ธงุ จากศรทั ธาสกู่ ารพฒั นาเศรษฐกิจชุมชน ณัฐวฒุ ิ ยุบลพนั ธ์ุ* 655220003-3 ชาวอีสานได้มีการประดิษฐ์ธุงที่หลากหลายรูปแบบ หลากหลายสีสัน บนผืนผ้าหรือวัสดุสิ่งอื่นเพื่อส่ือ ความหมายระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อที่มีมาตั้งแต่โบราณ ดังที่ (ภาณุพงศ์ ธงศรี. 2562 อ้างใน สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 2562) ได้กล่าวว่า ธุงเป็นสัญลักษณ์ของความ เชื่อเกี่ยวกับโชคลางของชาวอีสานและประเทศอื่นๆ ที่พบในแถบดินแดนอุษาคเนย์โดยมีความเชื่อพื้นฐานจาก วัฒนธรรมของผี พราหมณ์และพุทธ ที่หลอมรวมเป็นอัตลักษณ์อันโดดเด่นของภูมิภาคที่เป็นความเชื่อของท้องถนิ่ โดยมีการใช้ภาษาเรียกที่แตกต่างกัน ซึ่งธงเป็นภาษามาตรฐานในประเทศไทย ภาคอีสานเรียกว่าธุง , ภาคเหนือ เรยี กตุง , ชาวไทยใหญเ่ รยี กตำข่อน , ประเทศพม่าเรียกตะขุ่น , ประเทศลาวเรียกธุงหรือทงุ ซงึ่ ในภาษาอีสานและ ภาษาลาวมีความคลา้ ยกนั โดยใช้คำว่า ธุงหรอื ทุง ทัง้ นห้ี ากเขียนตามภาษาถิ่นจะใช้ ท แทน ธ ซงึ่ คนอีสานมกั จารทั้งตัวอกั ษรธรรมและไทยน้อยด้วย ท ผสม สระ อุ และมี ง เป็นตัวสะกด ซึ่งในสมัยใหม่รับรู้แล้วว่า ทุง นั้นเป็นคำเก่าโบราณ ก็คือ ธช , ธฺวชฺ ในภาษาบาลี- สันสกฤต และ ธง ในภาษาไทยสมัยปัจจุบันด้วยความคุ้นชิน การพลิกแผลงทางภาษาและความรุ่มรวยด้าน ตัวอักษร จึงไม่เกินความสามารถที่จะบัญญัติศัพท์ใหม่ว่า ธุง ขึ้นได้เพราะสามารถเขียนและอ่านได้โดยไม่ละทิ้ง ความหมายเดิม (วณี า วีสเพญ็ . 2562)
ซ่ึงได้ปรากฏการใชธ้ ุงที่มีความเป็นมาตั้งแตส่ มยั พุทธกาลพุทธกาล ดงั ทป่ี รากฏในเรื่องพระเวสสันดร ตอน แห่พระเวสสันดรเข้าเมือง ประชาชนชาวเมืองที่มาต้อนรับได้ใช้ผ้าผืนยาวแขวนบนปลายไม้ไผ่ปล่อยชายพลิ้วไหว ตามเส้นทางเสด็จของพระเวสสันดร ซึ่งในปัจจุบันได้มีการสืบต่อมาใช้ในงานบุญผะเหวด รวมทั้งบางครั้งยังถูก นำไปใช้กับงานบุญอื่นๆ เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของการจัดงานบุญ ธุงยังเป็นเครื่องประกอบพิธีกรรมที่สำคัญของชาว อีสานมาอยา่ งยาวนาน เช่อื กันว่าสามารถใชป้ ้องกันส่งิ เลวรา้ ยหรือส่ิงไม่ดีที่มองไมเ่ ห็น ภูตผีวิญญาณต่างๆ ที่จะมา รบกวนงานบุญ หากเห็นธุงแล้วจะถอยออกไป อีกนัยหนึ่งธุงยังเป็นสิ่งที่บอกกล่าวบวงสรวงเทพยาดา คนอีสาน นิยมทอธุงนำไปถวายเพื่อเป็นเครื่องบูชาและอุทิศถวายตามความเชื่อที่ว่า การถวายธุงเป็นการสร้างกุศลให้แก่ ตนเองและอุทศิ กุศลผลบุญใหก้ บั ผู้ล่วงลบั ไปแลว้ (ประทับใจ สิกขา. 2555) โดยสอดคล้องกับ วิทยา วุฒิไธสง (ม.ป.ป.) ท่ีได้แบ่งประเภทของธุงอีสาน 6 ประเภท ดังนี้ 1.ธุงราว 2.ธุง ไชย 3.ธุงสบิ สองราศี 4.ธงุ เจดยี ์ทราย 5.ธงุ ไสห้ มู 6.ธุงใยแมงมุม และได้กลา่ ววา่ คนอสี านนยิ มทอธงุ เป็นผนื ยาวๆ มี รปู สัตวห์ รอื รปู ภาพต่างๆ ตามความเช่ือบนผืนธงุ เช่น จระเข้ เสือ ตะขาบ นางเงือก เทวดา และอน่ื ๆ นอกจากนั้น ยงั มกี ารดดั แปลงวสั ดุธรรมชาติอนื่ มาเปน็ ธงุ ด้วย เชน่ ลกู ปดั จากเมลด็ พืช ไม้แกะรูปทรงตา่ งๆ ธุงใยแมงมุมทำด้วยเส้นผ้ายย้อมสีและไม้ไผ่ โดยใช้ไม้ไผ่เหลาเป็นซี่เล็กๆ ไขว้กากบาทกันแล้วใช้เส้นผ้าย พันสานกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จากศูนย์กลางออกมาเรื่อยๆ และมักจะใช้ผ้ายสีพันเป็นแถบสีสลับกันเป็นชั้นๆ ขนาคของธุงหรือธงจะใหญ่ต่างๆ กันแล้วนำธงุ มาตอ่ กันเปน็ ผืนยาวทิง้ ชายห้อยให้แกวง่ ปลิวไปตามลม ธุงชนิดน้จี ะ มีสีสันสวยงาม จึงมักแขวนบระดับไว้ตามศาลาการเปรียญของวดั เพื่อเป็นพุทธบูชาตามความเช่ือของชาวบ้าน ซ่ึง (วบิ ลู ย์ ล้ีสุวรรณ อ้างใน พวงเพชร ซุปวา. 2542) ดังที่จังหวัดกาฬสินธุ์มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่ปรากฏอย่างชัดเจนเรื่อง “ธุงใยแมงมุม” ท่ี ประดับประดาบนพื้นที่พระยาคู ในงานเทศกาลมาฆบูชา และ งานวิสาขบูชา ที่มีการแขวนตกแต่งประดับประดา ด้วยธุงใยแมงมุมท่ีหลากหลายสีสันที่ตกแต่งอย่างสวยงาม และการจัดทำธุงจำนวนมากที่สุดจนเรียกได้ว่าทะเลธุง (สำนกั งานวฒั นธรรมจังหวดั กาฬสนิ ธุ์. 2565) จาการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับธุงใยแมงมุมในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งพบว่าศูนย์กลางในการจัดงานบุญ ประเพณีฮีตสิบสองคลอง14 ในวัดโพธิ์ชัยเสมาราม บ้านเสมา ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธ์ุ ได้มีการจัดงานในช่วงเดือน 4 งานบุญผะเหวดหรือเทศน์มหาชาติ ซึ่งพบว่าในช่วงบุญผะเหวดชาวบ้านในชุมชน บ้านเสมาจะร่วมกันทำธุงหลากหลายชนิดเพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรม ซึ่งจะทำธุงช่อเล็กๆ ใส่ในคายครุภัณฑ์ เพื่อเป็นเครื่องบูชา และนอกจากนั้นในบ้านหรือคุ้มไหนที่มีฝีมือในด้านการทอผ้า ก็จะทอธุงผะเหวดมาถวายวัด เพื่อนำไปใชป้ ระดบั บริเวณรอบๆ ศาลาโรงธรรม โดยกลุ่มชาวบ้านจะทำธุงใยแมงมุมเพ่ือประดับบริเวณธรรมมาสน์ เพ่อื จำลองเหตุการณ์และสถานท่ีเทศน์มหาชาติให้เหมือนกับเขาวงกตในมหาเวสสันดรชาดก ซ่ึงได้ยึดถือปฏิบัติสืบ
ต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2560 พระมหารัตนะ รตนสิริ ได้มีแนวคิดในการนำรูปแบบธุงใยแมงมุมมา ประกอบเป็นตน้ ธุงใยแมงมุมที่มีลักษณะเป็นโมบายขนาดใหญผ่ ูกตดิ กับเสาไม้ไผ่และใหธ้ ุงใยแมงมมุ ห้อยลงมา และ นำมาประดับตกแต่งสถานที่ภายในวัดโพธิ์ชยั เสมาราม บนถนนเส้นทางตามหมู่บ้าน และบริเวณพระธาตุยาคู เพื่อ สร้างสีสันความสวยงาม จนกระทั่งนายสัมฤทธิ์ กิตติโชคสุขสงค์ นายอำเภอกมลาไสย ได้มาพบเห็นความสวยงาม จึงขอความร่วมมือชาวบ้านเสมาให้ช่วยกันประดิษฐ์ต้นธุงใยแมงมุมเพิ่มขึ้น เพื่อนำไปใช้ประดับตกแต่งในงาน ประเพณีสรงน้ำพระธาตยุ าคู ประจำปี 2560 เป็นต้นมาจนถงึ ปัจจุบนั (สิทธิชยั ระหารนอก. 2564) ในปัจจุบนั ธุงมบี ทบาทในทอ้ งถนิ่ ทโี่ ดดเดน่ คือ ใชเ้ ปน็ เครือ่ งประดับสถานทที่ อ่ งเทย่ี วในงานประเพณีต่างๆ เช่น งานเทศกาลมาฆบูชา “มาฆปูรมี ทวารวดีมิ่งหล้าฟ้าแดดสงยาง” ณ พระธาตุยาคู ตำบลหนองแปน อำเภอ กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธ์ุ และ งานวิสาขบูชา “วิสาขปุณณมี ประเพณีสรงน้ำพระธาตุยาคู” เพื่อดึงดูดสายตา และสร้างความบันเทิงเริงใจให้แก่นักท่องเที่ยว ควบคู่ไปกับการใช้ธุงเป็นเครื่องแสดงถึงความเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธ์ิ (วณี า วีสเพ็ญ. 2562) ซึ่งมีท่ีมาจากการประดษิ ฐต์ น้ ธงุ ของชาวบ้านเสมา ดังทก่ี ล่าวมาในขา้ งตน้ จงึ ทำให้หมู่บ้านแหง่ นี้เปน็ ชุมชน ทอ่ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรมท่ีโดดเด่น และมแี หล่งทอ่ งเทีย่ วทีม่ บี รรยากาศของชุมทีม่ ีความสวยงามเงยี บสงบ ทีบ่ อกเล่า เรื่องราววิถชี ุมชน การแสดงรำบูชาพระธาตุยาคู การนำธงุ ใยแมงมุมเพ่ือมาถวายพระธาตุยาคู (สชุ านาถ สิงหาปัด. และคณะ. 2564) มลู เหตุของการถวายธุงในประเพณีสงน้ำพระธาตยุ าคู จากการศึกษาจากหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ พระ ธาตุยาคูมลี ักษณะเป็นเจดียท์ ี่ก่อด้วยอฐิ ท่ีปรากฏร่องรอยการก่อสรา้ ง 3 สมยั คอื ส่วนฐานเป็นรปู ส่เี หลี่ยมย่อมุม มี บันไดทางขึ้นทั้งสี่ด้าน สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยทวารวดี ถัดขึ้นมาเป็นเป็นฐานแปดเหลี่ยมเป็นเจดีย์แบบสมัย อยุธยาซ้อนทับ และส่วนองค์ระฆังและส่วนยอดสร้างเพิ่มเติมขึ้นใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งองค์พระธาตุยาคู ชาวบ้านเช่ือว่าเปน็ ท่ีบรรจุอัฐขิ องพระเถระชัน้ ผูใ้ หญ่ และจากตำนานเม่ือครั้งเมืองเชียงโสมได้ชนะสงครามทำลาย ทุกอย่างในเมืองฟ้าแดดสงยาง แต่ไม่ได้ทำลายพระธาตุยาคูซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญตั้งแต่ในอดีตจ นถึง ปัจจุบัน พระธาตุยาคู เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ที่คนในพื้นที่รวมทั้งใกล้เคียงให้ความเคารพศรัทธาเดินมากราบไหว้บูชา โดยตลอดในวนั สำคัญทางศาสนา (หนังสอื พมิ พ์ขา่ วสด. ฉบบั วนั ท่ี 19 เม.ย. 2565) ด้วยเหตุนี้ชาวบ้านในอำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ร่วมใจกันประดิษฐ์ธุงใยแมงมุมขึ้นมาเพ่ือ สะท้อนความเชื่อในการถวายเครื่องสักการะบูชาและการป้องกันสิ่งอัปมงคลเพื่อไม่ให้เกิดขึ้นในงาน เมื่อหลอม รวมกนั จากหลายพื้นทีเ่ ปน็ ทะเลธุงใยแมงมุมท่มี สี สี นั สดใสงดงาม ผกู เปน็ ธงยาวกับเสาไมไ้ ผ่ เรยี งกนั เปน็ ทางยาวสุด สายตา มีพระธาตุยาคตู ้ังเป็นฉากสง่างามอยเู่ บื้องหลัง ธุงใยแมงมุมท่หี ลากหลายสจี งึ สะท้อนถงึ ความเชื่อของคนใน ชุมชน โดยมลี กั ษณะท่สี ำคัญคือ ธงุ ใยแมงมมุ ท่ีทำด้วยเสน้ ดา้ ยหรือเส้นไหม จึงกลายเป็นสถานที่ท่องเท่ียวให้คนมา
เที่ยวชมและสร้างรายได้ใหก้ ับชุมชนผ่านความเชื่อท้องถิ่น สามารถสร้างมูลค่าให้กับชุมชนและท้องถิน่ ได้ หากเรา เหน็ คณุ ค่าและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาต่อยอด วัฒนธรรมเหล่านจี้ งึ ไม่ใชเ่ พียงความเช่ือท่ีงมงาย แต่ เป็นมรดกทางความคิดท่ที รงคุณค่าและมาจากภูมิปัญญาของท้องถน่ิ (ภาณุพงศ์ ธงศร.ี 2562 อ้างใน สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร. 2562) จากปรากฎการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมดังกล่าวท่ีพบได้ว่า ธุง นอกจากจะเป็นเครื่องสักการะที่ถวาย เป็นเครือ่ งบชู าและอุทิศถวายตามความเช่ือเร่ือง การถวายธงุ และการอทุ ิศกศุ ลให้กับผลู้ ว่ งลบั ไปแลว้ ซึ่งในปัจจุบัน ชาวอีสานได้มีการนำธุงมาใช้เพื่อประดับตกแต่งสถานที่ในงานพิธีหรือเทศกาลต่างๆ ซึ่งจังหวัดกาฬสินธ์ุ ได้มีการ นำธุงมาใช้เพื่อประดับตกแต่งสถานที่ในงานเทศกาลมาฆบูชา และ งานวิสาขบูชา จนกลายเป็นทะเลธุง ที่มีความ สวยงามและสอดแทรกงานทางด้านศิลปะในธุงใยแมงมุม ท่ีส่งผลให้ธุงใยแมงมุม บ้านเสมา ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จงั หวัดกาฬสินธุ์ เกดิ การสรา้ งเศรษฐกจิ และการสร้างรายไดใ้ ห้กับชุมชน จากปรากฏการณ์ ธุง เมื่อนำมาวิเคราะห์กับทฤษฎีสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) ของ (Alexander Gottieb Baumgarte) ที่พบว่า รูปแบบการนำเสนอโดยผ่านการสื่อสารความหมาย ทางด้านความเชื่อและความ ศรัทธาที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา จนทำให้กลายเป็นสถานทีท่ ่องเที่ยวทีเ่ ป็นอัตลกั ษณ์ที่โดดเด่นของ จังหวัดกาฬสินธุ์ ส่งผลให้คนมาเที่ยวชมและเกิดการสร้างเศรษฐกิจและสร้างรายได้ให้กับชุมชนดังที่ปรากฎใน ปจั จุบนั โดยวิเคราะหจ์ าก ความงามท่ีก่อใหเ้ กิดความสะเทือนใจในความรูส้ ึกทางการรับรู้ของมนุษย์ ตามหลักของ ทฤษฎีสุนทรียศาสตร์ โดยเกี่ยวข้องกับการแสวงหา คุณค่า และความงามในธรรมชาติหรือความงามทางศิลปะท่ี เกิดขึ้นกับความรู้สึกการรับรู้ของมนุษย์ โดยสะท้อนออกมาในรูปแบบของธุงใยแมงมุมที่มีถิ่นกำเนิดในพื้นที่บ้าน เสมา ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จงั หวัดกาฬสินธุ์ อันเป็นความงามที่เกิดจากการบ่มเพาะทางภูมิปัญญาส่ง ตอ่ มายงั อนุชนรนุ่ หลังในรูปแบบของประเพณีประดิษฐ์ จนเกิดการพัฒนาสเู่ ศรษฐกิจชุมชน จากที่กล่าวมาข้างต้น ธุง จึงเป็นสัญลักษณ์ที่เกิดจากศรัทธาที่ถูกถ่ายทอดมาด้วยกระบวนการทางสังคม จากอดีตจนปัจจุบัน ซึ่งจะเห็นได้จาก งานเทศกาลมาฆบูชา และ งานวิสาขบูชา ที่จัดขึ้นในพื้นที่บ้านเสมา ตำบล หนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่ได้มีการประดิษฐ์ธุงใยแมงมุมที่มีความหลากหลาย ทั้งสีสันและ รูปแบบ สิ่งเหล่าน้ีได้เกิดจากการพัฒนารูปลกั ษณ์ของธุงเพื่อใหม้ ีความสวยงามและน่าสนใจมากย่ิงขึ้น และนำไปสู่ การพัฒนาในการสร้างสรรค์ธุงใยแมงมุมในด้านการเพิ่มมูลค่าเพื่อสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นในชุมชน จนเป็นที่ แพร่หลายในปัจจุบนั อันส่งผลไปยงั การพัฒนาเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์จากต้นทุนทางวฒั นธรรมแล้วตอ่ ยอดไปยังการ สร้างสรรค์สินค้าและบริการ อันเป็นการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้มีความยั่งยืนด้วยพลังศรัทธาสู่การพัฒนาสร้าง รายได้ในทส่ี ุด
บรรณานุกรม ประทับใจ สกิ ขา. (2555). ธุงอสี าน. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์ศิริธรรมออฟเซท็ . พวงเพชร ชุปวา. (2542). รายงานการค้นควา้ อิสระ เรอ่ื งธุงผะเหวดกับวิถีชีวิตของชาวบา้ น หนองดู่ ตำบลธงธานี อำเภอธวชั บุรี จงั หวดั ร้อยเอ็ด. ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าไทยคดีศกึ ษา (กล่มุ มนุษยศาสตร)์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. สถาบันภาษา ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร. (2562). เรอื่ งธุงสีสนั กฐิน ประเพณคี วรสืบ สาน. สำนักพมิ พม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร. สิทธิชัย ระหารนอก. (2564). วทิ ยานพิ นธ์ เรอื่ งพลวตั วัฒนธรรมการใช้ธงุ กับประเพณีประดษิ ฐบ์ นพืน้ ท่พี ระ ธาตยุ าคู. ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวชิ าศาสนาและภูมปิ ัญญาเพือ่ การพัฒนา. มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. สชุ านาถ สงิ หาปัด และคณะ. 2564). โครงการวจิ ยั เรอื่ งการวิจัยและพัฒนาพื้นที่ทางวัฒนธรรมทวารวดเี มือง ฟ้าแดดสงยางกาฬสนิ ธุ์ กิจกรรมทุนทางวฒั นธรรมดา้ นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม. หจก.กาฬสนิ ธุ์ การพิมพ.์ สำนกั งานวัฒนธรรมจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ. สบื ค้น (เมอื่ วนั ท่ี 18 กันยายน 2565). วีณา วีสเพ็ญ. (2562). ธุงผะเหวดอีสาน : พทุ ธศิลป์แห่งพลงั ศรัทธา. มหาสารคาม : สถาบนั วจิ ยั ศิลปะและ วฒั นธรรมอสี าน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. วทิ ยา วฒุ ิไธสง. (ม.ป.ป.). ศนู ย์วฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . เรอี่ งตงุ : สบื คน้ . (เม่ือวนั ท่ี 8 กันยายน 2565). หนังสอื พมิ พข์ ่าวสด. ฉบบั วันที่ 19 เม.ย. 2565. ศนู ยส์ ารนิเทศอีสานสิรินธร สำนักวทิ ยบริการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: