“การสร้างเฮอื นโบราณตามวถิ ีไทบ้านชาว 1 ขอนแก่น” “…การสร้างบา้ นโบราณที่เป็นของดีวิถีอีสาน ฤชุอร เกษรมาลา นสิ ิตฝึกประสบการณว์ ิชาชพี เป็นของดีของเด่นในบ้านเรา และเมื่อคนในปัจจุบัน สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และ โหยหาอดตี ตอ้ งการความสงบสขุ ไม่วุ่นวายเหมอื นใน สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม อดีตจึงจำลองวิถีชีวิตของชาวขอนแก่น ถือว่าเป็น ซอฟต์พาวเวอร์ที่จะมานำเสนอให้สาธารณะได้รู้ว่า ภาพประกอบจาก: Facebook PR.KHONKAEN ขอนแก่นเรามีดีในทุก ๆ ด้าน ทั้งอาหาร และผ้าไหม ปชส.ขอนแก่น ขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่สืบทอดกันมาจนถึง ปัจจบุ นั จึงได้จัดสร้างเฮือนโบราณขนึ้ มาในสนามหน้า การจัดงานเทศกาลไหมนานาชาติ ประเพณี ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น ให้เป็นหมู่บ้านชุมชน ผูกเสี่ยว งานกาชาดจังหวัดขอนแก่น และงาน ขึ้นมาในบริเวณดังกล่าว โดยทุกอำเภอจะต้องสร้าง ขอนแก่นซอฟต์พาวเวอร์ ประจำปี 2565 โดยปีน้ี เฮือนโบราณขึ้นมาอำเภอละ 1 หลัง ซึ่งส่วนใหญ่เป็น จังหวัดขอนแก่นได้ยกเอาวัฒนธรรมอีสาน โดยจะมี บ้านไม้ยกพื้นสูง เพราะคนโบราณมักจะใช้ชีวิต การสร้างเฮือนโบราณอีสาน ที่ถ่ายทอด เรียบง่าย กินนอน ทำกับข้าวบนบ้าน กลางวันอากาศ ศิลปวัฒนธรรมของคนอีสานบนบ้าน ให้นักท่องเที่ยว รอ้ นก็ลงมานั่งเล่นกัน นง่ั รบั แขก ทีใ่ ตถ้ นุ บ้าน บางคน ได้มาชม มาสัมผัส และสามารถถ่ายทอดรูปแบบ ยังเลี้ยงสัตว์และหลับนอนใต้ถุนบ้านด้วย ข้างบ้าน ศิลปวัฒนธรรมของคนอีสานให้นักท่องเที่ยวได้มา ก็จะมีเล้าข้าวหรือยุ้งข้าว เอาไว้เก็บข้าวเปลือกหลัง เย่ยี มชม โดยจะจดั ข้ึน 12 วนั 12 คนื ระหว่างวันท่ี 29 การเก็บเกี่ยว...” พฤศจิกายน – 10 ธันวาคม 2565 โดยจังหวัดได้ มอบหมายให้อำเภอทั้ง 26 อำเภอ ในจังหวัดระดม จากบทสัมภาษณ์ของนายนายไกรสร ช่างไม้สร้างบ้านเฮือนแบบโบราณคนอีสาน ที่มีมา กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ต้องการให้ หลายช่ัวอายุคน เฮือนโบราณเป็นวัฒนธรรมอีสานที่สามารถถ่ายทอด ได้โดยลูกหลานชาวขอนแก่น และจุดที่สร้างเฮือน โบราณจุดนี้ เป็นบริเวณศาลากลางจังหวัดขอนแก่น โดยจะทำให้เฮือนโบราณเป็นแลนด์มาร์คและ จุดถ่ายรูปกลางเมืองขอนแก่น ทำให้มีการสร้างเฮือน โบราณข้นึ ท้ัง 26 อำเภอในจังหวดั ขอนแก่น โดยไดย้ ึด เอาการสร้างเฮือนตามแบบฉบับของชาวอีสานมา สร้าง และยังทำเฮือนโบราณเป็นจุดจำหน่ายสินค้าท่ี ขึ้นชื่อของแต่ละอำเภอไว้ในเฮือนโบราณอีกด้วย และ ยังมีองค์ประกอบของเฮือนโบราณทุกหลังจะสร้าง ตามองคป์ ระกอบของเฮือนโบราณไทอีสาน ดังนี้
ภาพประกอบจาก: Facebook PR.KHONKAEN 2 ปชส.ขอนแก่น 3. เรือนแฝด เป็นเรือนทรงจั่วแฝด 1. เรือนนอนใหญ่ จะวางด้านจั่วรับ เช่นเดียวกับเรือนนอน โครงสร้างทั้งคานพื้นและข่ือ ทิศตะวันออก-ตะวันตก ส่วนมากจะมีความยาว 3 หลังคา จะฝากไว้กับเรือนนอน แต่หากเป็นเรือนแฝด ชว่ งเสา เรยี กว่า \"เรือนสามหอ้ ง\" ใต้ถุนโลง่ ช้ันบนแบง่ ลดพื้นลงมากกว่าเรือนนอน ก็มักเสริมเสาเหล็กมารับ ออกเปน็ 3 สว่ นคือ คานไว้อกี แถวหนงึ่ ตา่ งหาก -ห้องเปิง เป็นห้องนอนของลูกชาย มักไม่ 4. เรือนโข่ง มีลักษณะเป็นเรือนทรงจ่ัว มีการกั้นหอ้ ง เช่นเดียวกับเรือนนอนใหญ่ แต่ต่างจากเรือนแฝด ตรงที่โครงสร้างของเรือนโข่งจะแยก ออกจากเรือน -ห้องพ่อกับแม่ อาจกั้นเป็นห้องหรือปล่อย นอนโดยสิ้นเชิง สามารถรื้อถอนออกไปปลูกใหม่ได้ โลง่ โดยไม่กระทบกระเทือนต่อเรือนนอน การต่อเชื่อม ของชายคาทั้งสองหลังใช้รางน้ำ โดยใช้ไม้กระดาน -ห้องนอนลูกสาว หรือเรียกว่า ห้องส่วม 2 แผ่น ต่อกันเป็นรูปตัววีแล้วอุดด้วยชันผสมขี้เลื่อย มีประตูเข้ามีฝากั้นมิดชิด หากมีลูกเขยจะให้นอนใน ในกรณีท่เี รือนไม่มีครัวกส็ ามารถใช้พ้ืนท่ีส่วนเรือนโข่ง หอ้ งน้ี นท้ี ำครัว ช่วั คราวได้ สว่ นชนั้ ล่างของเรือนนอนใหญ่ อาจใช้สอยได้ 5. เรือนไฟ (เรือนครัว) ส่วนมากจะเป็นเรือน อีก เชน่ ก้นั เปน็ คอกวัวควาย ฯลฯ 2 ช่วงเสา มีจั่วโปร่งเพื่อระบายควันไฟ ฝานิยมใช้ไม้ ไผส่ านลายทแยงหรอื ลายขดั 2. เกย คือบริเวณชานโล่งที่มีหลังคาคลุม เป็นพื้นที่ลดระดับลงมาจากเรือนนอนใหญ่ มักใช้เปน็ 6. ชานแดด เป็นบริเวณนอกชานเชื่อม ที่รับแขก หรือที่รับประทานอาหาร ส่วนของใต้ถุน ระหว่างเกย เรือนแฝดกบั เรือนไฟ มบี ันไดข้นึ ดา้ นหน้า จะเต้ียกวา่ ปกติ อาจไว้ใช้เป็นทเ่ี กบ็ ฟืน เรือน มี \"ฮ้างแอ่งน้ำ\" อยู่ตรงขอบของ ชานแดด บางเรือนที่มีบันไดขึ้นลงทางด้านหลังจะมี \"ชานมน\" ลดระดับลงไปเลก็ นอ้ ยโดยอยู่ดา้ นหน้าของเรอื นไฟ 7. เสาแฮก (แรก) เสาขวัญ จะยึดเสาค่ใู นทาง ตะวันออก เสาแฮกจะอยู่ด้านในซึ่งเป็นด้านขยายตัว เรือนออกเป็น เฉลียง ชาน ถ้ากรณีหันหัวนอนไปทาง ทิศใต้ตำแหน่งเสาแฮก-เสาขวัญจะสลับกันกับเสา ลักษณะแรก การเลือกเสาคู่นี้ต้องเลือกเสาที่ดี วิธีผูก เสาแฮก-เสาขวัญ การผูกเสาจะใช้สิ่งที่เป็นมงคลและ ที่มีความหมายเป็นศรีแก่เรือนและผู้อยู่ อาศัยให้มี
ความเป็นสิริมงคล เช่น ใบยอ ใบคูน ยอดอ้อย กล้วย 3 ไซใส่เงนิ -ทอง อกั (เคร่อื งมือสำหรบั เกบ็ ดา้ ยทอผ้า) เอกสารอ้างองิ หลังจากการสร้างตัวเฮือนแล้ว ชาวอีสานยัง มีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีการขึ้นบ้านใหม่ โดยได้ทำพิธี เดลินิวส์ ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ในวันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน 2565 โดยทำพิธีขึ้น 2565. จาก dailynews.co.th/news/168255 บ้านใหม่พร้อมกันทั้ง 26 อำเภอ ซึ่งเป็นความเช่ือ ความศรัทธา ที่มีมาตั้งแต่โบราณว่า จะช่วยเสริมให้ผู้ เรือนไทยภาคอีสาน. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม อยู่อาศัยในบ้านร่มเย็น เป็นสุข มีแต่ความ 2565. จาก th.wikipedia.org/wiki/เรือนไทยภาค เจริญรุ่งเรือง จัดขึ้นเพื่อเสริมความเป็นสิริมงคลแก่ผู้ อสี าน อยู่อาศัย เชื่อกันว่าจะช่วยให้อยู่เย็น เป็นสุข เจริญรุ่งเรือง รักใคร่ปรองดอง ไม่ทะเลาะวิวาท ป้องกันสิ่งอันตราย ขับไล่สิ่งชั่วร้าย และปราศจาก โรคภัยไขเ้ จ็บ ภาพประกอบจาก: Facebook PR.KHONKAEN ปชส.ขอนแกน่ นอกจากนี้ภายในงานเทศกาลไหมนานาชาติ ประเพณีผูกเสี่ยว งานกาชาดจังหวัดขอนแก่น และ งานขอนแกน่ ซอฟตพ์ าวเวอร์ ประจำปี 2565 ยังมีการ มุ่งเน้นการสืบสานวัฒนธรรมและอนุรักษ์วัฒนธรรม ผ่านวิถีชีวิตของชาวอีสานที่มีมาตั้งแต่โบราณ จนถึง ปัจจุบัน ทั้งยังเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจให้กลับมาฟนื้ ตวั อกี ครั้ง
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: