คติชนความเชื่อความศรัทธาคุณย่าโมท่มี ีผลต่อการอนุรักษ์เพลงโคราช บทคดั ย่อ บทความน้ีเป็นการอธิบาย ให้เหน็ ถึง ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง คติชนพ้ืนบา้ น ชุดความเช่ือความศรัทธา ของกลมุ่ คน ใน จงั หวดั นครราชสีมา ที่มีตอ่ ทา้ วสุรนารี หรือคณุ ยา่ โม โดยมีการสร้างชุดความเชื่อ เพ่อื รักษา วฒั นธรรมพ้นื ถิ่น ส่งตอ่ จากรุ่นสู่รุ่น มิใหส้ ูญหาย ดว้ ยการวเิ คราะห์ ตามกรอบแนวคดิ ทฤษฎคี ติชนวทิ ยา ทฤษฎคี ติชนวทิ ยา มีเน้ือหาที่กวา้ งหลากหลาย และมีความซบั ซอ้ น เนื่องจาก มีขอ้ มูลอยทู่ ุกหนทกุ แห่ง ทกุ เช้ือชาติ คติ ชนน้นั มีพฒั นาการของความหมาย เกิดข้ึนเม่ือ ค.ศ.1846 และเผยแพร่ ไปในวงวิชาการ จึงมีการจดั ต้งั สมาคมคติชนวทิ ยา อเมริกนั ข้นึ ซ่ึงคอ่ นขา้ ง มีแนวโนม้ เก่ียวกบั การวเิ คราะหค์ น้ ควา้ ขอ้ มลู โบราณ เก่ียวกบั ลกั ษณะ เป็นสิ่งตกทอด จนกระทง่ั วิ ลเลียม เวลส์ นูเวลล์ ไดอ้ ธิบายความหมาย folklore วา่ เป็น “ประเพณีปรัมปรามุขปาถะ และความเช่ือ ท่ีถา่ ยทอดจากชนรุ่นหน่ึง มายงั ชนอีกรุ่นหน่ึง โดยไมม่ ีการบนั ทึกเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร”โดยแบสคอม คดิ ว่าคติชน จะทาหนา้ ที่เฉพาะ ในวฒั นธรรมตา่ งๆ ดงั น้ี ไดแ้ ก่ หนา้ ที่ในการเป็นกระจกเงาสะทอ้ นวฒั นธรรม ประการต่อมา หนา้ ที่ทาให้แงค่ ิดแตง่ ต่าง ในวฒั นธรรมมีเหตผุ ล ประการที่สาม คติชนเป็นวิถีของการศึกษา และประการสุดทา้ ย คติชน รักษาความเป็นแนวร่วม ในการยอมรับแบบแผน พฤติกรรมของคนในสงั คม จากคาบอกเล่า และประโยค ที่ลูกหลานชาวโคราช มกั พดู กนั อยเู่ สมอวา่ “ตราบใดก็ตามท่ียงั มีความเชื่อความศรัทธา อนุสาวรียค์ ณุ ยา่ โมตราบน้นั เพลงโคราชจะไม่มีวนั สาบสูญ” จากคติชนชุดความเช่ือความศรัทธา ท่ีชาวโคราช มีตอ่ คณุ ยา่ โม หรือทา้ วสุรนารีเปรียบเสมือนลมหายใจของเพลงโคราช การละเลน่ พ้นื บา้ น อนั เป็น เอกลกั ษณ์ ของคนโคราชทาหนา้ ที่สะทอ้ น เร่ืองราวนบั แตอ่ ดีตผา่ นการเปลี่ยนแปลงของยคุ สมยั ตามกาลเวลา โดยชาวโคราช มีคติความเชื่อความศรัทธาในการกราบไหว้ บูชา ขอพรตลอดท้งั บนบานศาลกลา่ วจากคุณยา่ โม เม่ือสมประสงคก์ จ็ ะแกบ้ น ตามท่ีไดบ้ นบานศาลกลา่ วไว้ แตส่ ่ิงที่ยา่ โมโปรด ปรานเมื่อคร้ังยงั มีชีวิตอยมู่ ากท่ีสุดก็คอื เพลงโคราช คติชนดงั กล่าวมาเห็นไดว้ า่ ชุดความเช่ือน้ีมีบทบาทหนา้ ท่ีสาคญั ในการ อนุรักษเ์ พลงโคราชให้อยกู่ บั เมืองโคราชแมเ้ วลาจะล่วงเลยมานานและยคุ สมยั จะเปลี่ยนแปลงตราบใดทค่ี ุณยา่ โมยงั อยใู่ นใจ ลกู หลานชาวโคราชตราบน้นั เพลงโคราชจะไม่สาบสูญเพราะเพลงโคราชคือเพลงของคุณยา่ โม คาสาคัญ: ท้าวสุรนารีคณุ ย่าโม, เพลงโคราช, คตชิ น, ความเชื่อความศรัทธา ยา่ โม หรือทา้ วสุรนารี เป็นวรี สตรีผกู้ ลา้ ชาวนครราชสีมา ปรากฏหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ในช่วงสมยั รัชกาลท่ี 3 แห่งราชวงศจ์ กั รีในเหตวุ ีรกรรมณท่งุ สัมฤทธ์ิ ซ่ึงคุณหญิงโมและนางสาวบุญเหลือ ไดร้ วมพลบรรดาชเลยที่เป็นชาวชาว นครราชสีมาซ่ึงถูกกวาดตอ้ นมาตอ่ สู้กบั ขา้ ศึก จึงพลิกสถานการณ์ทาการกอบกเู้ มืองนครราชสีมากลบั คืนมาจนได้ จากน้นั ใน หลวงรัชกาลที่ 3 ทรงมีพระกรุณาโปรดเกลา้ สถาปนาคณุ หญงิ โมข้นึ เป็นทา้ วสุรนารี เมื่อวนั ท่ี 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2370 (สานกั วรรณกรรมและประวตั ิศาสตร์ กรมศิลปากร, 2558: 61) เทา้ สุรนารี จึงถือตวั แทนของผทู้ เ่ี สียสละเป็นศนู ยร์ วมแห่งความศรทั ธา ของชาวโคราชจึงมีการสร้างอนุสาวรีย์ ทา้ วสุรนารีข้นึ และจดั ต้งั ไวบ้ ริเวณหนา้ ประตูชุมพล กลางเมืองนครราชสีมา
เม่ือวนั ท่ี 15 มกราคม พ.ศ. 2477 (สานกั สนั นิษฐาน และประการสุดทา้ ยคอื ลกั ษณะการถือปฏิบตั ิ วรรณกรรมและประวตั ิศาสตร์ กรมศิลปากร, 2558: 157) ตามคาสอนผคู้ ดิ หรือทฤษฎีผตู้ ้งั ศาสนา (จรัส พยคั ฆราช นบั ไดว้ า่ อนุสาวรียท์ า้ วสุรนารีเป็นสญั ลกั ษณ์แห่งความ ศกั ดิ) ความเชื่อจึงเป็นพ้นื ฐานทาให้คนโนม้ เอียงสู่การ เสียสละของชาวโคราช ท่ีช่วยปกป้องผืนแผน่ ดินไทย ให้ ยอมรับบชู าภกั ดี เทิดทูนและมอบกายถวายตวั แก่ส่ิงที่ตน คงความเป็นเอกราช เป็นสตรีปถุ ชุ นคนธรรมดาท่ีมีความ ให้ความศรทั ธาซ่ึงศรัทธา มาจากค าวา่ faith อนั หมายถึง กลา้ หาญ และเป็นท่ียดึ เหน่ียวจิตใจของลูกหลานชาว ความเชื่อมน่ั ถือมนั่ ศรัทธาในความหวงั ทียงั ไม่เกิดข้นึ วา่ มี โคราชที่มีความเชื่อและความศรทั ธาต่อคณุ ยา่ โม จริง โดยศรัทธา เป็นรากฐานทฤษฎีการพฒั นาแห่งศรัทธา ของ เจมส์ ฟาวเลอร์ (James Fowler) ศาสตราจารยด์ า้ นเทว ท่ีมา ครบรอบ 82 ปี อนุสาวรียท์ า้ วสุรนารี จงั หวดั นครราชสีมา ท่ีคน วิทยาและการพฒั นามนุษย์ ทฤษฎีของเจมส์ฟาวเลอร์ เป็น แบบสหวทิ ยาการเพ่ือเขา้ ใจคา่ นิยมพฤติกรรมจิตวิญญาณ โคราชให้ความเคารพสักการะ | WeKorat by Wongnai และศาสนาในชีวิตของคน ที่เชื่อในบางอยา่ งหรือบางคนที่ มีศรัทธาทางศาสนานาไปสู่ความเช่ือความศรัทธาส่ิงเหนือ กล่าวไดว้ ่าความเช่ือและความศรัทธาน้นั อยใู่ น ธรรมชาติ โดยมุ่งไปท่ีววิ ฒั นาการในการพฒั นา ดงั น้นั คนทกุ คน แตจ่ ะมากหรือนอ้ ยแตกต่างกนั ไปตามพ้ืนฐาน ศรัทธาจึงหมายถึงไม่ใช่ความเช่ือที่รู้ถึงความจริงอนั จากประสบการณ์ท่ีพบเจอในชีวิต จนพฒั นาความเชื่อ ประกอบไปดว้ ยประสบการณ์ทางโลก มุมมองทางสงั คม ตามลาดบั ช้นั กลายมาแรงผลกั ดนั การกระทาหรือกิจกรรม ตรรกะความคิด ในการทาความเขา้ ใจโลก หรือมมุ มองของ จนพฒั นาเป็นประเพณีสืบกนั มา เป็นการเช่ือมน่ั วางใจและ ตนเองท่ีรับรู้สังคมในแง่มุมต่าง หากแต่หมายถึงความ ภกั ดีทาให้ผคู้ นคาดหวงั ต่อเหตใุ นอนาคตที่ยงั ไม่เกิด หรือ เขา้ ใจที่ทาใหเ้ กิดเป็นความศรัทธาหลายท่ีซบั ซอ้ นมากข้นึ ยงั ไมเ่ ป็นจริงแตก่ ็ส่งผลทาให้คนมีความพยายาม มีความ เป็นลาดบั ๆ และความเชื่อที่มีต่อพลงั เหนือธรรมชาติเป็น มานะ มีความคาดหวงั ในการดาเนินชีวิต(เดือน คาดี) จะเห็นไดใ้ นกลมุ่ คนหรือในกลมุ่ พ้ืนที่ ที่มีผลตอ่ บทบาท พระองคเ์ จา้ วรรณไวทยากรณ์ ไดแ้ สดงประเภทของความ และสภาพจิตใจในการกาหนดพฤติกรรมการกระทาต่าง ๆ เช่ือไว้ 3 ประการ ไดแ้ ก่ ประการแรก คอื ลกั ษณะยอมรับ ตามสิ่งท่ีเชื่อและมีผล ตอ่ ความศรทั ธา (Meebua, S., คาพดู และหลกั ฐานของผอู้ น่ื โดยที่ไม่ไตร่ตรอง อนั เป็น Uejitmet, W. & Subsin, W., 2017) การนบั ถือวญิ ญาณเป็น ความรู้สึกเฉพาะของบคุ คล ประการตอ่ มาเป็นความมน่ั ใจ อีกความเช่ือหน่ึง ซ่ึงเชื่อวา่ วิญญาณน้นั มีอิทธิพลต่อส่ิง และไวว้ างใจในตนเอง อนั เป็นรากฐานของการต้งั ขอ้ ตา่ งๆทกุ ที่ทกุ แห่งหนดงั น้นั แลว้ จะตอ้ งคอยรบั ใชว้ ญิ ญาณ ดว้ ยการบวงสรวงดวงวญิ ญาณและประกอบพิธีกรรมต่างๆ อนั แสดงถึงความเคารพตอ่ ดวงวญิ ญาณ เพื่อจะไดร้ ับ ความสุขความสาเร็จตา่ งๆหรือการคมุ้ ครองตอบแทน (Buaramual, S., 2006) ในปัจจุบนั ไม่ว่าในระบบ ครอบครัว หรือชุมชน กม็ ีความเช่ือความเคารพวญิ ญาณ บรรพบรุ ุษ จะเห็นไดจ้ ากการเสน้ สรวงบูชาตามท่ีตา่ งๆ อนั เป็นการแสดงออกถึงความเคารพตอ่ ดวงวิญญาณตามที่ เหลา่ น้นั หรือแมแ้ ต่กรณีที่มคี นเจบ็ ป่ วย ผคู้ นในชุมชนจะ มองวา่ คนป่ วยตอ้ งทาผิดหรือไมเ่ คารพ ต่อกฎเกณฑ์ กติกา
ต่อพลงั อานาจเหนือธรรมชาติการเจบ็ ป่ วยนบั เป็น เพลงโคราชน้นั เป็นการร้องแกเ้ ก้ียวกนั ระหวา่ ง บทลงโทษ (Aaron, P., Peter, J Brown., 2007)ซ่ึงส่ิงท่ีมกั ผหู้ ญิงและผชู้ ายโดยร้องตอบโตก้ นั โดยใชป้ ฏิภาณไหว แสดงออกถึงการปฏิบตั ิตอ่ พลงั อานาจและส่ิงทีศ่ รัทธา ก็ พริบของหมอเพลงในการร้อง ซ่ึงไม่ปรากฏหลกั ฐานว่ามี มกั แสดงให้เห็นไดท้ ้งั การวิงวอน การอธิฐาน ตลอดจนถึง เมื่อใดสมยั ใด มีเพียงคาบอกเลา่ ทวี่ า่ เมื่อคร้ังทที่ า้ วสุรนารี การบนบานศาลกลา่ ว ยงั มีชีวิตอยู่ ท่านโปรดเพลงโคราชมาก (ก่อน พ.ศ. 2394) การบนบานศาลกล่าว ตามวิถีของชาวอนิ เดีย ท่ีมาhttp://www.google.co.th/search? โบราณ มีความเช่ือเรียกว่ายนั ตพ์ ิธี ซ่ึงมีแนวโนม้ ไปในทาง และมีหลกั ฐานในปี พ.ศ. 2456 วา่ นายหร่ี บา้ นสวนขา่ ได้ เบียดเบียนสตั ว์ ฆา่ ชีวิตบชู ายญั แตต่ ามจริยธรรมเชิงพุทธ เล่นเพลงโคราชถวายสมเด็จพระศรีพชั รินทราบรม ราชินี พระพทุ ธเจา้ ปรบั เปลี่ยนแนวคดิ ใหม่ เรียกว่าพลีกรรม5 นาถ คร้ังเสดจ็ พระราชดาเนินมาทรงเปิ ด ถนนจอมสุรางค์ เป็นการทาหนา้ ทีท่ างสังคมที่ดี สงเคราะห์แก่กนั และกนั ยาตรจนกระทง่ั ในปี พ.ศ.2477 มีงานฉลองอนุสาวรียท์ า้ ว และสังคมไทย ก็มกั จะมีเรื่องพธิ ีกรรมการบนบาน สุรนารี กไ็ ดม้ ีการละเล่นเพลงโคราชที่อนุสาวรียท์ า้ วสุร บวงสรวงให้เห็นอยบู่ อ่ ยคร้ังในหลายๆพ้นื ท่ี ท้งั พธิ ี นารีสืบมาจวบจนถึงปัจจุบนั โดยมีการต้งั คณะเพลงโคราช ชาวบา้ น พธิ ีทางศาสนาซ่ึงมีมาต้งั แต่อดีตกาล ถา้ มองในแง่ และมี การเล่นเพลงโคราชแกบ้ นท่ีเวทีการแสดงบริเวณ ความสาคญั แลว้ ความเช่ือ ของการบนบาน ถือว่าแต่ละคน อนุสาวรียท์ า้ วสุรนารีและเวทีการแสดงท่ีวดั ศาลาลอยอยู่ มีความจาเป็น เม่ือมีความเช่ือต่ออานาจอนั ศกั ด์ิสิทธ์ิ แมจ้ ะ เป็นประจา (เพลงโคราชเฉลิมพระเกียรติเล่ม 1, ออนไลน)์ เชื่อในเรื่องที่แตกต่างกนั ออกไป หรือเช่ือในเร่ืองเดียวกนั ในปัจจบุ นั จะมีเวทีการแสดงเพลงโคราช บริเวณอนุสาวรีย์ แต่ตา่ งมมุ มอง การบนบานจะองิ อยกู่ บั ความเช่ือ เม่ือสิ่งที่ ทา้ วสุรนารี เม่ือมีคนมา บนบานกราบไหว้ ขอพรคณุ ยา่ ตนบนบานน้นั ใหผ้ ลสาเร็จแก่ตน จะตอ้ งทาเง่ือนไข หรือ เม่ือสิ่งที่ขอสมหวงั ดงั ประสงค์ ผทู้ ่ีมาบนบานกจ็ ะนิยมจา้ ง นาสิ่งที่ ไดบ้ นบานไวม้ าแกบ้ น อนั เป็นการทา สัตยสัญญา คณะเพลงโคราชร้องถวายคณุ ยา่ โม เพราะเช่ือว่าเป็นสิ่งที่ วา่ จะแกบ้ นดว้ ยส่ิงตา่ งๆ หากการบนบานน้ีตา่ งจากการ คุณยา่ โมโปรดปราน( เกวลี สิทธิธญั กรรม) โดยชุดความ ออ้ นวอน ซ่ึงการออ้ นวอน สามารถออ้ นวอนโดยท่ีไมต่ อ้ ง เช่ือน้ีนบั ว่าเป็นคติชนท่หี ยงั่ รากลึกคู่ชาวโชราชมาอยา่ ง มีการแกบ้ น ซ่ึงคลา้ ยกบั การอธิษฐาน การขอพร เม่ือได้ แนบแน่นนบั แตอ่ ดีตจวบปัจจบุ นั ผลสาเร็จผา่ นไป ก็ไม่ตอ้ งแกบ้ นหรือสะเดาะเคราะห์ ดว้ ย สิ่งของอะไรท้งั สิ้น(พระครูสิริรัตนานุวตั ร รศและคณะ . ดร.) ชาวโคราช จึงนิยมถือเอาการบนบานจากยา่ โม เช่น หนา้ ท่ีการงาน สุขภาพ ความรัก การงาน ครอบครัว การศึกษา เม่ือส่ิงท่ีขอประสบความสาเร็จก็จะทาการแกบ้ น ดว้ ยส่ิงท่ีแต่ละบคุ คลไดบ้ นเอาไวใ้ นบรรดาลูกหลานชาว โคราชเมื่อมาทาการบนบนตอ่ คณุ ยา่ โมกม็ กั จะทาการแก้ บนในสิ่งท่ีคณุ ยา่ โปรดปรานโดยเฉพาะนน่ั คอื การแกบ้ น ดว้ ยเพลงโคราช ซ่ึงมีการเล่าขานสืบตอ่ กนั มาว่าส่ิงท่ียาโม ชอบท่ีสุดต้งั แต่ยงั มีชีวติ อยู่
ทฤษฎีคติชนวทิ ยา นกั คติชนส่วนใหญใ่ น สรุป ประเทศไทยน้นั พ้ืนฐานจากนกั วรรณคดี โดยนกั คติชนนกั และวรรณคดีมีความเหมือนกนั คอื ใชข้ อ้ มลู วรรณกรรม จากการวิเคราะห์ คติชนความเชื่อ ซ่ึงเป็นชุดความคดิ ท่ีว่า เหมือนกนั นกั คติชนใหค้ วามสนใจเกี่ยวกบั วรรณกรรมท่ี ตราบท่ียงั มีความเช่ือความศรทั ธา ต่อคณุ ยา่ โม ตราบน้นั ถา่ ยทอดโดยการบอกเลา่ ภาษา ทา่ ทางการแสดง ในลีลา เพลงโคราชจะไม่มีวนั สาบสูญ คติน้ี มีการสืบต่อจากรุ่นสู่ การเตน้ พิธีกรรม ประเพณีของกลุ่มต่างๆ นกั คติชน รุ่น ในฐานะมรดกทางวฒั นธรรม ผา่ นเร่ืองเลา่ ตานาน ที่ว่า คลา้ ยคลึงกบั นกั มานุษยวทิ ยา และนกั ชาติพนั ธุ์วรรณนาที่ คณุ ยา่ โม โปรดปรานเพลงโคราช มนั เป็นเรื่องเล่า ตานาน สนใจวิถีชีวิตความสัมพนั ธ์ ความเป็นอยขู่ องคนและระบบ ท่ีสร้างความเขม้ แขง็ แนะถ่ายทอด มรดกทอ้ งถิ่น ท่ีมี ในสังคม ซ่ึงโครงสร้างหนา้ ที่ของคติชนไดร้ ับแนวคิดมา เอกลกั ษณ์ คอื เพลงโคราช ใหม้ ีลมหายใจ การถา่ ยทอดบอก จาก ทฤษฎีหนา้ ท่ีนิยม (Functionalism) ซ่ึงใหค้ วามสนใจ เล่า ชุดความคดิ ซ่ึงมิไดจ้ ารึก เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร แต่คติ หนา้ ท่ขี องระบบตา่ งๆในวฒั นธรรมท้งั ดา้ นเป็นความเชื่อ ชนดงั กล่าว กลบั แสดงบทบาท หนา้ ที่ แห่งการรักษา ดา้ นศาสนา ระบบการศึกษาการนนั ทนาการตลอดจน เสถียรภาพ ของวฒั นธรรม เพลงโคราช อนั เป็นวฒั นธรรม ระบบครอบครัวและการปกรองจากนกั มานุษยวิทยา มอง พ้ืนบา้ นซ่ึงมอบความเพลิดเพลิน แทรกไปดว้ ยพธิ ีกรรม ว่าระบบตา่ งๆน้นั เป็นกลไกทางวฒั นธรรมซ่ึงมีหนา้ ที่ของ เป็นอีกหน่ึงแหล่งเรียนรู้ศึกษา อีกท้งั ยงั รักษาแบบแผน ตนและทาใหส้ งั คมอยไู่ ด้ มาลินอฟสกี (Malinowski) กล่าว ของความเป็นชาวโคราช ใหย้ ืนนาน มากกวา่ ร้อยปี คือ ว่า “หนา้ ท่ีของตานานปรัมปรา คอื ช่วยสร้างความเขม้ แขง็ ก่อนปี พ.ศ.2394สะทอ้ นผา่ น ความเชื่อ ความศรัทธา ของ และ ถ่ายทอดประเพณีของกลมุ่ ” ซ่ึงวลิ เลียม บาสคอม ลกู หลานชาวโคราช ที่มีต่อบรรพบรุ ุษ แนะวีรสตรีผกู้ ลา้ (William Bascom) นกั คติชนวทิ ยานาแนวคิด ของมาลี แห่งนครราชสีมาคอื คุณยา่ โม ในฐานะ แบบอยา่ งแห่ง นอฟสกีวพิ ากษเ์ ชิงสร้างสรรคว่าดว้ ยบทบาท หนา้ ท่ี 4 ความเสียสละ กลา้ หาญ ปกป้องเอกราชบนผืนแผน่ ดินไทย ประการของคติชน คอื มอบความเพลิดเพลิน ทาให้เห็นวา่ โดยคติพ้นื ถิ่นน้ี ถกู นามายดึ โยง คอื รักษา ประเพณี พิธีกรรมมีความสาคญั เป็นสิ่งมอบการศึกษา ประการ วฒั นธรรมพ้ืนถิ่น ท่ีเรียกว่าเพลงโคราชแมจ้ ะไม่ทราบวา่ สุดทา้ ยคือรักษาแบบแผนของสงั คม จาก 4 บทบาทที่กล่าว ใครเป็นผคู้ ิดคน้ คติความเช่ือน้ี แต่ก็ปฏิเสธมิได้ ว่าชุด มาทา้ ยท่ีสุดก็คอื การรักษาเสถียรภาพของวฒั นธรรมนน่ั เอง ความเช่ือดงั กล่าว มีบทบาทสาคญั ตอ่ การอนุรักษเ์ พลง (maintain the stability) บปุ ผา บญุ ทิพย (2543 : 243) โดย โคราชใหค้ งอยู่ จะเหน็ ไดจ้ าก เมือ่ มีการบนบานศาลกลา่ ว สรุปลกั ษณะเฉพาะของคติชาวบานและความหมาย 1. เป็น ติดตอ่ คุณยา่ โม แลว้ สาเร็จสมประสงคด์ งั่ หวงั สิ่งที่ ผขู้ อ สิ่งสืบต่อกนั มาจากรุ่นสู่รุ่นในฐานะของมรดกทาง หรือมาบนบาน มกั จะปฏิบตั ิสืบตอ่ กนั มาคือการแกบ้ น วฒั นธรรม 2. ถา่ ยทอดกนั โดยคาบอกเลา่ มขุ ปาฐะไม่มีการ ดว้ ยเพลงโคราช ในปัจจบุ นั น้นั กย็ งั มีให้เห็น และเป็นท่ี จดบนั ทึก 3. นอกเหนือจากคติชาวบา้ นประเภทใชถ้ อ้ ยคา น่าสนใจว่า นอกจากคติความเชื่อ ดงั กลา่ วที่ผกู ติดกบั ความ เช่น ศิลปะอาชีพ ใชก้ ารสงั เกต ฝึกฝน ไมม่ ีครูสอนเป็น เช่ือความศรัทธา ของลูกหลานชาวโคราช ท่ีมีตอ่ คณุ ยา่ โม กิจจะลกั ษณะ ไม่มีโรงงาน 4. ไมท่ ราบว่าใครเป็นผคู้ ดิ คน้ จนกลา่ วไดว้ า่ “ เพลงโคราช คอื เพลงของยา่ ” คติชาวบา้ นน้นั 5. “เป็นมรดกของคนส่วนใหญ่ของ ประเทศ ของกลุ่มชนน้นั ๆ จากขา้ งตน้ เหน็ ความสัมพนั ธ์ ของคติชาวบา้ นและวฒั นธรรมพ้นื บา้ นท่เี ก่ียวขอ้ งเก้ือกลู กนั และกนั
เราท้งั หลาย จะมีแนวทาง วธิ ีการใดบา้ ง ในการอนุรักษ์ ให้เพลงโคราช ตอ่ ยอด เป็นทีร่ ู้จกั สู่ระดบั สากลและแพร่หลาย เฉกเช่นการแสดงโนราห์ ท่ีไดร้ ับการยกยอ่ ง สู่บญั ชีมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม ท่ีจบั ตอ้ งไม่ไดข้ องมนุษยชาติและสร้างการ ยอมรับการรู้จกั ไปยงั นาๆประเทศ อ้างองิ Aaron, P., Peter J. Brown., (2007). Applying Anthropilogy an Inthroductory Reader. Diversity New York : Mc Graw Hill. Buaramual, S., (2006). Religious folklore, popularism, mythology.Bangkok: Khumkum publishing. (In Thai) James Fowler, Faith Development Theories, (New York: Harper Collins, 1996), under “James Fowler,” accessed February 4, 2019, https://cdr.lib.unc.edu/indexablecontent/uuid:b324809f-9202-4922-a77efb3836fb6867. Meebua, S., Uejitmet, W., Subsin, W., (2017). Changes in The Way of Life and The Impact of Tourism on The Local Way of Kiriwong Life. Nagabut Journal Review Nakhon Si Thammarat Rajabhat University. 9 (1). 2017: p 128-139. (In Thai) เดือน คาดี, ศาสนศาสตร์, พมิ พค์ ร้ังท่ี 2 (กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2541), 18. จรัส พยคั ฆราชศกั ด์ิ, ศาสนาและลทั ธินิยมในทอ้ งถิ่น (มหาสารคาม: สานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ, 2526), 288. บปุ ผา บญุ ทิพย,์ คติชาวบา้ น, พมิ พค์ ร้ังท่ี 9 (กรุงเทพฯ : สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลยั รามคาแหง, 2543),243 เสาวลกั ษณ์ อนนั ตศานต,์ ทฤษฎีคติชนและวิธีการศึกษา(กรุงเทพฯ: สานกั พิมพม์ หาวิทยาลยั รามคาแหง,2543),371
คติชนความเชื่อความศรัทธาคณุ ย่าโมทีม่ ีผลต่อการอนุรักษ์เพลงโคราช จกั รินทร์ แสงโสภา รหสั นักศึกษา 65720001-1 ดษุ ฎีนิพนธ์ ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิจยั วฒั นธรรม ศิลปกรรม และ การออกแบบ(บริหารจดั การวฒั นธรรม) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น พ.ศ. 2565
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: