการน�ำค�ำส�ำคัญท่ีแทรกอยู่ในเนื้อหาและค�ำศัพท์ที่ควรรู้มาอธิบายความหมาย และน�ำมาจัดเรียงตามลำ� ดบั อกั ษรเพ่อื สะดวกในการค้นคว้า และเปน็ การฝึกใชพ้ จนานกุ รม

6 สารบญหน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ ความรู้ท่วั ไปเกีย่ วกบั วรรณคดีและวรรณกรรมสมัยสุโขทยั และอยธุ ยาตอนต้น ................................................................ ๑หน่วยการเรียนรทู้ ่ ี ๒ อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนิง ................................................... ๓๔ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลานภาลยัหน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ สามกก ตอน กวนอูไปรบั ราชการกับโจโฉ .................................... ๘๗ เจาพระยาพระคลัง (หน)หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ สามัคคีเภทคำ ฉันท ์ ................................................................ ๑๐๕ ชติ บุรทตัหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ พระครูวัดฉลอง .................................................................... ๑๒๖ สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพหน่วยการเรียนรทู้ ี ่ ๖ นิทานเวตาลเรอ่ื งท่ ี ๑๐ ........................................................... ๑๓๘ พระราชวรวงศเ ธอ กรมหมืน่ พิทยาลงกรณ (น.ม.ส.)หน่วยการเรยี นรู้ท่ ี ๗ กาพย์เห่เรอื ......................................................................... ๑๕๑ เจา ฟาธรรมธิเบศรหนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๘ นิราศพระบาท ...................................................................... ๑๗๐ สนุ ทรภูหน่วยการเรยี นรู้ที่ ๙ บทร้อยกรอง ........................................................................ ๑๙๓ ราตร ี.................................................................................. ๑๙๔ เจา พระยาธรรมศกั ดิ์มนตรี เปบ ขา้ ว .............................................................................. ๑๙๙ จติ ร ภมู ศิ ักดิ์ สวรรคช์ น้ั กวี ........................................................................ ๒๐๗ พระราชวรวงศเธอ กรมหมน่ื พิทยาลงกรณบรรณานกุ รม ..................................................................................................... ๒๑๓อภธิ านศัพท ์ ....................................................................................................... ๒๑๕

ความรทู ว่ั ไปเกย่ี วกบั วรรณคดแี ละ ๑หนวยการเรียนรทู ี่วรรณกรรมสมยั สโุ ขทยั และอยธุ ยาตอนตนตัวชวี้ ดั ชว� งช้ัน ๑. วเิ คราะหและวจิ ารณเรือ่ งทอ่ี านในทุก ๆ ดา นอยางมเี หตผุ ล ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๓) ๒. ตอบคำถามจากการอา นงานเขยี นประเภทตา ง ๆ ภายในเวลาที่กำหนด ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๖) ๓. วิเคราะหแ ละวิจารณวรรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเ บื้องตน ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๑) ๔. วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทางประวัติศาสตรและวิถีชีวิตของสังคม ในอดีต ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๒) ๕. วิเคราะหและประเมินคุณคาดานวรรณศิลปของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เปนมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๓) ๖. สังเคราะหขอ คดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรมเพอื่ นำไปประยกุ ตใชในชวี ติ จรงิ ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๔)ผังมโนทศั นสาระการเรย� นรูประวัตวิ รรณคดแี ละวรรณกรรม แนวทางในการอา‹ นวรรณคดี สมยั อยุธยาตอนตนŒ และวรรณกรรมความร�ทั่วไปเกย่ี วกบั วรรณคดีและวรรณกรรมสมัยสุโขทยั และอยุธยาตอนตนประวัติวรรณคดีและวรรณกรรมสมัยสุโขทยั ประโยชนจ ากการเรยี นรู ชวนคดิ ชวนตอบ๑. รูเหตกุ ารณบา นเมือง ลกั ษณะ และ ๑. วรรณคดสี มยั สุโขทัยและสมยั คณุ คา ของวรรณคดใี นสมัยสโุ ขทัย อยธุ ยาตอนตน มีลักษณะอยา งไร และอยุธยาตอนตน ๒. การวจิ ารณว รรณคดแี ละวรรณกรรม๒. บอกแนวทางในการวจิ ารณวรรณคดี และวรรณกรรมประเภทตา ง ๆ จะตอ งมีความรูในเรื่องใดบาง ถกู ตอง

2 ˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾¹×é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò แนวทางในการอา‹ นวรรณคดแี ละวรรณกรรม ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายของวรรณคดี วรรณคดี หมายถงึ หนังสอื ที่แตง ขน้ึ อยา งมีศิลปะ อาจเปนรอ ยแกว หรือรอยกรอง มีความงดงามทางภาษา ถายทอดความสะเทือนใจ ความนึกคิด และจินตนาการของผูแตงออกมาไดอยา งครบถว น ทำใหผ อู านเกิดจินตนาการ มีอารมณรว มไปกับผแู ตง ดวย นอกจากนั้นวรรณคดียงั ตอ งเปน เรอ่ื งทด่ี ี ไมช กั จงู จติ ใจไปในทางตำ่ ทง้ั ยงั แสดงความรู ความคดิ และสะทอ นความเปน ไปของสงั คมในแตละสมยั ดวย ลกั ษณะของวรรณคดี วรรณคดีสโมสร ซึ่งจัดตั้งข้ึนในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวไดกำหนดลกั ษณะของวรรณคดีไววา ๑. เปน หนงั สอื ดี มีประโยชน มีสภุ าษติ คติสอนใจ ไมช ักจงู ไปในทางท่ผี ิดหรือไปในทางที่ไมเปนแกน สาร ๒. เปนหนังสือแต‹งดี ใชวิธีการเรียบเรียงที่ดี ถูกตองตามแบบอยางภาษาไทย ใชสำนวนภาษาท่ีดี และเปนแบบอยางที่ดไี ด ลกั ษณะเดน‹ ของวรรณคดมี ี ๔ ประการ คือ ๑. แตง‹ ถกู ตอŒ งตามรปู แบบคำประพนั ธ หนงั สอื ทนี่ บั วา เปน วรรณคดจี ะตอ งแตง ไดส อดคลอ งและถูกตอ งตามรปู แบบคำประพนั ธ ซง่ึ วรรณคดีสโมสรไดจดั ประเภทของวรรณคดไี ว ๕ ประเภทดังน้ี ๑.๑ กวีนพิ นธ คอื เรื่องที่แตง เปนโคลง ฉนั ท กาพย กลอน ๑.๒ ละครไทย คอื เร่ืองท่แี ตง เปนกลอนแปด มีกำหนดหนาพาทย ๑.๓ นทิ าน คอื เรอ่ื งราวท่สี มมตุ ิขึน้ และแตง เปน รอ ยแกว ๑.๔ ละครพดู คือ เร่ืองราวทีเ่ ขยี นขึน้ เพอื่ ใชแ สดงบนเวที ๑.๕ อธิบาย คือ เรื่องท่ีแตงอยูในรูปของบทความที่ใหความรูในเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ซึ่งไมใชตำราหรือแบบเรยี น หรอื ความเรียงเรือ่ งโบราณคดี มพี งศาวดาร ๒. มคี วามไพเราะ วรรณคดไี ทยสว นใหญจ ะแตง เปน รอ ยกรอง ดงั นนั้ ความไพเราะจงึ มงุ เนนไปท่คี วามไพเราะของรสคำ รสความ ซึ่งเกิดจากความสามารถของผูแ ตงผสู รา งสรรคผ ลงาน ๓. ทำใหŒเกิดอารมณคลŒอยตาม ผูอานอานแลวเกิดอารมณสะเทือนใจ ซึ่งเกิดจากการเลอื กใชโ วหารที่กินใจ ลกึ ซ้ึง และเห็นภาพพจนชดั เจน ๔. มีเน้ือหาสาระที่เปนประโยชน วรรณคดีควรจะใหประโยชนแกผูอานดานใดดานหนึ่งเชน ใหค วามรู ใหค วามบันเทิง ใหคติธรรม ใหอ ุดมคติ สะทอ นใหเ ห็นสภาพสังคม หรอื ใหป รชั ญาชวี ิตอยางใดอยางหน่งึ

˹ѧÊ×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×¹é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò 3 ความหมายของวรรณกรรม วรรณกรรม หมายถึง งานท่ัวไปทั้งหมดทุกประเภท ทุกรูปแบบ ไมวาจะเปนรอยแกวหรือ เรอ� งนา รูรอยกรอง รวมถึงขอเขียนตาง ๆ ซึ่งมีเนื้อหามีจดุ มงุ หมาย สื่อความใหผอู านเขา ใจได ไมเนนเรื่อง คำวา วรรณกรรม ปรากฏใชค รงั้ แรกศลิ ปะในการแตง ในพระราชบัญญัติคุมครองศิลปะและ วัฒนธรรม พ.ศ. ๒๔๗๕วรรณกรรมป˜จจุบัน หมายถึง งานเขียนท่ีมีลกั ษณะเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม ทัง้ ในดา นรปู แบบ เน้อื หา กลวิธีการแตง แนวคิด คา นิยม และความเช่ือ ซง่ึ ไดรบั อิทธิพลของวรรณกรรมตะวนั ตกวรรณกรรมของไทยเรม่ิ เปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ ตง้ั แตส มยั รชั กาลท่ี ๔ เนอ่ื งจากไดร บั อทิ ธพิ ลของวรรณกรรมตะวนั ตกเขา มา ทง้ั นเ้ี พราะรชั กาลท่ี ๔ ทรงรบั วทิ ยาการแผนใหมเ ขา มา ขณะเดยี วกนัชาวตะวันตกที่เขามาอยูในประเทศไทยเร่ิมมีการออกหนังสือพิมพ เขียนบทความ ทำใหเกิดการเปล่ียนแปลงรูปแบบและกลวิธีการเขียนขึ้น ตอมาในรัชกาลที่ ๕ พระราชโอรส ขุนนาง หรือนกั เรยี นไทยทไ่ี ปศกึ ษาตา งประเทศเรม่ิ กลบั มา ไดน ำความรแู ละวทิ ยาการใหม ๆ จากชาตติ ะวนั ตกเขามาใช และไดนําแนวคิดรูปแบบการเขียนมาเผยแพร ทำใหว รรณกรรมของไทยเปลย่ี นแปลงเรอ่ื ยมา เรอ� งนารูจนถึงสมัยรัชกาลที่ ๗ และหลังการเปลี่ยนแปลง วรรณกรรมปจจุบันเร่ิมต้ังแตสมัยการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ วรรณกรรมไทยมีการ รัชกาลที่ ๔ ซึ่งเปนยุครุงอรุณแหงเปล่ียนแปลงอยางชัดเจน ทั้งรูปแบบ แนวคิด และ วรรณกรรมปจ จบุ นั เปน ยคุ ของวรรณกรรมเนอ้ื หา เปน วรรณกรรมปจ จบุ นั และมวี วิ ฒั นาการเรอ่ื ยมา ปจ จุบนั ที่แทจ รงิจนถงึ ปจจบุ ันลกั ษณะของวรรณกรรมไทยด้งั เดมิวรรณกรรมไทยดั้งเดิม หมายถึง วรรณกรรมท่ีเกิดข้ึนกอนการเปลี่ยนแปลงการปกครองมลี กั ษณะดงั นี้๑. ไดร บั อิทธพิ ลมาจากประเทศอนิ เดยี และประเทศแถบตะวนั ออก๒. นิยมเขียนเปนรอยกรองขนาดยาวมากกวารอยแกว แตงโดยใชคำประพันธทุกชนิดเครงครดั ในฉนั ทลักษณ และมีขนาดยาว๓. มรี ปู แบบหลากหลาย ท้ังนทิ าน นยิ าย บทละครนอก บทละครใน บทพากยโ ขน นิราศพงศาวดาร ฯลฯ๔. แนวคิดเปน แบบอดุ มคติ และมลี ักษณะเชงิ จินตนาการ๕. เน้ือเร่อื งจะเปนเรอื่ งไกลตัว มลี ักษณะเปนจินตนาการ เชน เรอ่ื งจกั ร ๆ วงศ ๆ เร่อื งอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ๖. การดำเนนิ เรื่อง เนน ศลิ ปะการใชภาษาและรสวรรณคดมี ากกวาองคป ระกอบของเร่อื ง๗. มุงใหค ณุ คา ทางอารมณแ ละสรา งศรัทธามากกวา ปญ ญา๘. มแี บบแผนการแตง ทแ่ี นน อน เชน ขน้ึ ตน ดว ยประณามบท (บทไหว) ชมเมอื ง ชมนก ชมไม

4 ˹ѧÊÍ× àÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò ลกั ษณะของวรรณกรรมป˜จจุบนั วรรณกรรมปจจบุ ันมีลกั ษณะแตกตางจากวรรณกรรมด้ังเดมิ ดงั นี้ ๑. ไดร ับอทิ ธพิ ลมาจากประเทศตะวันตก ๒. นิยมเขียนเปนรอยแกวมากกวารอยกรอง รอยกรองที่แตงจะเปนรอยกรองขนาดส้ันนยิ มแตง ดว ยกลอนสภุ าพ กาพย และโคลงสส่ี ภุ าพ นอกจากนย้ี งั ดดั แปลงรอ ยกรองใหม รี ปู ลกั ษณผดิ แผกไปจากเดิม และไมเ ครงครัดในฉันทลักษณ ๓. มรี ปู แบบหลากหลาย เชน นวนยิ าย เรอ่ื งสน้ั สารคดี บทความ บทละครพดู บทละครวทิ ยุบทภาพยนตร ๔. แนวคิดเปนแบบสจั นิยม โดยมธี รรมชาตินยิ ม สงั คมนิยม และสญั ลกั ษณน ยิ มรวมกันอยดู วย ๕. เนื้อเรือ่ งจะเปน เรอื่ งใกลตัว เชงิ วเิ คราะหวจิ ารณ เชน เรือ่ งชวี ติ ประจำวนั ของคนทั่วไปปญ หาสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื งตามทเี่ ปนจรงิ ๖. การดำเนินเร่ืองจะใหความสำคัญกับองคประกอบของเร่ือง เชน โครงเร่ือง ขอคิดจากเรือ่ ง ความสมจรงิ ของเร่ือง มากกวา ศลิ ปะการใชภ าษาและรสวรรณคดี ๗. มุงใหค ุณคาทางดา นความคิดและปญญาในการวเิ คราะหว จิ ารณ ๘. ไมมโี ครงสรา งที่เปนแบบแผนแนนอน คุณคา‹ ของวรรณคดีและวรรณกรรม วรรณคดแี ละวรรณกรรมมคี ุณคาตอผอู านในดา นตาง ๆ ดงั น้ี ๑. คณุ คา‹ ทางอารมณ มที ง้ั ความไพเราะ ชวนคดิ ชวนฟง ความสะเทอื นใจ ความประทบั ใจความสนกุ สนาน และเสริมสรางจินตนาการ ๒. คุณค‹าทางศีลธรรม ใหแงคิด คติเตือนใจ คานิยมในการประพฤติปฏิบัติตามหลักศาสนา ๓. คุณค‹าทางสังคม แสดงถึงชีวิตความเปนอยู ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเช่ือวัฒนธรรมตา ง ๆ ทคี่ นในสงั คมปฏบิ ตั ิสบื ตอกันมา ๔. คุณค‹าทางภาษา ทำใหผูอานเกดิ จนิ ตนาการ มีความคิดสรางสรรคจ ากการเลือกสรรคำมาเรยี งรอ ยกนั ใหเ กิดความไพเราะ มคี วามหมายลกึ ซึง้ กนิ ใจ แนวทางในการวิจารณวรรณคดแี ละวรรณกรรม การวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม คือ การแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดีและวรรณกรรมวาดีหรือไมดี อยางไร โดยมีเหตุผลมาอธิบายประกอบ หรือเปนการใหคาความงามความไพเราะวา ดหี รอื ขาดตกบกพรอ งอยา งไรบา ง ซง่ึ ผวู จิ ารณจ ะตอ งมคี วามรใู นเรอ่ื งหลกั การวจิ ารณมเี หตผุ ลทด่ี ี และมวี รรณศลิ ปใ นการเรยี บเรยี งเพอื่ ใหเ กดิ ความรสู กึ ทดี่ ตี อ วรรณคดแี ละวรรณกรรมเรอ่ื งนัน้ ๆ

˹ѧÊÍ× àÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾é¹× °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò 5 ในการวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมจะตองมีความรูเร่ืององคประกอบของงานประพันธทีส่ ำคัญ ๓ ประการ คือ รูปแบบ เนอื้ หา และภาษา งานประพันธเร่อื งใดทม่ี ีรปู แบบเหมาะสมกับเนอ้ื หา กอ ใหเ กดิ ความกลมกลนื กนั อยา งมศี ลิ ปะ เรยี กวา วรรณคดี สว นงานประพนั ธท ย่ี งั ไมถ งึ ขน้ัวรรณคดี เรยี กวา วรรณกรรม การพจิ ารณาวรรณคดกี ม็ ีรูปแบบเชนเดียวกับงานประพันธโ ดยทวั่ ๆ ไป คอื ๑. รูปแบบ รปู แบบ หมายถงึ ลกั ษณะของงานประพนั ธท ผ่ี แู ตง แสดงออกมา วรรณคดแี ละวรรณกรรมแตละประเภทมีรูปแบบที่แตกตางกันออกไป ซึ่งการแบงประเภทของวรรณคดีแบงไดหลายลกั ษณะ เชน ๑.๑ แบงตามลกั ษณะคำประพันธ จะแบงออกเปน ๒ ประเภท คอื ๑) รŒอยแกŒว คือ คำประพันธที่แตงเปนความเรียงธรรมดา ไมกำหนดคณะและลักษณะบังคับ แตมีรูปแบบโดยเฉพาะ และมีความไพเราะดวยเสียงและความหมาย รอยแกวมกั จะใชกับเรื่องทต่ี อ งการเลา เนือ้ หาอยา งตอ เนอ่ื ง เชน นทิ าน นยิ าย เรอื่ งสน้ั หรือเรอ่ื งท่ีตอ งการใหความรูความคิดเห็น เชน สารคดี บทความ ในการอานรอยแกวควรพิจารณาถอยคำ ภาษาและการดำเนินเร่ืองเปน สำคญั ๒) รŒอยกรอง คือ คำประพนั ธท่แี ตงตามฉนั ทลักษณ มีการกำหนดคณะ สมั ผสัตามลักษณะคำประพันธ ไดแ ก จำนวนคำ จำนวนวรรคในแตล ะบท กำหนดสมั ผัส คำเอก คำโทคำครุ คำลหุ คำประพนั ธท ่แี ตง เปน รอยกรอง ไดแ ก โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย และลลิ ิต ๑.๒ แบง ตามเนื้อหา จะแบง ออกเปน ๒ ประเภท คือ ๑) บนั เทงิ คดี คือ เรื่องท่ีแตงขน้ึ โดยมงุ ใหค วามสนุกสนานเพลิดเพลนิ หรอื ความรูสกึ รว มไปกบั ผแู ตง มิไดมุง ใหความรหู รือเสนอความคดิ เหน็ โดยตรง แตอ าจจะแฝงคติชวี ติ และคณุ คาอน่ื ๆ ไวด วย เชน นวนิยาย เร่ืองส้ัน นิทาน บนั เทิงคดี แบง ออกเปน บทมหรสพ เร่อื งเลาบทพรรณนา (๑) บทมหรสพ คือ เรื่องที่แตงข้ึนเพ่ือใชแสดงบทมหรสพประเภทตาง ๆเชน บทพากยโ ขน บทพากยห นงั ใหญ บทละคร วรรณคดที เ่ี ปน บทมหรสพ นอกจากจะใชแ สดงแลวยังนยิ มนำมาเปน วรรณคดสี ำหรบั อานดว ย (๒) เรอ่ื งเลา‹ คอื เรอ่ื งทแ่ี ตง ขน้ึ เปน ประเภทนทิ าน นยิ าย มกี ารบรรยายเรอ่ื งราวเหตุการณ และพฤตกิ ารณ โดยมีตวั ละคร ฉาก บรรยากาศ และอารมณของตัวละคร ในสมัยกอนคำวา นิทาน นยิ ายนั้นมคี วามหมายเหมอื นกัน คอื เรอื่ งท่ีเลากนั มา ตอ มาเมอื่ เรารบั อิทธิพลจากงานประพันธของตะวันตก เร่ืองท่ีแตงเปนนิยายจึงพัฒนาขึ้นมาเปนนวนิยายและเรื่องสั้นตามแบบอยางงานเขียนตะวันตก (๓) บทพรรณนา คือ วรรณคดีประเภทรำพัน หรือพรรณนาอารมณ หรือความประทับใจทม่ี ตี อเร่อื งใดเร่ืองหนง่ึ เชน นริ าศ บทเหก ลอ ม ๒) สารคดี คอื เรอ่ื งทแี่ ตง ขน้ึ โดยมงุ ใหค วามรหู รอื ความคดิ เหน็ ทเ่ี ปน สารประโยชนเจตนาใหผูอานเกิดสติปญญาและไดรับความเพลิดเพลิน มีกลวิธีการเขียนเฉพาะเพื่อใหผูอานสนใจและเกดิ ความสนกุ สนาน

6 ˹ѧÊÍ× àÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾×¹é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò ๒. เนอ้ื หา เน้ือหา หมายถงึ ใจความสำคญั เนอ้ื หาของวรรณคดมี ีสวนสำคญั ที่มาประกอบกัน คอืเน้อื เร่อื ง โครงเร่ือง ตวั ละคร ฉากทอ งเร่อื ง บทเจรจา และแกนเรือ่ ง ดังน้ี ๒.๑ เนอ้ื เรอ่ื ง คอื เรอ่ื งราวหรอื ขอ คดิ ของงานเขยี น เปน สว นทบ่ี อกวา มเี หตกุ ารณใ ด ใครทำอะไร ที่ไหน อยา งไร งานเขยี นบางเร่อื งอาจไมมเี รื่องราว เชน ภาษิต คำสอน แตก ม็ เี น้ือหาเปนขอ คิดหรอื คติเตอื นใจ ทีผ่ แู ตงตอ งการส่อื ใหผ ูอ า นรับรู การพิจารณาเน้ือเรื่อง ผูอานตองอานอยางพินิจพิเคราะหเพ่ือจับใจความใหได หากมีคำศัพทส ำนวนโบราณกต็ อ งศึกษาความหมายของภาษากอนจึงจะเขา ใจเนอ้ื เร่ืองไดด ี ๒.๒ โครงเรื่อง คือ เหตุการณสําคัญของเรื่องที่ผูแตงลําดับทิศทางหรือวางระบบไวอ ยา งครา ว ๆ เพอื่ เปน แนวทางในการสรา งเรอื่ ง ซง่ึ จะไมก ำหนดชอื่ ตวั ละคร กำหนดรายละเอยี ดของเหตกุ ารณห รอื สถานทท่ี เ่ี กดิ เหตกุ ารณ โครงเรอ่ื งมกั จะแสดงความขดั แยง ทเ่ี ปน เหตขุ องเรอ่ื งราวตาง ๆ อาจเปน ความขัดแยง ระหวา งตวั ละครหรอื ความขดั แยง ภายในใจตัวละครเอง การพิจารณาโครงเรื่อง ตองดูการเรียงลำดับเหตุการณในเร่ือง งานประพันธบางเรื่องเรียงลำดับเหตุการณตามเหตุการณท่ีเกิดข้ึนกอนหลัง แลวตามดวยเหตุการณถัดไปตามลำดับบางเรือ่ งเลา เรื่องยอ นหลงั คือ เรมิ่ เรอื่ งตอนทเ่ี หตกุ ารณส ำคัญในเรือ่ งยตุ ิ แลว เลายอ นเหตกุ ารณกอนหนา นัน้ ๒.๓ ตัวละคร คอื ผูท ่ที ำใหเ กิดเหตุการณตาง ๆ ในเร่ืองขน้ึ หรือผูถกู กระทำทไ่ี ดร ับผลจากเหตุการณน้ัน ลักษณะนิสัยของตัวละครมักเปนเนื้อหาสำคัญของเร่ืองที่ดึงดูดใจใหผูอานสนใจติดตามเรือ่ ง การพจิ ารณาตัวละคร ตองพจิ ารณาจากลักษณะนิสยั พฤติกรรม เหตผุ ลของการกระทำการคดิ และการตัดสินใจของตวั ละคร ๒.๔ ฉากทอ งเรอื่ ง คอื เวลาและสถานทท่ี เี่ กดิ เหตกุ ารณ รวมถงึ บรรยากาศในเหตกุ ารณหรือเรื่องราวของวรรณคดีและงานประพนั ธ ฉากอาจเปนสถานทจี่ ริงหรอื ฉากจากจินตนาการกไ็ ด การพจิ ารณาฉากทอ งเรอื่ ง ตอ งพจิ ารณาวา ฉาก เวลา และสถานทท่ี ปี่ รากฏนนั้ เปน เงอ่ื นไขทีท่ ำใหเ ราเขา ใจเร่อื งเพียงใด ฉากในบางเร่ืองอาจเกิดตา งยุคตางสมยั กนั เราตองเขาใจถงึ ยคุ สมัยน้ันดวย ไมควรใชเกณฑบางอยางในปจจุบันเปนตัวตัดสินเร่ืองเสมอไป และในการพินิจฉากจะสังเกตวา ฉากท่ดี ตี องมคี วามถกู ตอ ง ชดั เจน สมจรงิ และสอดคลอ งกับเนื้อเร่อื งและเหตกุ ารณในเรอ่ื ง ๒.๕ บทเจรจาหรอื รำพงึ รำพนั คอื คำพดู หรอื ความนกึ คดิ ของตวั ละคร ซง่ึ เปน กลวธิ หี นง่ึท่ที ำใหผอู านเขา ใจเน้อื เรือ่ ง ลักษณะนิสยั ทาที และความรูสึกของตัวละคร ในวรรณคดโี บราณมกั จะมีการแทรกสำนวนโวหารท่คี มคายจบั ใจผูอ านไวใ นบทเจรจาหรือบทรำพึงรำพนั การพิจารณาบทเจรจาหรือรำพงึ รำพนั จะตอ งพจิ ารณาวา เปนคำพดู ของใคร พดู กับใครอยใู นเหตุการณใด เพื่อจะไดเขาใจสาเหตขุ องคำตดั พอน้นั แลว จงึ พจิ ารณาสำนวนวา เปรยี บเปรยอยางไร แสดงอารมณและทาทีใด เพื่อจะไดเขาใจอุปนิสัยหรือแรงจูงใจที่ทำใหตัวละครนั้นมีพฤตกิ รรมตา ง ๆ

˹§Ñ Ê×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×¹é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò 7 ๒.๖ แกนเรื่อง คือ แนวคิดหลักหรือขอคิดสำคัญของเร่ืองท่ีผูแตงกำหนดไวกอนที่จะเขยี นเร่ือง เพ่อื เปน กรอบใหผแู ตง ไมแ ตง ออกนอกเรอ่ื ง การพิจารณาแกนเร่ือง ผูอานตองจับประเด็นใหไดวา ผูแตงตองการเสนอแนวคิดใดเชน เสภาเรื่องขุนชางขนุ แผน มแี กนเร่ืองคือ ความรกั กอ ใหเ กิดความทกุ ข ๓. ภาษา ภาษา หมายถึง ถอยคำท่ีใชเรยี บเรียงเรอื่ งราว เหตกุ ารณ ความรู ฯลฯ เพ่อื สื่อมายังผรู บั สาร ซง่ึ วรรณคดหี รอื วรรณกรรมจะมคี วามไพเราะหรอื ไม ขนึ้ อยกู บั การใชศ ลิ ปะทางภาษาหรอืความงามของภาษา ซึ่งในที่นีจ้ ะกลา วถึงการเลอื กคำ การเรียงคำ และการใชโ วหาร ๓.๑ การเลือกคำ การเลอื กใชค ำเพอ่ื ใหเ กดิ วรรณศลิ ปห รอื ความงามแกภ าษา ตอ งคำนงึ ถงึ ความหมายและเสยี งของคำ ๑) ความหมายของคำ การใชค ำเพอื่ สอื่ ความหมายใหเ ปน ท่เี ขาใจถกู ตอ งแจม แจง มหี ลักสำคัญดงั นี้ (๑) ใชŒคำทมี่ คี วามหมายตรงตามท่ีผแูŒ ต‹งม‹งุ ประสงค คำบางคำมรี ูปหรอื เสียงใกลเ คยี งกนั แตม คี วามหมายตา งกนั มกั ใชสบั สน ทำใหเ ขาใจความหมายไขวเขวไป เชน ดษุ ฎีดุษณี แตงเติม ตอเติม คุมครอง ครอบครอง เชน เมอ่ื ผพู ิพากษาตดั สนิ ใหจ ำเลยตอ งโทษจำคกุ จำเลยนง่ั ฟง โดยดษุ ฎี ตอ งเปลย่ี นคำวา ดษุ ฎี เปน ดษุ ณี เพราะ ดษุ ฎี หมายถงึ ความยนิ ดี ความชน่ื ชมดุษณี หมายถงึ อาการนงิ่ ซึง่ แสดงการยอมรบั (๒) ใชŒคําท่ีมีความหมายสอดคลŒองกับบริบท ซึ่งไดแก คําหรือขอความแวดลอม เชน กะหนงุ กะหนงิ หมายถึง อาการท่ีพดู กนั เบา ๆ ระหวางคนรัก เชน เสรีและกัลยาสองคนรกั น่งั คยุ กนั กะหนุงกะหนงิ ถา ไมใ ชร ะหวางคนรกั ควรใชค ำ จูจห๋ี รือกระจกู ระจี๋ ลักลอบ หมายถงึ ลอบไปพบกนั อยา งลบั ๆ ในเชิงชสู าว เชน หนมุ สาวคูนี้ลกั ลอบไปพบกนั ท้งั ๆ ท่ผี ใู หญห า ม ถา ใชค ำท่มี คี วามหมายทำนองน้ีกบั บุคคลอน่ื เชน โจรผูร ายควรเปลีย่ นเปน ลอบ เชน ฉันเขา ใจวา ขโมยตองลอบเขา มาในบา นตอนไมมีคนอยู (๓) ใชŒคำไวพจนใ หŒสอดคลŒองกบั บริบท ไวพจน คอื คำทเ่ี ขยี นตา งกนั แตม คี วามหมายเหมอื นกนั หรอื ใกลเ คยี งกนัเรียกอกี อยางหนงึ่ วา คำพอ งความหมาย เชน มนุษยกับคน บา นกบั เรือน รอกบั คอย ปา กบั ดงควายกับกระบือ ววั กับโค เชน คำสามญั คำศพั ท นก ทชิ ทวชิ บหุ รง ปก ษา ปก ษี ปก ษนิ พหิ ค วหิ ค ศกนุ ศกนุ ต สกณุ สกุณา สกนุ ต สุโนก ชาง กรนิ กรี กญุ ชร คช เจง ดำรี ดำไร นาค ทวิป พารณ มาตงค สาร หตั ถี หัสดนิ หสั ดี ไอยรา

8 ˹§Ñ Ê×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò (๔) ใชŒคำใหŒเหมาะแก‹ลกั ษณะของคำประพันธ คำสวนหน่ึงใชไ ดท ั้งรอยแกวและรอยกรอง บางคำใชเฉพาะรอยกรองตามที่กลาวมาแลว คำที่ใชในรอยกรองยังมีขอจำกัดตามชนดิ ของคำประพนั ธ เชน คำสรอ ย เชน คำวา เทอญ นา แล แลนา เอย เฮย แฮ ใชเ ฉพาะโคลงและรา ย คำวา เอย ใชล งทา ยเฉพาะกลอนดอกสรอ ยและสักวา ๒) เสียงของคำ เสียงของคำทำใหเกดิ ความงามในภาษา มีลักษณะตาง ๆ ดงั นี้ (๑) คำเลียนเสยี งธรรมชาติ อาจเปนเสียงคน สตั ว หรือสิง่ ของ ซ่งึ เปนที่รูจักและยอมรับกันทั่วไป คำเลียนเสียงธรรมชาตินอกจากกระทบอารมณความรูสึกตาง ๆ โดยตรงแลว ยังสรางภาพพจนท ่ีชัดเจนยงิ่ ขน้ึ เชน เสียงตอยมวย “ตเี ขาปบรบั โปกสองมอื ปด ประจบตดิ เตะผางหมดั ขวา งหวือ กระหวดั หวดิ หววิ ผวาเสียงฮาฮือ คนดูอื้อเออเอาสนั่นอึง” (นิราศพระบาท : สนุ ทรภ)ู คำวา ปบ โปก เปนเสียงตเี ขา ผาง เปน เสยี งเตะ หวอื เปน เสียงขวา งหมดั ฮาฮือเปน เสียงแสดงความพอใจ (๒) คำท่มี เี สยี งวรรณยุกตเรยี งตามลำดับรูปวรรณยุกต ผูแตงใชศิลปะนำคำท่ีมีเสียงวรรณยุกตเรียงลำดับ จากคำที่มีรูปวรรณยุกตสามัญ เอก และโท หรือเรียงคำที่มีรูปวรรณยกุ ตเอก โท แตมคี วามหมายใกลเคียงกนั ไวต อ เนือ่ งกัน เพอ่ื ใหเกดิ เสียงไพเราะยงิ่ ข้ึน เชน “เรียมจักแนะนน่ั นี้ โนนโนนŒ แนวพนม” “นึกระกำนามไม แมน แมนŒ ทรวงเรียม” (ลิลติ ตะเลงพาย : สมเด็จฯ กรมพระปรมานชุ ิตชโิ นรส) (๓) คำทม่ี เี สยี งสมั ผสั คนไทยนยิ มใชค ำทม่ี เี สยี งคลอ งจองหรอื คำสมั ผสั ทง้ั ในการพดู จาประจำวันและในภาษาเขียนทวั่ ไป เชน ในน้ำมปี ลา ในนามขี า ว เพอื่ นจงู วัวไปคา ขี่มาไปขาย เหน็ ขาวทา นบใ ครพ ิน เหน็ สนิ ทา นบใ ครเดือด ในปจ จุบันคนไทยยงั นิยมใชค ำสมั ผสั กันท่ัวไป เชน คำสนทนา คำขวัญ หรอืคำโฆษณาตาง ๆ คำคลองจองดว ยเสยี งสระหรอื สมั ผัสสระ และคำคลองจองดว ยเสยี งพยัญชนะหรือสัมผัสพยัญชนะ การใชคำคลองจองจะทำใหเสียงคำราบร่ืน เปลงไดสะดวก และเกิดความไพเราะชวนฟง นอกจากคำสัมผัสสระและคำสัมผัสพยัญชนะยังมีคำสัมผัสสระลวนและคำสัมผัสพยัญชนะลวน ๑) คำสมั ผสั สระและคำสมั ผสั พยญั ชนะ โดยปกตเิ ปน คำบงั คบั ในบทรอ ยกรองแตก ็มีในภาษาพดู และภาษาเขยี น เปน ลักษณะของสุภาษิต สำนวน คำพงั เพย คำขวัญ ชื่อเฉพาะเชน สภุ าษิต สำนวน คำพงั เพย ขมเหงคะเนงรา ย คลุกคลตี ีโมง โงเ งาเตา ตนุ จวงจาบหยาบชา ปลูกไมตรอี ยา รูร าง สรางกศุ ลอยา รโู รย มอื ถือสาก ปากถอื ศลี รูไ วใชว า ใสบ า แบกหาม

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾¹×é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò 9คำขวัญทิ้งขยะไมเ ลือกที่ เสยี ราศีไปท้ังเมือง๒) คำสมั ผสั สระลว นหรอื คำสมั ผสั พยญั ชนะลว น นอกจากสมั ผสั สระและสมั ผสัพยญั ชนะตามธรรมดาแลว ผแู ตง ยงั เพม่ิ สมั ผสั ลกั ษณะพเิ ศษ โดยใชส ระหรอื พยญั ชนะเสยี งเดยี วกนัในบทประพันธท งั้ บท เชน “แจว แจว จกั จ่ันจา จบั ใจหร่งิ หริง่ เรื่อยเรไร ร่ำรองแซงแซวสงเสยี งใส ซาบโสตแหนงนิ่งนึกนชุ นอง นิ่มเนือ้ นวลนาง” (โคลงนิราศสุพรรณ : สุนทรภ)ู๓) คำสัมผสั อักษรระหวา งวรรค สมั ผสั ชนดิ น้ใี ชค ำท่มี เี สยี งพยัญชนะเดียวกนัระหวา งคำทา ยวรรคหนากับคำตนวรรคหลงั นิยมใชกบั โคลง เชน “อุรารานราวแยก ยลสยบเอนพระองคลงทบ ทาวดน้ิเหนือคอคชซอนซบ สังเวชวายชวิ าตมส ดุ สิ้น สฟู า เสวยสวรรค” (ลลิ ิตตะเลงพาย : สมเด็จฯ กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส)(๔) คำพอŒ งเสียง คอื คำท่ีมเี สยี งพยญั ชนะและสระเดียวกนั แตม ีความหมายตา งกนั เชน กา ทเ่ี ปน ชอ่ื นก กบั กา ซง่ึ หมายถงึ ภาชนะใสน ำ้ แกว ทเ่ี ปน ชอ่ื นก กบั แกว ซง่ึ หมายถงึหินหรอื วสั ดใุ ส ตางเปน คำพองเสยี งการใชคำพอ งเสยี งนอกจากไดความไพเราะของเสยี งแลว ยงั เพ่ิมความแยบยลของเนื้อความท่เี กดิ จลาา๓กงลคงิวช“าฝมงิ คงูเกลา ง่ียงิ ขไว้นึตขลกอาิ่งง๔งลรละางิห๑งลวงิาไงขควำพองเลกสาาีย๒หงงลลเหิงงแลลลางนนกไ้ันง่ิ ลกกเาชหันนลวงนุ ลวงง่ิ ” (เสภาเรือ่ งขนุ ชางขนุ แผน)คำวา ลางลิง คำท่ี ๑ และ ๔ เปนช่ือตนไมเ ครือเถาชนิดหนึง่ สว นคำที่ ๒และ ๓ หมายถงึ ลงิ บางตวั(๕) คำย้ำหรือขอŒ ความย้ำ ในทนี่ ค้ี ือ คำเดยี วกันหรือขอ ความเดยี วกันทนี่ ำมากลา วซำ้ อกี ครง้ั หนง่ึ หรอื หลายครง้ั ตดิ กนั หรอื ใกล ๆ กนั เพอ่ื เนน ความหมายใหห นกั แนน ยง่ิ ขน้ึ เชน “เจ็บรักเจบ็ จากช้ำ เจ็บเยียว ยากนาเจบ็ ใครค ืนหลังเหลยี ว สูหยาวเจ็บเพราะลูกมาเดยี ว แดนทานเจบ็ เรงเจ็บองคทาว ธริ าชรอนใจถึง ลกู �ๅ” (ลิลติ พระลอ)บทรอ ยกรองนใ้ี ชค ำวา เจบ็ ซำ้ หลายแหง เพอ่ื เนน ความหมาย เปน ตอนทพ่ี ระลอทรงรำพงึ ถงึความโศกเศรา ของพระนางบญุ เหลอื เน่อื งจากการเสด็จจากไปเมอื งสรองของพระองค

10 ˹§Ñ ÊÍ× àÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾é×¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò (๖) คำซำ้ คือ คำท่ีสรางข้ึนใหมโดยซ้ำเสียงของคำเดิม เม่ือใชในรอยแกวใชไ มยมกแทนคำหลัง เชน จริงจรงิ เรื่อยเร่อื ย เขยี น จรงิ ๆ เรอื่ ย ๆ สำหรับรอยกรองเขียนคำซ้ำเต็มรปู คำ เปน จริงจริง เรือ่ ยเรื่อย คำซ้ำทำใหเกดิ เสยี งเสนาะย่ิงข้ึน แตค วามเนน หนักของความหมายลดลง เชน “รอนรอนสุริยโอ อสั ดง เรื่อยเรือ่ ยลบั เมรุลง ค่ำแลว รอนรอนจติ จำนง นุชพ่ี เพยี งแม เรอ่ื ยเรือ่ ยเรยี มคอยแกว คลบั คลายเรียมเหลยี ว” (กาพยเหเ รอื : เจาฟาธรรมธเิ บศร) (๗) เสียงหนักเบา ไดแก เสียงเนนและเสียงแผว คำเสียงหนัก คือ คำท่ีออกเสียงเต็มเสียง คำเสียงเบา คือ คำท่ีออกเสียงไมเต็มเสียง สำหรับรอยกรองประเภทฉันทคำเสยี งหนกั เรยี กวา คำครุ คำเสียงเบา เรียกวา คำลหุ ฉนั ทก ำหนดคำครุ ลหไุ วตายตัวตามชนิดของฉนั ท เสยี งหนกั เบาไมไ ดใ ชเ ฉพาะกบั ฉนั ท แตใ ชไ ดท ว่ั ไปทง้ั รอ ยแกว และคำประพนั ธชนดิ อ่นื ๆ เสียงหนักเบาทำใหเ กดิ จังหวะและลีลาตาง ๆ เชน แผว เบา เรยี บรื่น เฉื่อยชา สะดดุกระทบกระแทก รวดเร็ว เรงเรา จังหวะและลีลาดังกลาวกระทบความรูสึกแตกตางกันไป เชนหงอยเหงา ซมึ เศรา ทอถอย ขบขนั รา เริง คกึ คกั แข็งกลา ฮึกเหมิ ผูแตง จะเลือกใชค ำทีม่ ีจงั หวะและลลี าสอดคลองกับใจความและอารมณในเรอ่ื ง นริ าศพระบาท ใชคำท่มี จี ังหวะและลีลา ทำใหเกดิ อารมณตา ง ๆ เชน “วนั จะจรจากนอ งสิบสองค่ำ พอจวนย่ำรุงเรงออกจากทา รำลกึ ถึงดวงจนั ทรครรไลลา พีต่ ้งั ตาแลแลตามแพราย ที่ประเทศเขตเคยไดเ หน็ เจา ก็แลเปลาเปลี่ยวไปนาใจหาย แสนสลดใหระทดระทวยกาย ไมเหือดหายหว งหวงเปนหว งครัน” (นริ าศพระบาท : สุนทรภ)ู บทรอ ยกรองน้ใี ชจ ังหวะลลี าคอนขางชา ทำใหเ กดิ อารมณเศราอาลัย๓.๒ การเรยี งคำ การเรียงคำ คือ การรอยเรียงถอยคำที่สรรแลวใหถูกตองตามระเบียบของภาษามีจังหวะเหมาะสมและไดใจความแจมแจง สําหรับรอยกรองจําตองเปนไปตามระเบียบของฉันทลักษณอ ีกดวย กลวธิ เี รยี บเรียงถอŒ ยคำ มีหลกั ดังนี้ ๑. เรยี งขอŒ ความโดยวางสาระสำคญั ไวทŒ าŒ ยสดุ การเรยี งขอ ความวธิ นี ก้ี ำหนดขอ ความเงื่อนไขไวตอนตน ขอความผลไวตอนทาย ประโยคจะมีความกระชับรัดกุม เขาใจงาย และไดใจความตรงตามท่ผี ูพ ดู หรอื ผูแตงมงุ ประสงค เชน

˹ѧÊÍ× àÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾×é¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò 11“กำสรวลศรปี ราชญพ รอ ง เพรงกาลจากจฬุ าลักษณล าน สวาทแลวทวาทศมาสสาร สามเทวษ ถวิลแฮยกทดั กลางเกศแกว กึ่งรอนทรวงเรยี ม” (นิราศนรินทร : นายนรนิ ทรธิเบศร)ใจความของโคลงบาทท่ี ๑–๓ กลาวถึงความรักความอาลัยของศรีปราชญทม่ี ตี อ ทา วศรจี ฬุ าลกั ษณใ นโคลงกำสรวลศรปี ราชญ และของกวที ง้ั สามทม่ี ตี อ นางในโคลงทวาทศมาสเปน ใจความเงอื่ นไข บาทท่ี ๔ กลา วถงึ ความครำ่ ครวญโหยหาท่ีกวี (ผแู ตงนิราศนรินทร) มตี อนางของตนวา ใหญห ลวงกวา ความอาลัยรกั ของบุคคลทงั้ สเ่ี หลานน้ั รวมกัน เปนใจความผล๒. เรียงขŒอความที่มีความสำคัญเท‹า ๆ กันคู‹เคียงกันไป ใชสันธานแสดงความคลอยตามกนั หรือความเลอื กเอาอยางหน่งึ อยา งใดเปน คำเชื่อม เชน๑. “ธงชาติไทยเปนสัญลกั ษณแสดงถึงชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ”๒. “ใครจะไวใจอะไรตามใจเถิด แตอยา เกดิ ไวใจในสงิ่ หาหน่งึ อยา ไวใ จทะเลทุกเวลา สองสตั วเ ข้ยี วเล็บงาอยา วางใจสามผูถืออาวธุ สดุ จักรา ย สีผ่ หู ญงิ ท้งั หลายอยา กรายใกลหามหากษัตริยทรงฉัตรชัย ถา แมน ใครประมาทอาจตายเอย” (นทิ านเวตาล : น.ม.ส.)๓. เรยี งใจความจากความสำคัญนอŒ ยไปยงั ความสำคญั มากขน้ึ ตามลำดับขนั้ เชน๑. “คนเราเมอ่ื เกิดแลวตอ งแก ตองเจบ็ และตองตายในท่สี ดุ ”๒. “เจ็ดวันเวน ดดี ซอม ดนตรีอกั ขระหา วนั หนี เน่ินชาสามวนั จากนารี เปนอนื่วนั หนงึ่ เวน ลางหนา อับเศราศรีหมอง” (โคลงโลกนติ ิ : สมเดจ็ ฯ กรมพระยาเดชาดศิ ร)๔. เรยี งใจความใหหŒ นกั แนน‹ ขนึ้ ไปตามลำดบั แตค‹ ลายลงในตอนทาŒ ยอยา‹ งฉบั พลนัหรอื จบลงดŒวยสง่ิ ท่ดี Œอยกว‹าอยา‹ งพลิกความคาดหมาย เชน“เบิกทรัพยว ันละบาทซอื้ มงั สานายหนงึ่ เลีย้ งพยคั ฆา ไปอว นสองสามสีน่ ายมา กำกับ กันแฮบงั ทรัพยสส่ี ว นถวน บาทส้นิ เสือตาย” (โคลงโลกนติ ิ : สมเดจ็ ฯ กรมพระยาเดชาดศิ ร)

12 ˹§Ñ Ê×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾é¹× °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò๕. เรยี งถอŒ ยคำใหเŒ ปน ประโยคคำถามเชงิ วาทศลิ ป คำถามประเภทนม้ี ไิ ดป ระสงคใ หผ ฟู งหรือผอู านคดิ หาคำตอบแตเนน ใหเ หน็ คำตอบ ซ่งึ ผพู ูดหรอื ผแู ตง แฝงอยูในคำถามแลว เชน“ขา พเจา ยังเดาไมถ กู เลยวา พวกมะพรา วตนื่ ดกน้นั เขาเอาใครเปนตัวอยางในการทป่ี ระพฤตกิ ริ ิยาช่วั ไมส ภุ าพและกลา ววาจาอวดด?ี หวงั ใจวา ไมเอาอยา งขาราชการทเี่ ปน นายเหนอืเขาขน้ึ ไปอกี ตอ หนง่ึ หรอื เขาเอาอยา งฝรง่ั ? ถา เอาอยา งฝรง่ั ละก็ ขา พเจา ขอถามอกี วา ฝรง่ั ชน้ั ใด ชนดิ ใด?ชนิดที่พลตระเวนเมานอนกลงิ้ เปนหมูอยูตามกลางถนนใชหรือไม” (มะพราวตืน่ ดก : อัศวพาหุ)๓.๓ การใชโŒ วหารโวหาร คอื ศลิ ปะการใชถ อ ยคำทกี่ อ ใหเ กดิ จนิ ตนาการ มรี สกระทบอารมณแ ละความรูสึก ซ่ึงตางจากการใชถอยคำตรงไปตรงมา โดยที่โวหารนั้นเมื่อกลาวถึงส่ิงหนึ่งจะมีความหมายอกี สงิ่ หนง่ึ เพอื่ เปน การขยายความใหช ดั เจนขน้ึ ผรู บั สารสามารถเขา ใจความหมายไดล กึ ซง้ึ กวา การใชถ อ ยคำอยา งตรงไปตรงมา บางครง้ั ผรู บั สารยงั สามารถเหน็ ภาพ เขา ใจถงึ ความคดิ และความรสู กึของผูสงสาร การใชโวหารลักษณะดังกลาววงการวาทศิลปและการประพันธเรียกวา ภาพพจน(Figures of Speech)๑) อปุ ลกั ษณ คอื การเปรยี บเทยี บของสง่ิ หนงึ่ วา เปน หรอื คอื อกี สง่ิ หนง่ึ โดยตรง โดยใชก รยิ าอาศยั สว นเตมิ เปน คอื ใช เทา ตา ง บางทภี าพพจนแ บบอปุ ลกั ษณก ลา วถงึ สง่ิ ทน่ี ำมาเปรยี บทนั ทโี ดยปรยิ ายไมม ีคำกริยาดังกลา ว เชน “จงต้งั เอากายเจา เปนสำเภาอันโสภาความเพียรเปน โยธา แขนซายขวาเปนเสาใบน้ิวเปน สายระยาง สองเทา ตางสมอใหญปากเปน นายงานไป อัธยาศยั เปนเสบยี งสตเิ ปน หางเสือ ถอื ทายเรือไวใ หเ ทยี่ งถอื ไวอยาใหเ อยี ง ตัดลดั เลยี่ งขา มคงคา” (ดรณุ ศึกษา เลม ๓)๒) อุปมา คือ การเปรียบเทียบวาส่ิงหน่ึงเหมือนกับอีกส่ิงหนึ่ง โดยใชคำเช่ือมซ่ึงมคี วามหมายเดยี วกับคำ เหมือน คำเชอื่ มดงั กลา ว เชน กล คลา ย เฉก เปรยี บเสมอื น เสมือนประดจุ ประหน่งึ ปาน ปนู เพียง ราว ราวกบั เชน“ชวี ิตสังขารมนษุ ยไ มย ง่ั ยืนยดื ยาวเหมอื นเหลก็ เหมอื นศิลา”“ความชัว่ น้นั คงจะปรากฏเปนโทษตดิ ตวั เหมอื นเงาตามหลงั อยูไ มข าด” (พระบรมราโชวาท : รัชกาลที่ ๕) “คณุ แมห นาหนกั เพ้ยี ง พสุธาคุณบดิ รดุจอา กาศกวา งคุณพ่พี า งศขิ รา เมรุมาศคณุ พระอาจารยอาง อาจสสู าคร (โคลงโลกนติ ิ : สมเดจ็ ฯ กรมพระยาเดชาดศิ ร)

˹§Ñ ÊÍ× àÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾é¹× °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò 13 ๓) บคุ คลวตั คอื การสมมตุ สิ ่ิงที่ไมใชค นใหส ามารถทำกิรยิ าอาการเหมอื นคน เชนพดู ได รสู กึ ได รอ งไหไ ด เชน “ลำดวนเอยจะดวนไปกอนแลว เกดแกวพิกุลยี่สุน สี จะโรยรา งหา งสน้ิ กล่นิ มาลี จำปเอย ก่ีปจะมาพบ ทมี่ กี ล่ินกจ็ ะคลายหายหอม จะพลอยตรอมเหือดสนิ้ กลน่ิ ตลบ ที่มีดอกก็จะวายระคายครบ จะเหยี่ วแหงเซาซบสลบไป” (เสภาเรื่องขุนชา งขุนแผน) ๔) นามนัย คือ การเปรียบเทียบโดยใชสวนประกอบท่ีเดนและมีความสัมพันธกับสง่ิ หนึง่ แทนส่ิงนน้ั ๆ ทั้งหมด เชน ฉัตร เปน เครื่องสูงท่สี ำคญั ยิ่งของพระเจา แผน ดนิ มงกฎุ เปน เครอื่ งสงู สำคญั ของพระเจา แผน ดนิ และเปน รางวลั สำคญั ทมี่ อบใหห ญงิผูชนะการประกวดความงาม คำทกี่ ลา วมาขา งตน จึงใชแ ทนส่ิงตาง ๆ เชน “ทาวทัว่ ทิศทัว่ เทศ ไททกุ เขตทุกดา ว นา วมกฎุ มานบ นอ มพภิ พมานอบ” “วา นครรามนิ ทร ผลดั แผน ดนิ เปลย่ี นราช เยยี วววิ าทชงิ ฉตั ร เพอ่ื กษตั รยิ ส องส”ู (ลลิ ติ ตะเลงพาย : สมเดจ็ ฯ กรมพระปรมานุชิตชโิ นรส) ๕) อปุ มานทิ ศั น คอื การเปรยี บเทยี บโดยยกเรอ่ื งราวหรอื นทิ านมาประกอบ ขยาย หรอืแนะโดยนัยใหผ ูอานผูฟงเขาใจแนวความคิด หลกั ธรรม หรอื ความประพฤติทีส่ มควรไดแจม แจงยง่ิ ขนึ้ เชน นทิ านเรอื่ ง คนตาบอดคลำชา ง เปน อปุ มานทิ ศั นช ใี้ หเ หน็ วา คนทม่ี ปี ระสบการณห รอืมีภูมหิ ลงั ตา งกันยอ มมีความสามารถในการรับรู ความเชอ่ื และทัศนคตติ า งกนั ๖) ปฏิพากย คือ การเปรียบเทียบโดยใชคำที่มีความหมายตรงกันขาม สวนมากใชเปน สำนวน คำพงั เพย หรือสุภาษิต เชน “หวานเปน ลมขมเปน ยา” “ลน้ิ ยาวทำใหช วี ติ สนั้ ” “รกั ยาวใหบ นั่ ” “รกั สน้ั ใหต อ ” ๗) สญั ลกั ษณ คอื การเปรยี บเทยี บโดยใชส งิ่ หนง่ึ แทนอกี สงิ่ หนง่ึ ซง่ึ มคี ณุ สมบตั หิ รอืลักษณะบางอยางรว มกัน เชน ดอกไมมีความสวยงาม บอบบาง ซึ่งเปนลักษณะรว มกันกับผหู ญงิดอกไมจึงมักใชเปนสัญลักษณแทนผูหญิง ราชสีหเปนสัตวมีอำนาจย่ิงใหญ นาเกรงขาม จึงมักใชเปนสัญลักษณแทนผูมีอำนาจ การท่ีตราครุฑเปนสัญลักษณของประเทศไทยก็เน่ืองมาจากคติความเชื่อที่วาครุฑเปนสัตวมีฤทธ์ิมาก เปนพาหนะของพระนารายณ และพระมหากษัตริยก็เปนพระนารายณอ วตารมาปกครองบานเมือง สัญลักษณท่ีนิยมใชŒกันทั่วไป เชน สขี าว แทนความบรสิ ุทธ์ิ ความไรเ ดียงสา สีดำ แทนความตาย ความโศก ความชัว่ ราย ดอกมะลิ แทนความบริสทุ ธิ์ ความยินดี ดอกกุหลาบ แทนความรักของหนมุ สาว

14 ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾é×¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ òดอกบานไมรโู รย แทนความมน่ั คง ความยั่งยืนผึ้ง มด แทนความขยันขันแขง็ ความอตุ สาหะเมฆ หมอก แทนอุปสรรค ความเศรา๘) การกลา‹ วผดิ ความเปน จรงิ อาจเปนการกลาวเกินจรงิ (อติพจน) หรือการกลา วนอ ยกวา จรงิ (อวพจน) กไ็ ด การกลา วเกนิ จรงิ เปน การเปรยี บเทยี บใหเ หน็ หนกั แนน ชดั เจน กระทบความรสู กึ ยงิ่ ข้นึ ตวั อยา งอตพิ จน เชน รกั คณุ เทาฟา นานนบั โกฏปิ  รอไปชาติหนา “ตราบขนุ คริ ิขน ขาดสลาย แลแมรักบห ายตราบหาย หกฟาสรุ ิยจนั ทรขจาย จากโลก ไป�ๅไฟแลนลา งสห่ี ลา หอ นลา งอาลัย” (นริ าศนรนิ ทร : นายนรินทรธ เิ บศร)การกลาวนอยกวาจริงหรืออวพจน เชน นักประพันธไสแหง ลัดน้ิวมือเดียว เล็กเทาข้ีตาเอวคอดเปน มดตะนอยประวตั ิวรรณคดแี ละวรรณกรรมสมัยสุโขทัย (พ.ศ. ๑๗๙๒–๑๙๘๑) สภาพบŒานเมอื งสมยั สุโขทยั กรุงสุโขทัยเปนราชธานีแหงแรกของไทย โดยมีพอขุนบางกลางหาว เจาเมืองบางยางกับพอ ขนุ ผาเมอื ง เจา เมอื งราด ไดร ว มกนั กำจดั อทิ ธพิ ลของขอมออกไปจากเมอื งสโุ ขทยั แลว สถาปนากรงุ สโุ ขทยั เปน ราชธานี และไดอ ภเิ ษกพอ ขนุ บางกลางหาวขนึ้ เปน ปฐมบรมกษตั รยิ  ทรงพระนามวาพอขุนศรอี ินทราทิตย ใน พ.ศ. ๑๗๙๒ อาณาจักรสุโขทัยระยะแรกเริ่มกอต้ังนั้นยังมีพลเมืองไมมากนัก และอยูในระหวางกอรางสรางตัว การปกครองในระยะเริ่มแรกจึงเปนการปกครองระบบครอบครัวหรือพอปกครองลูกพระมหากษตั รยิ ม คี วามใกลช ดิ กบั ราษฎรมาก จงึ เรยี กพระมหากษตั รยิ ว า “พอ ขนุ ” ตอ มาภายหลงัสมยั พอขนุ รามคำแหงมหาราชสถานการณบานเมอื งเปลย่ี นแปลงไป ความสมั พันธร ะหวางผนู ำกบัราษฎรแตกตางไปจากเดิม พระมหากษัตริยมีพระราชอํานาจมากข้ึน มีฐานะเปนธรรมราชาใชห ลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเปนหลักธรรมในการปกครอง อาณาจักรสโุ ขทยั เจรญิ สงู สุดในสมยั พอขนุ รามคำแหงมหาราช มีการขยายอาณาเขตออกไปอยา งกวางขวาง มีการประดิษฐอักษรไทย มกี ารผลติ เครื่องถวยชามสงั คโลก มกี ารตดิ ตอ คา ขายกับอาณาจักรใกลเคยี ง ในชว งนบ้ี านเมืองมีความอุดมสมบูรณ ราษฎรอยกู นั อยา งสงบสุข หลังจากสมัยของพระองคแลวอาณาจักรสุโขทัยเร่ิมเส่ือมอำนาจลง เพราะพระมหากษัตริยใหความสนใจดา นพระพุทธศาสนามากกวา ดา นอืน่ ๆ ประกอบกับขณะน้ันเมอื งตาง ๆ เร่มิ มีอำนาจทางการเมอื งมากข้ึน จึงพยายามตั้งตนเปนอิสระ อาณาจักรสุโขทัยเร่ิมหมดอำนาจลงและถูกผนวกเขาเปนสว นหนงึ่ ของอาณาจกั รอยธุ ยา เมอ่ื สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถเสดจ็ ไปเสวยราชย ณ เมอื งพษิ ณโุ ลกใน พ.ศ. ๒๐๐๖ นบั เปน อันสน้ิ สดุ ของอาณาจกั รสโุ ขทัย

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾¹é× °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò 15ความเจริญดŒานวรรณคดี วรรณคดีท่ีเกาแกท่ีสุดและมีการบันทึกเปนลายลักษณอักษรที่ปรากฏมาจนถึงทุกวันนี้ คือจารึกสมยั สุโขทยั ทงั้ นไ้ี มไดห มายความวากอ นสมยั สโุ ขทัยไมมกี ารจดบนั ทึก แตก ารเขยี นหนงั สือในสมัยนั้น ใชกระดาษขอยหรือใบลาน เวลาผานไปนับรอย ๆ ป สมุดขอยหรือใบลานก็สญู หายไป จนกระทง่ั พอขุนรามคำแหงมหาราชทรงคิดประดษิ ฐอักษรไทยข้ึนมา โดยทรงเรียกวา“ลายสอื ไท” แลว โปรดเกลา ฯ ใหจ ารกึ ไว เมอ่ื เวลาผา นไปหลายรอ ยป ขอ ความบนศลิ าจารกึ กย็ งั คงปรากฏอยไู มลบเลอื นสูญหาย ลักษณะของวรรณคดีสมัยสุโขทัยมีลักษณะเปนการบรรยายสภาพบานเมือง วัฒนธรรมสังคม และการอบรมศีลธรรม มีลักษณะเปนวรรณคดีประยุกต ไมไดมุงความบันเทิง ทำนองแตงเปนรอ ยแกว ใชค ำไทยโบราณ บาลสี ันสกฤต และเขมรปะปนอยูมาก วรรณคดีสำคญั สมยั สโุ ขทยั คอื ๑. ศลิ าจารึก หลักที่ ๑ ๒. สุภาษติ พระรวง ๓. ไตรภมู พิ ระรวง (เตภูมกิ ถา) ๔. ตำรบั ทาวศรจี ฬุ าลักษณ (นางนพมาศ)ความสมั พันธร ะหวา‹ งเหตุการณบ าŒ นเมืองและวรรณคดี ตลอดระยะเวลาเกือบ ๒๐๐ ป ของอาณาจกั รสโุ ขทยั มีเหตกุ ารณสำคัญทางประวัติศาสตรทเ่ี กิดขนึ้ สมั พันธกับความเคลอ่ื นไหวทางวรรณคดี ดงั นี้ ความสมั พันธร ะหว‹างเหตกุ ารณทางประวตั ิศาสตรและวรรณคดี พ.ศ. เหตุการณท างประวตั ศิ าสตร ความเคลื่อนไหวทางวรรณคดี๑๗๙๒ พอ ขุนศรอี นิ ทราทติ ยตัง้ กรงุ สโุ ขทยั ประกาศเลิกใชภาษาเขมรอยางเปน๑๘๒๒–๑๘๔๑ เปน ราชธานี ทางการแลว เปลย่ี นมาใชภ าษาไทยแทน พอขนุ รามคำแหงมหาราชครองราช- สมบัติตอ จากพระยาบาลเมอื ง๑๘๒๖ พอขนุ รามคำแหงมหาราชทรงเลิกใช พอขนุ รามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ อกั ษรไทยเดมิ ซงึ่ ดดั แปลงตามอกั ษร ลายสอื ไท ขอมหวดั เปนทางราชการ๑๘๓๕ พอ ขนุ รามคำแหงมหาราชโปรดเกลา ฯ พอขุนรามคำแหงมหาราชโปรดเกลาฯ ใหส รางพระแทน มนงั ศลิ าบาตร๑ ใหจารึกศิลาจารกึ หลักท่ี ๑ และ ใชเปน ท่ปี รึกษาราชการและสง่ั สอน ทรงพระราชนิพนธสุภาษติ พระรวง ประชาชน (สันนิษฐาน) ๑ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพทวรรณคดีไทยสมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหงหลักที่ ๑.พมิ พครง้ั ท่ี ๒ (แกไขเพ่มิ เติม). (กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๕๔๕), หนา ๕๐.

16 ˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾é¹× °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò พ.ศ. เหตกุ ารณท างประวตั ิศาสตร ความเคล่ือนไหวทางวรรณคดี๑๘๔๑–ไมป รากฏ พระยาเลอไทยครองราชสมบัตติ อ จาก ศลิ าจารกึ วดั ปา มะมว ง มลี กั ษณะเปน เสา พอ ขนุ รามคำแหงมหาราช หนิ ทราย จารกึ ดว ยภาษาเขมร ไมป รากฏ นามผแู ตง เนอ้ื หาสรรเสรญิ พระเกยี รตยิ ศ และประกาศคณุ ธรรมของพระยาเลอไทย๑๘๙๐ พระยาลิไทยครองเมืองศรีสชั นาลัย ในตำแหนง อปุ ราช๑๘๙๐–ระหวา ง พระยาลิไทยครองราชสมบัติตอ จาก ศลิ าจารกึ หลกั ตา ง ๆ๑๙๑๑–๑๙๑๖ พระยาง่วั นำถม – ศิลาจารกึ วัดศรีชุม – ศลิ าจารกึ อักษรแบบสุโขทยั๑๘๙๖๑๙๐๐ วัดชา งค้ำ จ.นาน – ศิลาจารึกนครชุมระหวาง – ศิลาจารกึ วัดพระยืน จ.ลำพนู๑๙๑๑–๑๙๑๗ – ศลิ าจารกึ กฎหมายลกั ษณะโจรถึง ๑๙๔๒๑๙๒๑ พระยาลไิ ทยทรงพระราชนพิ นธ ไตรภมู พิ ระรว ง พระอโนมทสั สแี ละพระสมุ นเถร มกี ารเปลยี่ นแปลงอักษรของ นำศาสนานกิ ายลงั กาวงศเ กา (หรอื รามญั พอ ขุนรามคำแหงมหาราช เชน รูปสระ วงศ) จากนครพนั (อยเู หนอื เมาะตะมะ อิ อี อื อยบู นพยญั ชนะ อุ อู อยูลาง ๕๐ กม.) มาสุโขทัย และนิกายนี้ พยัญชนะ รูปสระ ใ ไ โ สูงขึ้นพน ไดเ ผยแผศ าสนาไปยงั อยธุ ยา ละโว ชวา พยญั ชนะ เพ่ิมตวั �ๅ �ๅ (หลวงพระบาง) เชยี งใหม และเชยี งตงุ พระมหาธรรมราชาที่ ๒ พบการแตงคําประพันธประเภทราย ครองราชสมบัติ และกาพยในศิลาจารึก หลักที่ ๑๐๖ พ.ศ. ๑๙๒๗ มีรายโบราณซึ่งมบี ังคบั ไมเ ครง ครัดเหมือนสมยั รตั นโกสินทร๑ พระมหาธรรมราชาที่ ๒ ทรงยอม ออนนอมตอสมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ ๑ (ขนุ หลวงพะงวั่ ) แหง กรงุ ศรอี ยธุ ยา ซึง่ ทรงยกทพั มาตเี มืองชากังราว กรุงสุโขทัยจึงตกเปนเมืองประเทศราช ของกรงุ ศรีอยธุ ยา ๑กรมวชิ าการ. คมู อื การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนประวตั ศิ าสตร ประวตั ศิ าสตรไ ทย : จะเรยี นจะสอนกนั อยา งไร.(กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๔๓), หนา ๑๓.

˹§Ñ ÊÍ× àÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾¹é× °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò 17 พ.ศ. เหตุการณท างประวตั ิศาสตร ความเคลื่อนไหวทางวรรณคดี๑๙๓๑ กรุงสโุ ขทัยประกาศตนเปนอิสระจาก ศลิ าจารกึ ภาษาไทย จ.ศ. ๗๕๔๑๙๓๕ กรุงศรอี ยธุ ยา มลี กั ษณะเปน หนิ ชนวนสเี ขยี ว พบใน วดั มหาธาตุ ต.เมอื งเกา อ.เมอื ง จ.สโุ ขทยั๑๙๔๒–๑๙๖๒ จารกึ ดว ยอกั ษรไทย๑๙๔๗ พระมหาธรรมราชาที่ ๓ ครองราชสมบตั ิ๑๙๔๙ ในรัชสมัยนี้ พระองคไดทำสัญญากับ(สันนษิ ฐาน) เจา เมอื งนา นทจ่ี ะชว ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั๑๙๖๒ เมื่อถูกอาณาจกั รอน่ื รกุ ราน๑๙๘๑ ศิลาจารึก จ.ศ. ๗๖๖ มีลักษณะ เปนแผนหินออ น จารึกดวยภาษาไทย และภาษามคธ ศิลาจารึกวัดปาแดง มีลักษณะเปน แผน หนิ บาง ๆ มขี อ ความตอ เนอ่ื งกนั ไป สนั นิษฐานวาจารึกใน พ.ศ. ๑๙๔๙ พระมหาธรรมราชาที่ ๔ (บรมปาล) ไดรับการอภิเษกใหครองกรุงสุโขทัย ในฐานะประเทศราชของอยธุ ยา พระมหาธรรมราชาที่ ๔ สวรรคต สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจา สามพระยา) แหง กรงุ ศรอี ยธุ ยา ไดส ง พระราเมศวรขน้ึ ไปครองเมอื งพษิ ณโุ ลก ซึ่งเปนเมืองหลวงของอาณาจักรสุโขทัย ทำใหอ าณาจกั รสโุ ขทยั รวมกบั อาณาจกั ร อยุธยาเปน อาณาจักรเดยี วกนั

18 ˹ѧÊÍ× àÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾é×¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò วรรณคดสี ำคญั ๑. ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ P ผแŒู ตง‹ สนั นษิ ฐานวา พอ ขนุ รามคำแหงมหาราชทรงพระราชนพิ นธเ อง โดยเฉพาะตอนตนท่เี ปน การเลาพระราชประวัติของพระองคเ อง P ประวัติ สันนิษฐานวาศิลาจารึก หลักที่ ๑ จารึกข้ึนประมาณ พ.ศ. ๑๘๓๕ เปนปท่ีพอ ขนุ รามคำแหงมหาราชทรงสงั่ ใหส รา งพระแทน มนงั ศิลาบาตรและจารึกหลกั อื่น ๆ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยหู ัว ขณะทรงดำรงพระอสิ รยิ ยศเปนเจาฟา มงกฎุ ฯ และผนวชอยวู ดั ราชาธิวาสในรชั กาลท่ี ๓ ทรงนำศิลาจารึกของพอ ขนุ รามคำแหงมหาราชจากพระราชวงัเกากรงุ สุโขทยั มากรงุ เทพฯ พรอ มกบั พระแทน มนงั ศลิ าบาตรเมือ่ พ.ศ. ๒๓๗๖ ตอ มาไดมีการทำคำอา นและแปลเปน ภาษาไทยครง้ั แรกตามคำอา นของศาสตราจารยย อรช เซเดส และใน พ.ศ. ๒๕๒๑คณะกรรมการพิจารณาและจดั พิมพเ อกสารทางประวตั ศิ าสตร ไดต ง้ั อนุกรรมการขน้ึ มาคณะหนึง่เพื่ออานและตรวจสอบจารึกของพอขุนรามคำแหงมหาราช และไดจัดพิมพข้ึนเปนฉบับภาษาไทยทสี่ มบรู ณ ศิลาจารึกของพอขุนรามคำแหงมหาราช มีความสูง ๑ เมตร ๑๑ เซนติเมตร ปจจุบันประดิษฐานอยทู พ่ี พิ ิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร P ทำนองแต‹ง แตงเปนความเรียงรอยแกว แตบางตอนมีสมั ผัส P ความมุ‹งหมาย เพื่อบันทึกเหตุการณสำคัญของกรุงสุโขทัย สภาพบานเมืองในขณะนั้นและสดดุ พี ระเกียรตขิ องพอ ขุนรามคำแหงมหาราช P เรอ่ื งยอ‹ ศลิ าจารกึ ของพอ ขนุ รามคำแหงมหาราช มจี ารกึ ไวท ง้ั ๔ ดา น กลา วคอื ดา นท่ี ๑ทรงเลาพระราชประวัตขิ องพระองค ดา นท่ี ๒ ความตอ จากดา นท่ี ๑ ดา นที่ ๓ กลาวถึงการสรา งพระแทน มนงั ศลิ าบาตรในดงตาลสำหรบั พระสงฆแ สดงธรรม ดา นท่ี ๔ กลา วถงึ การกอ ตง้ั พระเจดยี บรรจพุ ระบรมสารีริกธาตุ การประดิษฐอ ักษรไทย และอาณาเขตอาณาจักรสุโขทัย P ตัวอย‹างขŒอความบางตอน พระราชประวัติของพอ ขุนรามคำแหงมหาราช “พอกูชือ่ ศรีอนิ ทราทติ ย แมกูชอื่ นางเสือง พี่กชู ่ือบานเมือง ตูพ่นี องทอ งเดยี วหา คน ผูชายสาม ผูหญิงโสง พ่เี ผอื ผูอ า ยตายจากเผือเตียม แตย ังเลก็ ” ความจงรกั ภกั ดขี องพอ ขนุ รามคำแหงมหาราชตอ พระราชบดิ า พระราชมารดา และพระเชษฐาพระองคทรงปฏิบตั สิ นองพระเดชพระคณุ “เมอื่ ชวั่ พอ กู กบู ำเรอแกพ อ กู กบู ำเรอแกแ มก ู กไู ดต วั เนอ้ื ตวั ปลา กเู อามาแกพ อ กู กไู ดห มากสมหมากหวานอันใดกินอรอยกินดี กูเอามาแกพอกู กูไปตีหนังวังชางได กูเอามาแกพอกู กูไปทบานทเมืองไดชางไดงวง ไดปวไดนาง ไดเงือนไดทอง กูเอามาเวนแกพอกู พอกูตายยังพ่ีกูกูพร่ำบำเรอแกพ ่กี ดู งั่ บำเรอแกพ อกู พีก่ ูตายจ่งึ ไดเมอื งแกก ูทงั้ กลม”

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾é×¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò 19 ความกลา หาญ เขม แขง็ ของพอ ขนุ รามคำแหงมหาราชในเหตกุ ารณท พี่ ระองคท รงชนชา งชนะขนุ สามชน เจา เมืองฉอด “พอ กูไปรบขนุ สามชน หัวซายขนุ สามชนขบั มา หวั ขวาขนุ สามชนเกล่ือนเขา ไพรฟ า หนาใสพอกูหนีญญายพายจแจน กูบหนี กูข่ีชางเบกพล กูขับเขากอนพอกู กูตอชางดวยขุนสามชนตนกูพุงชางขุนสามชนตัวชื่อมาสเมืองแพ ขุนสามชนพายหนี พอกูจึ่งขึ้นช่ือกูช่ือพระรามคำแหงเพอ่ื กพู งุ ชา งขุนสามชน” สภาพบานเมืองและความเปนอยูของประชาชน “ในนำ้ มีปลา ในนามีขาว เจาเมืองบเอาจกอบในไพรลูทาง เพื่อนจูงวัวไปคา ข่ีมาไปขายใครจกั ใครคา ชา งคา ใครจกั ใครค ามา คา ใครจกั ใครคา เงอื น (เงนิ ) คาทองคา” การชลประทาน “กลางเมอื งสโุ ขทยั นี้ มีน้ำตระพงั โพยสีใสกินดี ดงั กินน้ำโขงเม่ือแลง ... เบ้อื งหัวนอนเมอื งสุโขทยั นี้ มกี ฎุ ีพหิ ารปคู รูอยู มีสรดี ภงส...” การประดษิ ฐอกั ษรไทย “เมื่อกอนลายสือไทนี้บมี ๑๒๐๕ ศกปมะแม พอขุนรามคำแหงหาใครใจ ในใจแลใสลายสอื ไทน้ี ลายสือไทนีจ้ ่ึงมีเพ่ือขนุ ผูนัน้ ใสไ ว” P คณุ คา‹ ของวรรณคดี ศลิ าจารกึ ของพอ ขนุ รามคำแหงมหาราชมคี ณุ คา ทางวรรณกรรมมาก โดยเฉพาะดา นภาษาศาสตรเพราะเปนตนกำเนิดของภาษาไทยในปจจุบัน ท้ังในแงของตัวอักษร วิธีการเขียน การใชคำและหลักภาษา นอกจากน้ียังมีคุณคาดานประวัติศาสตร ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ความเชื่อกฎหมาย การปกครอง ตลอดจนสภาพการณบ านเมอื งในอดีต และท่สี ำคัญ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ยงั มอี ทิ ธพิ ลตอ การแตง วรรณคดสี มยั ตอ ๆ มาหลายเรอ่ื ง เชน ลลิ ติ ตำนานพระแทน มนงั ศลิ าบาตรของพระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระนราธิปประพนั ธพ งศ๒. สภุ าษิตพระรว‹ ง P ผูŒแต‹ง ยังไมมีขอสรุปที่แนนอนวาใครเปนผูแตง แตสันนิษฐานวา อาจแตงขึ้นในสมัยพอขุนรามคำแหงมหาราชหรือหลังสมัยสุโขทัยก็เปนได และในปจจุบันอาจมีการดัดแปลงหรือแตง เตมิ จนคลาดเคล่ือนจากของเดมิ ไปบาง P ประวัติ สภุ าษติ พระรวง เรยี กอีกอยางหน่ึงวา บัญญัตพิ ระรว ง ปรากฏหลักฐานเกาแกท่ีสุดคือ จารึกอยูที่ผนังระเบียงดานหนาพระมหาเจดียองคเหนือของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลา-รามในรัชกาลท่ี ๓ แหงกรุงรัตนโกสินทร และพิมพครั้งแรกในประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯฉบบั หอพระสมุดวชิรญาณรวบรวม P ทำนองแต‹ง ตอนตนแตงดวยรายสุภาพ จบแบบโคลงสองสุภาพ ตอนทายเปนโคลงกระทูห นงึ่ บท P ความมงุ‹ หมาย เพือ่ สง่ั สอนประชาชน

20 ˹ѧÊ×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾é×¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ òP เร่ืองย‹อ เร่มิ ตน กลาวถึงพระรวงเจา กรุงสุโขทยั ทรงมงุ ประโยชนใ นกาลภายหนา จงึ ทรงบัญญตั สิ ภุ าษติ สำหรับสอนประชาชนขึ้นไว สภุ าษติ บทแรก คือ “เมอื่ นอ ยใหเรียนวชิ า ใหหาสินเม่ือใหญ” มสี ภุ าษิตทั้งหมด ๑๕๘ บท บททา ยสดุ เปนโคลงกระทูP ตัวอย‹างขŒอความบางตอนบทแรก“เมอื่ นอ ยใหเรยี นวชิ า ใหห าสนิ เมื่อใหญ อยาใฝเ อาทรพั ยท าน อยา รริ านแกความ”สุภาษิต“หนา ศกึ อยา นอนใจ ไปเรอื นทา นอยา นง่ั นาน การเรอื นตนเรง คดิ อยา นงั่ ชดิ ผใู หญ อยา ใฝส งูใหพ น ศกั ดิ์ ที่รักอยาดถู กู ”บทสุดทา ย“บัณ เจิดจำแนกแจง พสิ ดาร ความเอยฑิต ยุบลบรรหาร เหตุไวพระ ปนนัคราสถาน อดุ รสุข ไทยนารว ง ราชนามน้ไี ด กลาวถอยคำสอน”P คณุ คา‹ ของวรรณคดีสุภาษิตพระรวงเปนคติโลกและคติธรรม ใชถอยคำคลองจองกัน สำนวนกะทัดรัดจับใจจึงมีผูจดจำไวไดมาก และนำไปอางไวในวรรณคดีเรื่องอื่น ๆ เชน กาพยมหาชาติ รายยาวมหาเวสสันดรชาดก เสภาเรื่องขุนชา งขุนแผนสุภาษิตพระรวงแสดงถึงชีวิตและคานิยมเชิงสังคมของคนไทยไวหลายแงมุม เชน ยกยองความสำคญั ของการศึกษา รกั ความสงบ มีมารยาทเรยี บรอ ย และสภุ าพออ นนอ ม ๓. ไตรภมู พิ ระรว‹ ง P ผูŒแต‹ง พระมหาธรรมราชาที่ ๑ หรือพระยาลิไทย ทรงพระราชนิพนธไตรภูมิพระรวงเมอ่ื พ.ศ. ๑๘๙๖ ขณะครองเมอื งศรสี ชั นาลยั ได ๖ ป ดงั ปรากฏขอ ความในบานแผนกของหนงั สอืไตรภูมิพระรวงวา “เจาพระญาเลไทยผูเปนลูกแหงเจาพระญาเลลิไทยผูเสวยราชสมบัติในเมืองศรีสชั ชนาลัยและสกุ โขทัย และเจา พระญาเลไทยน้ี ธ เปนหลานเจา พระญารามราช ผเู ปนสรุ ยิ วงศและเจาพระญาเลไทยไดเ สวยราชสมบัตใิ นเมืองสชั ชนาลัยอยไู ด ๖ เขา จึงไดไ ตรภมู ิ” P ประวัติ ไตรภมู พิ ระรวง เดมิ เรียกวา “เตภมู กิ ถา” หรือ “ไตรภูมิกถา” ตอ มาสมเดจ็พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพทรงเปลย่ี นชอ่ื ใหมว า “ไตรภมู พิ ระรว‹ ง” เพอื่ เฉลมิพระเกียรติพระรวงเจาแหงกรุงสุโขทัย ไตรภูมิพระรวงฉบับเกาท่ีสุดบันทึกไวในใบลานดวยอักษรขอม เมอื่ พ.ศ. ๒๓๒๑ โดยพระมหาชว ย วดั ปากน้ำ หรอื วดั กลาง จังหวัดสมุทรปราการ ในสมยัสมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช และนายวิทูร มลวิ ลั ย ไดต รวจสอบอีกคร้ังใน พ.ศ. ๒๕๑๗ P ทำนองแต‹ง ความเรียงรอยแกว P ความมงุ‹ หมาย เพื่อทรงแสดงธรรมโปรดพระราชมารดาและสงั่ สอนประชาชน

˹ѧÊÍ× àÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾×é¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò 21 P เรอ่ื งยอ‹ เรม่ิ ตน บานแผนกบอกผแู ตง วนั เดอื น ปท แ่ี ตง หลกั ฐานประกอบการเรยี บเรยี งวาไดมาจากคัมภีรทางพุทธศาสนาถึง ๓๐ คัมภรี  และไดจากสำนกั ซงึ่ เปน สถานศึกษาของผแู ตงและบอกความมุงหมายท่ีแตงวา เพ่ือเจริญพระอภิธรรมเทศนาโปรดพระราชมารดา และส่ังสอนประชาชนใหรูจักบาปบุญคุณโทษตั้งอยูในคุณงามความดี เนื้อเร่ืองเปนการอธิบายภูมิท้ัง ๓ คือกามภมู ิ รปู ภมู ิ อรูปภูมิ กามภูมิ แบงออกเปน ๑๑ ภมู ิ คอื ทุคติภมู ิ หรอื อบายภูมิ ๔ ไดแ ก นรก เปรต อสรุ กาย และดิรัจฉาน สุคติภูมิ คือ มนุสสภมู ิ ๑ สวรรค ๖ ทีเ่ รียกวา ฉกามาพจร คือ จาตมุ หาราชิกา ดาวดึงสยามา ดุสติ นมิ มานรดี ปรนมิ มติ วสวัตดี รูปภมู ิ แบง เปน พรหมชนั้ ตาง ๆ ๑๖ ชนั้ ตามภมู ิธรรม ดังนี้ ปฐมฌาน ๓ ชัน้ คอื พรหมปาริสัชชา พรหมปุโรหติ า มหาพรหมา ทุติยฌาน ๓ ชัน้ คอื ปริตาภา อัปปมาณภา อาภสั สรา ตตยิ ฌาน ๓ ชัน้ คอื ปรติ ตสภุ า อัปปมาณสุภา สุภกณิ หา จตตุ ถฌาน ๗ ช้นั คือ เวหัปผลา อสัญญสี ัตตา อวหิ า อตัปปา สทุ สั สา สุทสั สี อกนิฏฐาพรหม ๕ ชนั้ ต้ังแตอวหิ าจนถึงอกนฏิ ฐา มีชือ่ รวมวา พรหมชัน้ สทุ ธาวาส อรูปภูมิ แบงออกเปน ๔ ชน้ั คือ อากาสานัญจายตนะ วญิ ญาณญั จายตนะ อากิญจญั ญา-ยตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ตอนตอ ไปกลา วถึงการไดกำเนิดและสภาพความเปนไปแหงภมู ินน้ั ๆ อยางละเอียดลออ P ตัวอย‹างขอŒ ความบางตอน ชา งเอราวณั “องคพระอินทรน นั้ สงู ได ๖,๐๐๐ วา แลประดับนีด้ ว ยแกว ถนิมอาภรณท ้งั หลาย แล ธ นั่งเหนือแทนแกวนน้ั หัวชา งได ๓๓ หัวไส พระอนิ ทร ธ ใหเ ทพยดาทัง้ หลายข่ี ๓๒ หวั นัน้ มบี ญุเพียงประดุจพระอินทรไ ส ฯ อันวาหัวชา งทั้ง ๓๓ หวั แลหวั ๆ มีงา ๗ อนั แลงาละอนั ยาวได๔๐๐,๐๐๐ วา แลงาน้นั มีสระได ๗ สระ ๆ แลสระน้นั มีบวั ได ๗ กอ ๆ บัวแลกอน้นั มีดอก ๗ดอก ๆ แลอันนั้น มีกลีบ ๗ กลีบ ๆ แลอัน ๆ น้ันมีนางฟายืนรำระบำบรรพตแล ๗ คนแลคน ๆ นนั้ มสี าวใชได ๗ คนโสด ชา ง ๓๓ หัว น้นั ได ๒๓๑ งา สระนนั้ ได ๑,๖๑๗ สระแลกอบวั ในสระนนั้ ได ๑๑,๓๑๙ กอ แลดอกบวั น้นั ได ๗๙,๒๓๓ ดอก แลกลบี ดอกบวั นนั้ ไสไ ด๕๕๔,๖๓๑ กลีบ แลนางฟาอันรำระบำน้ันได ๓,๘๘๒,๔๑๗ นาง แลสาวใชนางระบำนั้นได๒๗,๑๗๖,๙๑๙ คน แลมอี ยใู นงาชา งไอยราวรรณน น้ั แลมสี ถานทแ่ี หง ๑ โดยกวา งได ๕๐ โยชนเปนทอ่ี ยูแ หง ฝงู นางรำระบำแลบรวิ ารของนางทงั้ หลายน้ันดวย ฯ” P คณุ คา‹ ของวรรณคดี ไตรภมู พิ ระรว งนบั เปน คมั ภรี ท างพระพทุ ธศาสนาเลม แรกทแ่ี ตง ในประเทศไทย มกี ารศกึ ษาคน ควาขอ มลู จากคัมภีรต าง ๆ มากถึง ๓๐ คัมภีร ระบุผแู ตง วัน เดอื น ปท ี่แตง และความมงุ หมายในการแตง ครบถว น มคี ณุ คา ทงั้ ดา นภาษาศาสตร ศาสนา และสงั คม มอี ทิ ธพิ ลเหนอื จติ ใจของคนไทยมาเปนเวลานานจวบจนปจจุบนั

22 ˹ѧÊÍ× àÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾¹é× °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò ๔. ตำรับทาŒ วศรีจฬุ าลกั ษณ P ผŒูแต‹ง นางนพมาศ เปนธดิ าของพระศรีมโหสถกบั นางเรวดี บดิ าเปน พราหมณป โุ รหิตในรัชกาลพระรว งเจา ซง่ึ สนั นิษฐานกันวาเปน พระยาลิไทย นางนพมาศไดรับการอบรมสัง่ สอนจากบดิ าทงั้ ทางจรยิ ศกึ ษาและพทุ ธศิ กึ ษา มคี วามรสู งู ทง้ั ภาษาไทยและสนั สกฤต พระพทุ ธศาสนา ศาสนาพราหมณ การแตง กาพยก ลอน โหราศาสตร การขับรองและการชา งสตรี นางนพมาศไดถ วายตวัรับราชการในพระรวงเจา มีความดีความชอบพิเศษ เชน ประดิษฐโคมลอยพระประทีปเปน รปู ดอกบวั ไดรับตำแหนงเปน สนมเอก มีบรรดาศักดิเ์ ปน ทาวศรจี ฬุ าลักษณ P ประวัติ หนังสือเรื่องตำรับทาวศรีจุฬาลักษณ มีช่ืออยางอ่ืนวา เรวดีนพมาศ หรือนางนพมาศ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงวินิจฉัยไวในคำนำฉบับพมิ พค รง้ั แรก เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๗ วา เรอ่ื งราวของหนงั สอื อาจมจี รงิ แตส ำนวนภาษาคงจะแตง ขน้ึ ใหมระหวางรัชกาลท่ี ๒ กับรัชกาลท่ี ๓ โดยเฉพาะนิทานแทรกเร่ือง นางนกกระตอยตีวิด นางนกกระเรียน และนางชาง ซ่งึ เปนขอความเปรียบเทียบบริภาษความประพฤติของนางใน สันนิษฐานวา เปน พระราชนพิ นธใ นพระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา เจาอยูห ัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชวินิจฉัยวา นพมาศ เดิมคงหมายถึงพิธี ๙ เดอื น คอื เวน เขา พรรษา ๓ เดอื น ขอความท่ียืนยันแจงชัดใหเห็นวา หนังสือเรื่องน้ีมีผูแตงเติมเพ่ิมขอความขึ้นใหมภายหลังคอื ตอนทว่ี า ดว ยชนชาตฝิ รง่ั หลายชาตซิ ง่ึ ยงั ไมไ ดเ ขา มาในประเทศไทยสมยั กรงุ สโุ ขทยั โดยเฉพาะอยางย่ิง คำวา อเมริกัน ก็เพ่ิงเกิดขึ้นครั้งกรุงศรีอยุธยา๑ เพราะฝร่ังชางทำแผนท่ีคนหน่ึงไปทำแผนทใ่ี หป รากฏรไู ดช ดั วา เปน ทวปี หนงึ่ ตา งหาก มใิ ชอ นิ เดยี ฝา ยตะวนั ตกอยา งทเ่ี ขา ใจกนั มาแตก อ นจงึ ไดเ รียกทวีปนน้ั วา อเมรกิ า นอกจากน้ยี งั มขี อ ความกลาวถึงปน ใหญซงึ่ ยังไมมใี นสมัยนัน้ ดว ย P ทำนองแต‹ง แตงเปนความเรียงรอยแกว บางตอนเปนบทดอกสรอยซ่ึงแตงเพ่ิมเติมภายหลัง P ความมุ‹งหมาย เพื่อกลาวถึงวัฒนธรรมดานประเพณีที่ปฏิบัติกันในสมัยสุโขทัย และเพอ่ื เปน หลกั ในการประพฤตปิ ฏิบัติตนแกข า ราชการฝายใน P เรื่องย‹อ เริ่มตนกลาวถึงประเทศ ภาษา และชนชาติตาง ๆ เชน ชมพูประเทศมัชฌิมประเทศ ปจจันตประเทศ และสิงหลประเทศ แบงเปนภาษาตาง ๆ เชน มคธพากยสยามพากย หรภิ ุญชัยพากย กัมพุชพากย และกลาวถึงชนชาตติ า ง ๆ เชน ไทย ลาว เขมร พมารามัญ และมะริกัน (อเมริกัน) ตอจากนั้นยอพระเกียรติพระรวงเจาและสภาพความเปนอยูของสโุ ขทยั ประวัตนิ างนพมาศตั้งแตเ ยาวว ยั การศกึ ษา การเขารบั ราชการ ความดคี วามชอบในขณะรบั ราชการ โดยประดษิ ฐโ คมรปู ดอกบวั พานหมากสองชน้ั รบั แขกเมอื ง และพานดอกไมส ำหรบั บชู า ๑ ชาวอเมรกิ นั ประกาศอสิ รภาพจากองั กฤษเมอ่ื พ.ศ. ๒๓๑๙ ตรงกบั วนั ท่ี ๔ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๗๗๖ ชาวอเมรกิ นัจงึ ถอื วนั ที่ ๔ กรกฎาคม เปน วันชาติ

˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾×¹é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò 23พระรัตนตรัย บรรยายถึงคุณธรรมของนางสนม ตลอดจนพระราชพิธีตาง ๆ เชน พระราชพิธีจองเปรยี งลอยพระประทปี พระราชพิธีคเชนทรัศวสนาน พระราชพิธีจรดพระนงั คัล P ตัวอยา‹ งขอŒ ความบางตอน๑ ประวตั ิลอยกระทง “คร้ันถึงโคมรูปดอกกระมุทของขานอย สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงทอดพระเนตรพลางตรสั ชมวา โคมลอยอยา งนง้ี ามประหลาดยงั หาเคยมไี ม เปน โคมของผใู ดคดิ กระทำ ทา วศรรี าชศกั ด์ิโสภาก็กราบบังคมทูลวา โคมของนางนพมาศธิดาพระศรีมโหสถ...จึงมีพระราชบริหารบำหยัดสาปสรรวา แตน้ีสืบไปเบ้ืองหนาโดยลำดับกษัตริยในสยามประเทศถึงกาลกำหนดนักขัตฤกษวันเพ็ญเดือนสิบสองพระราชพิธีจองเปรียงแลว ก็ใหกระทำโคมลอยเปนรูปดอกกระมุท อุทิศสักการะบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเทากัลปาวสาน อันวาโคมลอยรูปดอกกระมุทก็ปรากฏมาจนเทาทกุ วันน้”ี วิจารณน างใน “บางคนงามพิมพพักตรผุดผองด่ังนวลเดือน นัยนเนตรคมขํายิ้มแลวจึงกลาววาจาแตป ระพฤตติ นเหมือนดวยปอมขาง ไวจ ริตกริ ยิ าสงู สง ดงั นี้ก็มี บางคนงามสะสวยระทวยทอดกรกรายชายนยั นาดงั ศรแสลงแทงหทยั จะตกแตง กายาชา งชา เสยี ทกุ อยา ง ออกจากจวนกจ็ วนจะไมท นัเพลาเฝารับราชกิจพอเปนกิริยาบุญบางเล็กนอย ไมนั่งนาน ตะหลิบแลนเร็วเหมือนปูลมชมกันวาด”ี P คุณค‹าของวรรณคดี หนงั สอื เรอื่ งนางนพมาศใหค วามรทู างขนบธรรมเนยี มประเพณเี ปน อนั มาก พระบาทสมเดจ็ -พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงใชเปนหลักฐานสําคัญในการทรงพระราชนิพนธพระราชพิธีสบิ สองเดอื น ความสาํ คญั อกี ประการหนงึ่ กค็ อื การแสดงใหเ หน็ ศลิ ปะการชา งสตรี เชน การประดษิ ฐโคมลอย การจัดดอกไม หนังสือน้ีเชื่อกันวาไดมีการดัดแปลงแตงเติมภาษาและสํานวนผิดแผกไปจากของเดิมเปนอันมาก๑ทา วศรีจุฬาลกั ษณ. นางนพมาศ หรือ ตำรับทาวศรีจฬุ าลกั ษณ. (พระนคร : ศิลปาบรรณาคาร, ๒๕๑๓).

24 ˹ѧÊ×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾é×¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò ประวตั วิ รรณคดแี ละวรรณกรรมสมยั อยธุ ยาตอนตนŒ (พ.ศ. ๑๘๙๓–๒๐๗๒) สภาพบŒานเมอื งสมยั อยุธยาตอนตŒน กรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน เมอื งหลวงของไทย กอ ตงั้ ขน้ึ โดยสมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๑ (พระเจา อทู อง)ใน พ.ศ. ๑๘๙๓ เปนอาณาจักรที่เขมแข็ง มั่งคั่ง และบริบูรณดวยนักปราชญราชบัณฑิตเจริญรงุ เรอื งยาวนานถึง ๔๑๗ ป จนกระท่งั เสยี แกพ มา ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ สมัยสมเดจ็ พระเจาเอกทศั เนอื่ งจากกรงุ ศรีอยธุ ยามอี ายยุ าวนาน ในการศึกษาวรรณคดจี ึงไดแบงชว งเวลาออกเปน ๓ชวง เพื่อใหงายตอการศึกษาขอมูล คือ๑. สมยั อยุธยาตอนตน เรม่ิ ตงั้ แตส มเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๑ ข้นึ ครองราชย พ.ศ. ๑๘๙๓ถงึ สมัยสมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๒ พ.ศ. ๒๐๗๒ ๒. สมยั อยธุ ยาตอนกลาง ตง้ั แตร ชั กาลสมเดจ็ พระเจา ทรงธรรม พ.ศ. ๒๑๕๔ ถงึ สมยั สมเดจ็พระนารายณมหาราช พ.ศ. ๒๒๓๑ ๓. สมัยอยุธยาตอนปลาย ตั้งแตรัชกาลสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ พ.ศ. ๒๒๗๕ถงึ สมัยสมเด็จพระเจาเอกทัศ พ.ศ. ๒๓๑๐ตามหลกั ฐานในพงศาวดารกลา ววา พระเจาอูทอง เดิมเปน เจา เมอื งอูทอง ตอมาไดอพยพมาต้ังเมืองใหมท่ีตำบลหนองโสน หรือบึงพระราม ฝงทิศตะวันตกของแมน้ำเจาพระยา และไดส ถาปนาตนเองข้ึนเปนกษัตริย ทรงพระนามวา สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงขนานนามเมอื งที่ต้ังขึ้นใหมวา กรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา เม่ือ พ.ศ. ๑๘๙๓ และไดพัฒนาบานเมืองใหเปน ปก แผน มั่นคง และมีอำนาจทางการเมืองเหนืออาณาจกั รอน่ื บริเวณลุมแมน้ำเจา พระยา ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตน มีเหตุการณสำคัญซึ่งมีผลกระทบตอความเปล่ียนแปลงบา นเมือง ดังนี้ พ.ศ. ๑๘๙๓ พระเจาอูทองทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๑๙๒๑ สุโขทยั ตกเปนประเทศราชของอยธุ ยา พ.ศ. ๑๙๙๑ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถขึน้ ครองราชย พ.ศ. ๒๐๑๗ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถยกทัพไปตีเมอื งเชียงชื่น พ.ศ. ๒๐๕๘ สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๒ ยกทพั ไปตเี มืองเชยี งใหม พ.ศ. ๒๐๙๑ พระเจาหงสาวดีตะเบงชะเวต้ยี กทัพมาตีกรงุ ศรีอยุธยา สมเด็จพระสุรโิ ยทัยขาดคอชาง พ.ศ. ๒๑๑๑–๒๑๑๒ พระเจาบุเรงนองยกทัพมาตีอยธุ ยา เสียกรุงครง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๑๒๗ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศอิสรภาพจากพมาที่เมอื งแครง พ.ศ. ๒๑๓๕ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชกระทำยุทธหตั ถี พระมหาอปุ ราชาขาดคอชา ง พ.ศ. ๒๑๔๔ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชยกทัพไปตหี งสาวดสี ำเรจ็

˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾×¹é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò 25พ.ศ. ๒๑๖๓–๒๑๗๓ พระศรศี ิลป พระราชโอรสของสมเด็จพระเอกาทศรถ ขน้ึ ครองราชย ทรงพระนามวา พระเจา ทรงธรรม ความเจริญดาŒ นวรรณคดี สมัยอยุธยาตอนตน บานเมืองมีความเจริญรุงเรืองในหลาย ๆ ดาน เชน การปกครองการทหาร การศาสนา การคาขาย และศิลปกรรม แตในดานวรรณคดีน้ันไมคอยเจรญิ รุงเรืองนกัอาจจะเปน เพราะบานเมอื งเกดิ ศึกสงครามบอ ย ๆ และวรรณกรรมถูกเผาทำลายไป หรือสญู หายไปกอนทีจ่ ะตกทอดมาถงึ รุน ปจ จบุ นั เราจงึ ไมมีหลักฐานทางวรรณกรรมใหไ ดศึกษามากนกั จากหลักฐานเทาท่ีพบทราบวา วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนตน สวนใหญเปนเร่ืองเกี่ยวกับศาสนา พธิ ีกรรม และพระมหากษตั รยิ  คลายคลงึ กบั สมัยสโุ ขทยั แตแตง ดวยรอยกรองโดยมคี ำประพนั ธท ้ังโคลง ฉนั ท กาพย รา ย และลลิ ติ ยกเวน กลอนไมพบหลักฐานวามี วรรณคดที ี่สำคญั มีดงั นี้ ๑. ลลิ ติ โองการแชง น้ำ ๒. ลลิ ิตยวนพา ย ๓. มหาชาติคำหลวง ๔. ลิลิตพระลอ ๕. โคลงกำสรวล ๖. โคลงทวาทศมาส ๗. โคลงหรภิ ุญชัย๑ ๘. สมุทรโฆษคำฉันทต อนตน ๑แตง ไวเ ปน ภาษาลา นนาในสมยั อยธุ ยาตอนตน แตม าปรวิ รรตเปน ภาษาไทยภาคกลางในสมยั สมเดจ็ พระนารายณมหาราช

26 ˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾é×¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ òความสมั พนั ธระหวา‹ งเหตุการณบาŒ นเมอื งและวรรณคดีในสมยั อยธุ ยาตอนตน มเี หตุการณบ านเมืองและวรรณคดีเกดิ ขึน้ ดงั น้ี ความสมั พันธร ะหว‹างเหตุการณท างประวตั ศิ าสตรแ ละวรรณคดี พ.ศ. เหตกุ ารณท างประวตั ศิ าสตร ความเคลื่อนไหวทางวรรณคดี๑๘๙๓๒๐๑๗ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๑ (พระเจา อทู อง) แตง ลลิ ติ โองการแชง นำ้๒๐๒๕ ทรงสถาปนากรงุ ศรอี ยุธยา๒๐๓๑ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงตี แตง ลลิ ติ ยวนพา ย (สนั นษิ ฐาน)๒๐๓๔ ไดเ มืองเชียงชนื่ (เชลยี ง)๒๐๖๐ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให แตง มหาชาตคิ ำหลวง แตง ลลิ ติ พระลอ ฉลองวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุ (พษิ ณโุ ลก) (สนั นษิ ฐาน) สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสวรรคต แตง โคลงทวาทศมาส (สนั นษิ ฐาน) สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๓ เสด็จขน้ึ ครองราชย สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๓ แตง ลลิ ติ ยวนพา ย (สนั นษิ ฐาน) สวรรคต สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๒ แตง โคลงกำสรวล (สนั นษิ ฐาน) เสด็จขึ้นครองราชย แตง ลลิ ติ พระลอ (สนั นษิ ฐาน) แตง สมทุ รโฆษคำฉนั ทต อนตน (สนั นษิ ฐาน) แตง โคลงหรภิ ญุ ชยั (สนั นษิ ฐาน)๒๐๖๑ แตง ตำราพชิ ยั สงคราม๒๐๖๒ สมเดจ็ พระบรมราชาหนอพทุ ธางกรู เสดจ็ ขึ้นครองราชย

˹§Ñ ÊÍ× àÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò 27 วรรณคดสี ำคัญ ๑. ลิลติ โองการแช‹งน้ำ P ผูŒแต‹ง สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานวาอาจแตงในสมยั สมเด็จพระรามาธิบดที ี่ ๑ (พระเจา อทู อง) ผูแตง คงจะเปน ผูร ูพิธพี ราหมณแ ละรวู ธิ ีการประพนั ธของไทยเปนอยางดี P ประวัติ ตนฉบับท่ีเหลืออยูเขียนดวยอักษรขอม นับเปนวรรณคดีเรื่องแรกของไทยที่แตง เปน รอ ยกรองอยา งสมบรู ณแ บบ เรยี กวา โองการแชง นำ้ บา ง ประกาศแชง นำ้ โคลงหา บา ง ตน ฉบบัท่ีถอดเปนอักษรไทยจัดวรรคตอนการประพันธคอนขางสับสน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยหู วั ทรงสอบทานและทรงพระราชวินิจฉยั เรียบเรยี งวรรคตอนขึ้นใหม P ทำนองแต‹ง แตง ดวยลลิ ติ คือ มรี า ยกับโคลงสลบั กัน รายเปน รา ยดน้ั โบราณ โคลงเปนโคลงแบบโคลงหา หรอื มณฑกคติ ภาษาทใ่ี ชเ ปน คำไทยโบราณ คำเขมร และคำบาลสี นั สกฤตปะปนอยดู วย P ความมง‹ุ หมาย ใชอ า นในพระราชพธิ ถี อื นำ้ พระพพิ ฒั นส ตั ยาหรอื พระราชพธิ ศี รสี จั จปาน-กาลเพอื่ แสดงความจงรักภกั ดี P เร่อื งย‹อ เรมิ่ ตนดวยการสรรเสริญพระนารายณ พระอศิ วร และพระพรหม ตอจากนัน้กลาวถึงไฟไหมโลก แลวพระพรหมสรางโลกใหม เกิดมนุษย พระอาทิตย พระจันทรการกำหนด วัน เดือน ป และการเริ่มมีพระราชาธิบดีในหมูคน กลาวออนวอนในสิ่งศักดิ์สิทธ์ิเรืองอำนาจ มพี ระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ เทพยดา อสูร ภูตผีปศาจ มาลงโทษตอ ผคู ิดคดกบฏตอพระเจาแผนดิน สวนผูที่ซื่อสัตยจงรักภักดี ขอใหมีความสุข มีลาภยศ ตอนจบเปนรายยอพระเกียรติพระเจาแผน ดิน P ตัวอย‹างขŒอความบางตอน สรรเสรญิ พระนารายณ “โอมสิทธิสรวงศรีแกลว แผว มฤตยู เอางเู ปน แทน แกวนกลืนฟากลืนดิน บินเอาครฑุ มาขส่ี ม่ี อื ถอื สงั ขจ กั รคธาธรณี ภรี อุ วตาร อสรู แลงลาญทกั ททคั นจิ รนายฯ (แทงพระแสงศรปลยั วาต)” คำสาปแชงผคู ิดกบฏตอ พระเจาแผนดนิ “...พวกพอ งญาติกาไสร ไขวใ จจอด ทอดใจรกั ชกั เกลอสหาย ตนท้ังหลายมาเพอ่ื จะทำขบถทดโทรห แกเจาตนไสร จงเทพยดุ า ฝงู นีใ้ หต ายในสามวัน อยาใหท ันในสามเดอื น อยาใหเ คลอื่ นในสามป อยา ใหมีสุขสวัสดีเมื่อใด อยากินเขา เพอ่ื ไฟจนตาย” P คุณค‹าของวรรณคดี ๑) วฒั นธรรมประเพณี พระราชพธิ ถี ือน้ำพระพพิ ฒั นส ตั ยา เปน พิธีกรรมสำคัญท่ีสืบเนอื่ งมาต้งั แตส มัยสมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ ๑ (พระเจา อูทอง) โดยไดรบั อทิ ธิพลมาจากขอม คือ เปนพิธีศกั ดสิ์ ิทธิท์ ่ีสบื ทอดกันมาจนกระท่ังยกเลิกไปหลงั เปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ๒) ดานความเชื่อ เปนการแสดงความเชื่อตามคติของพราหมณท่ีเช่ือวาพระพรหมเปนผูสรางโลก ใหกำเนดิ มนษุ ยแ ละสรรพสิ่ง

28 ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾¹×é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò วรรณคดีเร่ืองน้ีกำเนิดจากพระราชพิธีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย แสดงถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมเขมรและพราหมณอยางชัดเจน สมเด็จพระเจาอูทองทรงรับการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย และพระราชพิธีศรีสัจจปานกาลจากเขมรมาใช เพ่ือใหเหมาะสมกับภาวการณของบา นเมืองทต่ี องการสรางอำนาจปกครองของพระเจา แผน ดนิ และความมง่ั คง่ั มน่ั คงของบานเมืองในระยะท่ีเพงิ่ กอต้งั พระราชอาณาจักร ๒. มหาชาตคิ ำหลวง P ผูŒแต‹ง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถรับส่ังใหนักปราชญราชบัณฑิตชวยกันแตงเมื่อจุลศกั ราช ๘๔๔ หรอื พุทธศักราช ๒๐๒๕ P ประวตั ิ มหาชาตคิ ำหลวงนถี้ อื เปน หนงั สอื เรอื่ งมหาชาตฉิ บบั ภาษาไทย และหนงั สอื คำหลวงเร่ืองแรกของไทย ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนพบวา ฉบับเดิมสูญหายไป ๖ กัณฑ คือกัณฑหิมพานต ทานกัณฑ จุลพน มัทรี สักกบรรพ และฉกษัตริย พระบาทสมเด็จพระพุทธ-เลิศหลานภาลัยจึงมีพระบรมราชโองการใหพระราชาคณะและนักปราชญราชบัณฑิตแตงซอมใหครบ ๑๓ กณั ฑ เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๕๗ P ทำนองแต‹ง เปนหนังสือประเภทคำหลวง มีคำประพันธหลายอยาง คือ โคลง รายกาพย และฉันท มภี าษาบาลแี ทรกตลอดเรอ่ื ง P ความมงุ‹ หมาย เพื่อใชอ า นหรือสวดในวนั สำคัญทางศาสนา P เรื่องย‹อ เปนเร่ืองราวของพระเวสสันดร ซึ่งเปนนิทานชาดกเกี่ยวกับการบําเพ็ญทานบารมีของพระพุทธเจาในพระชาติสุดทายกอนไดตรัสรู เน้ือเร่ืองแบงเปน ๑๓ กัณฑ คือกัณฑทศพร กัณฑหิมพานต กัณฑทานกัณฑ กัณฑวนปเวสน กัณฑชูชก กัณฑจุลพนกัณฑมหาพน กัณฑกุมาร กัณฑมัทรี กัณฑสักกบรรพ กัณฑมหาราช กัณฑฉกษัตริย และกณั ฑน ครกัณฑ P ตวั อยา‹ งขŒอความบางตอน กัณฑท านกณั ฑ ตอนพระนางผุสดคี ร่ำครวญ เม่อื พระเวสสนั ดรจะจากเมอื ง “ผุสสฺ ตปี  โข เทวี ปตุ ฺตสสฺ เม กฏก สาสนํ อาคตํ กนิ ฺนโุ ข กโรต,ิ อหํ คนฺตฺวา ชานิสฺสามตี ิแมอนนวาทาวเทพี สบรรษดีดาลตระดกจิตร ขอนขอนคิดคระหลไหคระหวล ควร�ขาวรอนลูกมาลุแมมิอยารา คราน้ีพอแกวตาตนกลม จะปรารมภริการย ไฉนน้ีนะหนอ แมแสนอาดูรพอผยู ิ่งญาตอิ ยกู ลใด มากูจะไปใหด ลเดียงถนัด นอยหนึ่งเทอญ” กัณฑมหาพน ตอนชูชกถามอจั จุต�ษีถงึ ทางไปเฝา พระเวสสนั ดร “อทิฏฐปุพฺโพ สิวิราชา กูนี้พราหมณพฤธิ เปนบโรหิต นานเห็นภูธร สิวีหิ วิปฺปวาสิโตไพรฟ า หนาใส ชาวเชตอุดร กำจัดทา วจร จากเมอื งมานาน ตมหํ ทสสฺ นมาคโต กมู าใชเ ข็น เพือ่ จักใครเ หน็ ทา นเจา ใจหวาน ยทิ ชานาสิ สสํ เม ผไิ ทยังรู ท่ีพระภบู าล บอกแจง อยานาน ตขู า ขอฟงง ฺหน่ึงรา ฯ”

˹§Ñ Ê×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×¹é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò 29 P คณุ ค‹าของวรรณคดี มหาชาตคิ ำหลวงเปน วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาโดยตรง แตง โดยแทรกภาษาบาลลี งไปทำใหค อ นขา งอา นยาก แตก เ็ ปน วรรณกรรมทท่ี รงคณุ คา ทง้ั ดา นภาษาศาสตร มอี ทิ ธพิ ลตอ วฒั นธรรมประเพณี ความเช่อื และคานยิ มของคนไทยมาจนทกุ วนั นี้ อนงึ่ มหาชาตคิ ำหลวงยงั เปน ตน แบบใหก วหี รอื นกั ปราชญร าชบณั ฑติ สมยั หลงั ใชเ ปน แนวทางในการนพิ นธเ รอ่ื งมหาชาตขิ น้ึ อกี หลายสำนวน เชน กาพยม หาชาตใิ นรชั กาลสมเดจ็ พระเจา ทรงธรรมมหาชาติคำฉันทสมัยรัตนโกสินทร และภาพจิตรกรรมเรื่องมหาชาติตามผนังโบสถวิหารตาง ๆดวย ๓. ลิลิตยวนพ‹ายP ผูแŒ ต‹ง ไมปรากฏผูแตงP ประวัติ สันนษิ ฐานวา แตง ในรชั กาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ราว พ.ศ. ๒๐๑๗ แตก ็มีความเห็นอีกฝายหน่ึงที่สันนิษฐานวาแตงในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ พ.ศ. ๒๐๓๒–๒๐๗๒คำวา “ยวน” ในลิลติ เรื่องนี้หมายถงึ โยนกหรือชาวลานนา คำวา “ยวนพาย” จงึ หมายถึง“ชาวลานนาแพ” เน้ือเรื่องของลิลิตยวนพายจึงกลาวถึงชาวลานนาในสมัยพระเจาติโลกราช ซ่ึงพา ยแพแกก รุงศรีอยุธยาในรัชกาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถP ทำนองแตง‹ แตง เปนลลิ ิตดนั้ ประกอบดว ยรา ยดั้น ๒ บทกับโคลงดน้ั บาทกุญชร และโคลงด้นั วิวธิ มาลี ๒๙๖ บท รวมทงั้ หมด ๒๙๘ บท (ฉบบั องคการคา ของคุรุสภา ๒๕๒๔)P ความมุ‹งหมาย เพื่อยอพระเกียรติของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และสดุดีชัยชนะท่ีมีตอ เชยี งใหมใ นรชั กาลน้ันP เรอ่ื งยอ‹ เนอ้ื เรอ่ื งเปน การบรรยายภาพการทำสงครามระหวา งไทยกบั ลา นนา โดยฝา ยไทยมสี มเด็จพระบรมไตรโลกนาถเปน จอมทัพ ฝายลานนามีพระเจา ตโิ ลกราชเปนจอมทัพ จบลงดว ยชัยชนะของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถP ตัวอยา‹ งขŒอความบางตอนพรรณนาการรบ “ลาวหวั ขาดหอ ยตดิ คอสาร ฟูมเลอื ดหลามไหลจร จวบจ้งั พระเทพประหารหกั โหมเกล่อื น เขนแนบเขนตาวตั้ง ตอตาย ฯ”ยอพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ “กษตั รยิ ส ุรราชเรอ้ื ง รศธรรม บรรหารยศยอยวน พายฟา สมภารปราบปลยกลั ป ทุกทวปี รอ ยพิภพเหลอ่ื มหลา อยูเย็น ฯ”

30 ˹§Ñ Ê×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×¹é °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ òรอ ยทา วรวมรบี เขา มาทูล ทา นนาถวยประทุมทองเปน ปนเกลาสมภารพอ พยงสูรย โสภติมอญแลยวนพา ยเขา ขายบร ฯ”แสดงพระราชกฤษดาภนิ หิ ารของพระมหากษัตรยิ “พรหมพิษณุบรเมศรเจา จอมเมรุ มาศแฮยำเมศมารตุ อร อาศนมาพรุณคนิกเุ พนทรา สูรเสพยเรืองรวีวรจา แจมจันทร ฯเอกาทสเทพแสง เอาองค มา�ๅเปน พระศรสี รรเพชญ ทอ่ี างพระเสด็จดำรงรกั ษ ลย งโลกย ไสแ ฮทกุ เทพทุกทา งไหงว ชว ยไชย ฯชยชยานุภาพทาว ทยมทนิ กรแฮเมืองเทพคนธรรพ�ๅ อยถู อยชยชยพอพยงอนิ ทร นภุ าพบญุ เบอกเมืองถวนรอย รอบถวาย ฯ”P คุณคา‹ ของวรรณคดีลิลิตยวนพายมีคุณคาทางประวัติศาสตร ภูมิศาสตร การรบทัพจับศึก คานิยมทางสังคมและหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตนอยางยิ่ง นอกจากนี้ลิลิตยวนพายที่ตกทอดมาถงึ ปจ จบุ ัน ซ่งึ เปนวรรณกรรมเกาทส่ี มบูรณไมช ำรดุ หรือถูกแตงเติม ยังมคี ณุ คาดานภาษาศาสตรทำใหไดเห็นถึงวิธีการใชภาษา คำ สำนวน โวหาร ของกวีสมัยโบราณ และเปนแบบอยา งของวรรณคดปี ระเภทสดุดี๔. ลลิ ิตพระลอ P ผแŒู ต‹ง กวีทีแ่ ตงเปนใคร มตี ำแหนง ทางราชการอยางไร ไมทราบแนช ัด P ประวตั ิ ไมป รากฏหลกั ฐานวา แตง ในสมยั ใด แตพ จิ ารณาจากคำทใ่ี ช บางคำใชภ าษาเกา กวาภาษาในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชและแตงดวยลิลิต ซึ่งเปนรูปแบบวรรณกรรมท่ีแตงในสมยั อยธุ ยาตอนตน นอกจากนข้ี อความบางตอนในลิลติ เชน คำวา “จบเสรจ็ เยาวราชเจาบรรจง”คำวา “เยาวราช” นาจะหมายถงึ พระมหาอปุ ราชในรัชกาลใดรัชกาลหนง่ึ เปนผแู ตง P ทำนองแต‹ง แตง เปน คำประพนั ธประเภทลิลิตสุภาพ ประกอบดว ยรายสุภาพและโคลงสภุ าพเปน สว นใหญ บางโคลงคลา ยโคลงดน้ั และโคลงโบราณ รา ยบางบทเปน รา ยโบราณและรา ยดน้ั P ความม‹งุ หมาย แตง ถวายพระเจาแผน ดิน เพ่ือใหเ ปน ทส่ี ำราญพระราชหฤทยั

˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾¹é× °Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅ‹Á ò 31P เรื่องย‹อ เมืองสรวงและเมืองสรองเปนศัตรูกัน พระลอกษัตริยแหงเมืองสรวงทรงพระสิริโฉมยิ่งนัก จนเปนที่ตองพระทัยของพระเพ่ือนพระแพงราชธิดาของทาวพิชัยพิษณุกรกษตั รยิ แ หง เมอื งสรอง นางรนื่ นางโรยพระพเ่ี ลย้ี งไดข อใหป เู จา สมงิ พรายทำเสนห ใ หพ ระลอเสดจ็ มาเมืองสรอง เมื่อพระลอตองเสนห ไดตรัสลาพระนางบญุ เหลือพระราชมารดาและพระนางลักษณวดีพระมเหสี เสด็จไปเมอื งสรองพรอ มนายแกว นายขวญั พระพเี่ ล้ียงพระลอทรงเสีย่ งนำ้ ที่แมน้ำกาหลง ถึงแมจะปรากฏลางรายก็ทรงฝนพระทัยเสดจ็ ตอ ไป ไกผ ีของปเู จา สมงิ พรายลอ พระลอกบั นายแกว และนายขวญั ไปจนถงึ สวนหลวง นางรนื่ นางโรยออกอบุ ายลอบนำพระลอกบั นายแกว นายขวญั ไปไวในตำหนักของพระเพ่ือนพระแพงทาวพิชัยพิษณุกรทรงทราบเรื่องก็ทรงพระเมตตา รับส่ังจะจัดการอภิเษกพระลอกับพระเพื่อนพระแพงให แตพระเจายาเลี้ยงของพระเพ่ือนพระแพงทรงพยาบาทพระลอ อางรับส่ังทา วพชิ ัยพิษณุกรตรสั ใชใ หท หารไปรมุ จบั พระลอ พระเพอื่ นพระแพง และพระพ่ีเลย้ี งทงั้ ๔ คนชว ยกันตอสจู นส้ินชวี ิตหมด ทา วพิชยั พิษณุกรทรงพระพโิ รธพระเจายา และทหาร รบั ส่งั ใหประหารชวี ิตทกุ คน พระนางบุญเหลือทรงสงทตู มารวมงานพระศพกษตั ริยทงั้ สาม ในทส่ี ุดเมอื งสรวงและเมอื งสรองกลบั เปนไมตรตี อกนัP ตวั อยา‹ งขอŒ ความบางตอนบทชมโฉมพระลอ“รอยรปู อนิ ทรห ยาดฟา มาอา องคในหลาแหลง ใหค นชม แล�ๅพระองคกลมกลอ งแกลง เอวออนอรอรรแถงถว นแหงเจากงู าม บารนีโฉมผจญสามแผน แพ งามเลิศงามลวนแลรูปตอ งตดิ ใจ บารน”ีแสดงคติธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา“สงิ่ ใดในโลกลว น อนจิ จงัคงแตบาปบญุ ยัง เท่ยี งแทคือเงาตดิ ตวั ตรัง ตรงึ แนน อยูนาตามแตบุญบาปแล กอเกอื้ รักษา”แสดงความรกั ระหวางชกู บั เมียและเมยี กบั แม“รอยชู� ๅเทา เนือ้ เมยี ตนเมยี แลพนั �ๅดล แมไ ดทรงครรภคลอดเปน คน �ๅงา ย เลยนาเล้ยี งยากนักทาวไท ธิราชผูมคี ุณ”

32 ˹§Ñ Ê×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾×é¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ òพระเพื่อนพระแพงตรัสแกพีเ่ ลีย้ ง“เสียง�ๅเสยี งเลา อา ง อนั ใด พ่เี อยเสียงยอมยอยศใคร ทัว่ หลาสองเขือพห่ี ลับใหล ลมื ต่นื �ๅพี่สองพี่คดิ เองอา อยา ไดถ ามเผือ”P คุณคา‹ ของวรรณคดีลลิ ติ พระลอไดร บั การตดั สนิ จากวรรณคดสี โมสรในสมยั รชั กาลที่ ๖ ใหเ ปน ยอดแหง วรรณคดีประเภทลลิ ติ เพราะมีความโดดเดน คอื ใหแ งค ิดดา นความรัก ความกลาหาญ ความสะเทือนใจใชภ าษาไดไพเราะคมคาย เปน แบบอยางของการแตง โคลงและวรรณคดีประเภทลิลิต สรปุ สมัยกรุงสุโขทัยเปนราชธานี มีหลักฐานแสดงถึงความเจริญและพัฒนาการทางวรรณคดีของไทยหลายเรอื่ ง เชน ศลิ าจารึก หลักท่ี ๑ ไตรภมู ิพระรว ง นับเปน วรรณคดยี ุคแรกเทา ท่ีปรากฏหลักฐานอยู ซึ่งนอกจากจะมีคุณคาดานวรรณกรรมโดยตรงแลว ยังทรงคุณประโยชนท้ังดานประวตั ศิ าสตร สังคมศาสตร ศาสนา และวฒั นธรรม สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตน พ.ศ. ๑๘๙๓–๒๐๗๒ เปนชวงเริ่มตนสรางบานเมืองและปรับปรุงการปกครองใหเปนระบบระเบียบ วรรณคดียุคน้ีแมจะมีหลักฐานปรากฏไมมากนักเชน ลิลิตยวนพาย ลิลิตพระลอ แตก็ทรงคุณคาสูง ทั้งในดานภาษาศาสตร ประวัติศาสตรศิลปวฒั นธรรม ความเชอื่ คา นยิ ม และประเพณี วรรณคดีสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนตนถือเปนยุคแรก ๆ ของวงการวรรณคดีไทย ที่มีคณุ คา ทงั้ ในฐานะทเ่ี ปน รากเหงา แหง วรรณคดี และเปน ตน ธารแหง ววิ ฒั นาการดา นวรรณกรรมไทยมาจนปจจบุ ัน กจิ กรรมบรู ณาการ กจิ กรรมเสนอแนะ ๑. ศึกษาและคนควาประวัติและผลงานที่โดดเดนของกวีที่สำคัญ ๑ ทาน ในสมัยสุโขทัยหรืออยธุ ยาตอนตน ๒. รวมกันเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีสำคัญในสมัยสุโขทัยและอยุธยาที่นำมาใหศึกษา วามคี ุณคาดานใดท่ีสามารถนำมาปรับใชใหส มั พนั ธก ับชวี ติ ประจำวนั ไดบา ง ๓. รวมกันจัดปายนิเทศเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางเหตุการณบานเมืองและวรรณคดีสมัยสุโขทัยและอยธุ ยาตอนตน

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾é×¹°Ò¹ ÀÒÉÒä·Â Á. ô àÅÁ‹ ò 33 โครงงาน นักเรยี นเลือกทำโครงงานตอไปน้ี ๑ หัวขอ หรอื อาจทำโครงงานอนื่ ตามความสนใจ โดยใหเกยี่ วของกับเนื้อหาท่เี รียน ๑. ทำโครงงานรวบรวมวรรณคดีสำคัญในสมยั สโุ ขทัยและอยุธยาตอนตน ๒. ทำโครงงานศกึ ษาคน ควา เหตกุ ารณส ำคญั ทางวรรณคดใี นสมยั สโุ ขทยั และอยธุ ยาตอนตน การประยุกตใชในชีวติ ประจาํ วัน นักเรียนศึกษาความเปนมาของวรรณคดีในสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนตนแลว สามารถนำความรทู ่ีไดไปใชป ระโยชนในดานใดไดบ า ง คาํ ถามทบทวน ๑. วรรณคดีสมยั สโุ ขทยั เรื่องใดทนี่ กั เรียนคิดวาสำคญั ทีส่ ดุ เพราะเหตุใด ๒. นกั เรยี นคดิ วา ไตรภมู พิ ระรว ง มอี ทิ ธพิ ลตอ ความคดิ ความเชอ่ื ของคนไทยหรอื ไม อยา งไร ๓. วรรณคดีสมัยสุโขทัยมลี กั ษณะเดนอยา งไร ๔. สมยั อยุธยาตอนตน ไดร บั อทิ ธพิ ลทางวรรณคดจี ากสมัยสโุ ขทัยหรอื ไม อยางไร ๕. กวีสำคญั ในสมัยอยุธยาตอนตน คอื ใคร มีบทบาทอยา งไร ๖. วรรณคดเี รือ่ งใดบางทไ่ี มปรากฏผูแตง และเพราะเหตุใดจงึ เชอ่ื วาอยใู นสมยั อยุธยาตอนตน ๗. วรรณคดีเรื่องลลิ ติ พระลอ มคี วามดีเดนอยา งไร ๘. วรรณกรรมสมัยอยุธยาตอนตนมลี ักษณะเนื้อหาเนนไปในเร่ืองใด

อิเหนา ๒หนวยการเรยี นรูท ่ีตอน ศึกกะหมังกหุ นิงตวั ชีว้ ดั ช�วงชนั้ ๑. อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอ ยกรองไดอยา งถูกตอ ง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรือ่ งที่อา น ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๑) ๒. วเิ คราะหและวจิ ารณเรอ่ื งท่ีอานในทุก ๆ ดา นอยางมเี หตุผล ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๓) ๓. คาดคะเนเหตุการณจากเร่ืองท่ีอานและประเมินคาเพื่อนำความรูความคิดไปใชตัดสินใจแกปญหา ในการดำเนินชวี ติ ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๔) ๔. วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงเก่ียวกับเรื่องที่อาน และเสนอความคิดใหมอยางมี เหตผุ ล ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๕) ๕. วเิ คราะหแ ละวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวจิ ารณเ บื้องตน ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๑) ๖. วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทางประวัติศาสตรและวิถีชีวิตของสังคม ในอดีต ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๒) ๗. วิเคราะหและประเมินคุณคาดานวรรณศิลปของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เปนมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๓) ๘. สงั เคราะหขอคดิ จากวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพ่อื นำไปประยุกตใชใ นชวี ติ จริง ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๔)๙. ทองจำและบอกคุณคาบทอาขยานตามท่ีกำหนด และบทรอยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจและ นำไปใชอ า งอิง ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๖)ผงั มโนทศั นส าระการเร�ยนรูขอ คิด คติคำสอน การเชอ่ื มโยงกับชีวติ ประจำวนัและความจรรโลงใจ แนวทางในการวจิ ารณ นำเร่ือง เรอ่ื งย‹อวรรณคดแี ละวรรณกรรม ศลิ ปะการประพันธ ตัวละคร เน้ือเรื่อง บทละครเร่อื ง อิเหนา เนื้อเร่อื ง ตอน ศึกกะหมังกุหนิง ศพั ทน า‹ รูŒชื่อตัวละครในเรอื่ ง สาระน‹ารูŒ ตำแหนงเสนา ผใู หญท้ังส่ี ชื่อกรงุ ท้ังสี่ของ ประวัติผูแŒ ตง‹ ตำแหนงมเหสี กษตั ริยว งศเ ทวญัประโยชนจากการเรียนรู ชวนคดิ ชวนตอบ๑. ไดอา นวรรณคดีมรดกท่มี คี ุณคา ๑. นักเรียนเคยอานบทละครเรื่อง อิเหนา ของไทย หรอื ไม เปนเรอ่ื งเก่ียวกบั อะไร๒. รจู กั คำศัพทภ าษาชวา ๒. นกั เรยี นรหู รอื ไมว า บทละครเรอื่ ง อเิ หนา๓. ไดความรแู ละขอ คดิ จากเรอ่ื งทน่ี ำไป ไดรับการยกยองจากวรรณคดีสโมสร วามีความดเี ดนทางดา นใด ปรบั ใชใ นชีวติ ประจำวนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook