พระพุทธรูปศลิ ปะทวารวดที ี่ปรากฏบนทับหลังบรเิ วณโคปุระชนั้ นอกปราสาทหนิ พมิ าย ฉตั รมงคล ระวโิ รจน์ บทนำ ปราสาทหินพิมาย อำเภอพิมาย จังหวดั นครราชสมี า เป็นศาสนสถานในวฒั นธรรมของกัมพูชาโบราณ ที่โดดเดน่ ทส่ี ดุ แหง่ หน่ึงในดินแดนไทย ท้งั จากความกว้างใหญ่ ความสวยงาม และความลงตวั ของการออกแบบ ปราสาทหินพิมายมีประวตั ิความเปน็ มา โดยเป็นเมืองที่สร้างตามแบบแผนของศิลปะเขมร มีลักษณะเป็นเวียง ส่เี หล่ยี ม จากหลักฐานศิลาจารกึ และศลิ ปะสรา้ งบง่ บอกว่าปราสาทหนิ พมิ ายคงเร่ิมสรา้ งข้นึ สมัยพระเจา้ สุริยวร มันที่ 1 ราวพุทธศตวรรษที่ 16 ในฐานะเทวสถานของศาสนาพราหมณ์ รูปแบบของศิลปะเป็นแบบบาปวน ผสมผสานกับศิลปะแบบนครวัด ซึ่งหมายถงึ ปราสาทนี้ได้ถกู ดัดแปลงมาเปน็ สถานที่ทางศาสนาพทุ ธในสมัยพระ เจ้าชยั วรมนั ท่ี 7 (สริ ภพ สวนดง,2557) ศิลปกรรมที่ปรากฏของปราสาทหินพิมายพบ 2 รูปแบบ 1) สถาปัตยกรรมของพุทธสถานเป็นรูป กากบาท ประกอบด้วยอาคารสำคัญ 3 หลัง คือ ปรางค์ใหญ่ ปรางค์พรหมทัต ปรางค์หินแดง และมี ส่วนประกอบที่สำคัญอยู่บริเวณชั้นในปราสาท ที่มีคูหาติดต่อกันสี่ทิศรูปกากบาท มุมกำแพงอันเป็นลาน ชน้ั นอก มีสระนำ้ อยู่ท้งั 4 มุม ประตทู างเข้าด้านทิศใต้ เป็นด้านหน้าของปราสาท จะมสี ะพานนาคเป็นทางเข้า สตู่ วั ปราสาท 2) ประตมิ ากรรมของปราสาทหินพมิ าย มีลักษณะความงามท่ีเป็นเอกลักษณ์ บ่งบอกถึงเรื่องราว ทางประวัติศาสตร์ความเชื่อความศรัทธา ความดีของบุคคลในสมัยนั้นประติมากรรมของปราสาทหินพิมายที่ ปรากฎ มีทั้งประติมากรรมที่สร้างขึ้นในคติความเชื่อศาสนาฮินดู และในคติความเชื่อพระพุทธศาสนาลัทธิ มหายาน ประติมากรรมของปราสาทหินพิมายมี 3 ลักษณะ คือ 1. ประติมากรรมลอยตัว 2.ประติมากรรมนนู สงู 3.ประตมิ ากรรมนนู ตำ่ (สริ ภพ สวนดง,2557) ประติมากรรมนูนสูง ท่ีปรากฏทั้งภาพบุคคล และภาพสัตว์ ซึ่งมีทั้งภาพบุคคลและสัตว์สลักแยกกัน เป็นเอกเทศ และภาพสลักเล่าเรื่องตามคติความเชื่อในศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดูภาพเล่าเรื่องจากมหากาพย์ รามเกียรติ์และมหาภารตะ ซึ่งมักจะปรากฏอยู่ในบริเวณทับหลัง (Lintel) หน้าบัน(Pediment) กลีบขนุน ปรางค์(Antefixe) เสาติดกับผนัง (Pilaster) และเสาประดับกรอบประตู ซึ่งประมากรรมนูนสูงที่พบหลักฐาน ร่องรอยความเป็นทวารวดีอยู่คอื ท่ที ับหลัง ทับหลัง หมายถึง แผ่นหินสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่วางไว้เหนือวงกบประตู นิยมสลักลวดลายประดับ แปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัยปราสาทหินพิมายศาสนสถานที่ได้รับรูปแบบศิลปะเขมรที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยเฉพาะทับหลงั อันเป็นส่วนประกอบท่ตี บแต่งดว้ ยประตมิ ากรรมท่ีสวยงามลักษณะประติมากรรมทบั หลัง อย่างที่ทราบกันดีว่า ปราสาทหินพิมายเป็นปราสาทหนิ ท่ีสร้างในยคุ อาณาจักขอม เพียงแต่การขุดค้น ทางโบราณคดี พบทับหลังที่มีร่องรอยศิลปกรรมสมัยทวารวดี ซึ่งพบอยู่บริเวณโคปุระชั้นนอกทางทิศใต้ เป็น ทับหลงั ท่มี กี ารแกะลวดลายพระพทุ ธรูปแสดงวติ รรกมทุ รา เป็นพระพทุ ธรปู ยืนแสดงธรรมทงั้ สองพระหตั ถ์ การแสดงวิตรรกมุทรา ในความหมาย ที่ใช้กันโดยสากลนั้น หมายถึง ที่แสดงโดยการใช้ปลายพระ อังคุฐ (นิ้วโป้ง) แตะบริเวณปลายดัชนี (นิวชี้) หรือพระมัชฌิมา (นิ้วกลาง) แล้วจีบนิ้วหัตถ์เป็นวง ส่วนนิ้วพระ
หัตถ์อื่นๆ ชี้ขึ้น มุทรานี้นิยมแพร่หลายในศิลปะอินเดียใต้ และกลุ่มศิลปะที่รับอิทธิพลอินเดียใต้ เช่น ศิลปะ อมราวดี ศิลปะนาคปัฎฎนัม ศลิ ปะลงั กาสมัยอนุราธปรุ ะ (เชษฐ์ ตงิ สัญชลี,2544) พระพทุ ธรูปยนื ปางแสดงธรรมวิตรรกมุทรา พระพุทธรูปปางนี้จัดว่าเป็นปางที่เกิดขึ้นเฉพาะ และแพร่หลายอย่างมากในศิลปะสมัยทวารวดี โดย ลักษณะของพระพุทธรูปปางน้ี เป็นพระพุทธรูปประทับยืนยกพระกรทั้งสองข้างอยู่ระดับพระอุระ หันฝ่าพระ หตั ถอ์ อกด้านหนา้ จบี น้วิ พระหตั ถ์เป็นวงกลม เรียกวา่ “วติ รรกมทุ รา” ซง่ึ ส่อื ถงึ ทา่ ทางตอนพระพุทธเจ้ากำลัง เทศนาสั่งสอนพระธรรม ซงึ่ ใกล้เคียงกับศิลปะอินเดีย และอีกรปู แบบหนงึ่ ทเี่ ป็นการแสดง “วิตรรกมุทรา” โดย นว้ิ พระหตั ถ์ทั้งสีง่ อเขา้ หาพระอังคฐุ ซงึ่ ลกั ษณะนน้ี า่ จะเปน็ แบบพ้ืนเมอื งที่พบเฉพาะในทวารวดีเท่านัน้ (ศกั ด์ิชัย สายสงิ ห์,2562) ลกั ษณะเดน่ อีกอย่างหน่ึงของพระพุทธรูปแสดงวิตรรกมุทรา คอื รปู ของพระพุทธรูปครองจีวรห่มคลุม บางแนบพระวรกาย ชายจีวรเบอื้ งหน้าพาดผ่านพระชงฆ์เป็นรูปวงโค้ง ชายจีวรด้านข้างเปน็ กรอบสเ่ี หล่ียมแบบ บานออกด้านนอกเล็กน้อย สะท้อนถึงรูปแบบของพระพุทธรูปทวารวดีภาคกลางอย่างชัดเจนกรรม วิธีการทำ พระกรท่อนล่าง และพระหัตถ์ด้วยหินอีกก้อนหนึ่งแล้วนำมาประกอบเข้ากับพระกโประ (ศอก) ก็เป็นสิ่งที่พบ ได้เสมอสำหรับพระพุทธรูปขนาดค่อนข้างใหญ่ของทวารวดีภาคกลาง กรรมวิธีเช่นนี้ไม่ใช่ลักษณะของ พระพุทธรูปศิลปะอินเดีย เป็นวิธีทางงานช่างของทวารวดีที่พัฒนาขึ้นเอง และส่งอิทธิพลไปยังพระพุทธรูป ศิลปะเขมรระยะปลายสมัยเมืองพระนคร (รงุ่ โรจน์ ธรรมรุ่งเรอื ง,2558) ช่ือภาพ : พระพทุ ธรูปปางวิตรรกมทุ รา ชอ่ื ภาพ : พระพุทธรูปปางวติ รรกมทุ รา พบที่ เมอื งฝ้าย อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรมั ย์ พบที่เขาสมอคอน อ.ทา่ รุง้ จ.ลพบุรี ทม่ี า : ww.history-of-art-in-thailand.com,(ออนไลน)์ ท่มี า : www.finearts.go.th,(ออนไลน)์
ทบั หลงั ทโี่ คปุระชั้นนอกปราหินพิมาย เป็นทับหลังที่พบบริเวณโคปุระชั้นนอกทางทิศใต้ เป็นทับหลังที่มีการแกะสลักพระพุทธรูปแสดง วิตรรกมุทรา ทีเ่ ป็นเอกลักษณท์ ีส่ ำคัญในศลิ ปะทวารวดี ชือ่ ภาพ : ทับหลงั ที่สลักภาพพระพทุ ธรูปแสดงวติ รรกมุทรา ทมี่ า : จากการลงพน้ื ที่ 2565 สรุป จากการศึกษาข้อมูลพบว่า บริเวณปราสาทหินพิมาย เคยเป็นแหล่งวัฒนธรรมทวารวดีมาก่อน จาก การที่ยังหลงเหลอื ร่องรอยทางวัฒนธรรมทวารวดที ี่ปรากฎอยู่ในปราสาทหนิ พิมาย นั่นคือทับหลังท่ีพบบริเวณ โคปรุ ะช้นั นอกทางทศิ ใต้ เป็นทบั หลังทมี่ ีการแกะสลักพระพทุ ธรูปแสดงวิตรรกมทุ รา อ้างอิง เชษฐ์ ติงสัญชลี. (2544). การวิเคราะห์การแสดงวิตรรกมุทราสองพระหัตถ์ของพระพุทธรูปใน ศลิ ปะทวารวดี. ศลิ ปศาสตร์มหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร รุ่งโรจน์ ธรรมร่งุ เรือง. (2558). ทวารวดีในอสี าน. กรงุ เทพ : มติชน. สิรภพ สวนดง. (2557). การศกึ ษาวเิ คราะหค์ วามเชอ่ื ทางพระพทุ ธศาสนาทีป่ รากฏในปราสาทหินพิ มาย. ดุษฎบี ณั ฑติ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2562). ศิลปะทวารวดีวัฒนธรรมทางศาสนายุคแรกเริ่มในดินแดนไทย. สำนักพิมพเ์ มืองโบราณ
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: