Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความนางสังขารหลวงพระบาง

บทความนางสังขารหลวงพระบาง

Published by aum-zxx, 2022-11-29 02:39:51

Description: บทความนางสังขารหลวงพระบาง

Keywords: บทความ,นาง,สังขาร,หลวงพระบาง

Search

Read the Text Version

พธิ ีกรรมการประดิษฐ์สร้างนางสังขานหลวงพระบาง บทคดั ย่อ บทความน้ีมีวตั ถุประสงค์ เพ่อื ศึกษาขอ้ มูล นางสังขาน เมืองหลวงพระบาง ในบริบท ความเชื่อ พิธีกรรม และแรงจูงใจ ในการสร้างนางสังขาน โดยใช้แนวคิดทฤษฎีสัญญะวิทยาโรล็องด์ บาร์ตส์ (Roland Barthes) และทฤษฎีปฏิสัมพนั ธ์เชิง สัญลกั ษณ์ George Herbert Mead ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ให้เห็นถึง พิธีกรรม การประดิษฐ์สร้างนางสังขาน ซ่ึงคนรุ่นเก่าที่เป็น อดีตชนช้นั สูง ไดถ้ ือเอาโอกาสเทศกาล ปี ใหม่ หลวงพระบาง สร้างบรรยากาศแห่งอดีต อนั เขม้ ขลงั ผ่านทางสัญญะ แห่งระบบ ศกั ดินา เพ่ือแสดงตวั ตน ในพ้ืนที่ดงั กล่าว และสามารถต่อรองกบั ภาครัฐ ขณะเดียวกนั ชาวหลวงพระบาง และชาวต่างชาติบาง กลุ่ม ก็ถือโอกาสบริโภค ศิลปะศกั ดินา ผา่ นการแต่งกายชุดซาระบบั ควา้ นหมอ้ เครื่องเอ้ ท่ีถูกประดิษฐ์สร้างข้ึนใหม่ ในขบวน แห่บุญปี ใหม่ ที่เป็นฉากสาคญั ในการนาเสนอภาพและเสียงของอดีตกบั ปัจจุบนั และทอ้ งถ่ินหลวงพระบาง ซ่ึงไดถ้ ูกบีบ เขา้ มา รวมกนั ไว้ ในพ้ืนที่และเวลา แห่งพิธีกรรมดงั กลา่ ว คาสาคญั : พิธีกรรม, การประดิษฐส์ ร้าง, นางสงั ขาน, หลวงพระบาง บทนา เมืองหลวงพระบาง ในปัจจุบนั ต้งั อยภู่ าคเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซ่ึงมีสถานภาพเป็นเมือง มรดกโลกทางวฒั นธรรม ของสานกั งานมรดกโลกแห่งยเู นสโก ต้งั แต่ปี พ.ศ.2538 เป็นตน้ มา อตั ลกั ษณ์ ทอ้ งถิ่นหลวงพระบาง เป็ นมรดกทางวฒั นธรรมของโลก ซ่ึงเกิดจากความสัมพนั ธ์ ของผูค้ น กบั พ้ืนที่ อนั เป็ นที่ต้ัง บนที่ราบ โอบลอ้ มดว้ ยภูเขา สลบั ซับซ้อน และมีแม่น้าไหลผ่าน ทาให้มีความเหมาะสม ต่อการต้งั ถ่ินฐานของมนุษย์ และเป็นศูนยก์ ลางการคมนาคมทางน้า ที่มีผคู้ นอาศยั อยตู่ ้งั แต่บรรพการ การดารงอยู่ ของผคู้ นในพ้ืนที่พเิ ศษน้ี ถกู อธิบายผา่ นตานาน นิทานปรัมปรา พงศาวดารลา้ นชา้ ง ท่ีถูกเขียนข้ึนในสมยั พระเจา้ วิชุนราช ไดอ้ ธิบายความเป็ นมาของพ้ืนที่ เพ่ือเช่ือมกบั การเขา้ มา อยู่อาศยั ของกลุ่มชนชาติลาว ซ่ึงก่อนหนา้ น้ีเป็นที่อยขู่ องอมนุษย์ ฝงู ปี ศาจ ยกั ษร์ ้าย นาคา และเป็นดินเป็นหญา้ เป็นฟ้าเป็นแถน ผกี บั คนเทียวไปมาหากนั บข่ าด พงศาวดารทาหนา้ ท่ีประดิษฐ์สร้างคนท่ีมาครอบครองพ้ืนท่ีก่อนท่ีชนชาติลาวจะเขา้ มาสถาปนาเป็นราชธานี ของอาณาจกั รลาว ลา้ นช้าง ซ่ึงไดส้ ะทอ้ นถึงจินตนาการ และปฏิบตั ิการของกลุ่มคนต่างๆ คนเหล่าน้นั ไดใ้ ช้สถานภาพของการเป็นผมู้ ีอานาจท่ี เหนือกว่ากาหนดความหมายใหม่ กลายเป็ นพ้ืนที่ทบั ซ้อน และมีการช่วงชิงความหมายจากผคู้ นกลุ่มต่างๆมาอย่าง ต้งั แต่สมยั จารีต รัฐชาติสมยั ใหม่ รวมท้งั ในช่วงสมยั แห่งการเปล่ียนผา่ น จากราชอาณาจกั รลาว สู่รัฐชาติสังคมนิยม และล่าสุด พ้ืนท่ีหลวง พระบาง ไดถ้ ูกเปล่ียนแปลงความหมายคร้ังสาคญั ในฐานะเมืองมรดกโลก เพื่อประดิษฐ์สร้างการเป็นเมืองมรดกโลกบนพ้นื ท่ี พิธีกรรม ซ่ึงเดิม ไดถ้ กู ประดิษฐส์ ร้างความหมายศกั ด์ิสิทธ์ิ อนั เป็นท่ีสถิต ของนาคตนตา่ งๆ และทวยเทพ เป็นท่ีต้งั ของส่ิงเคารพ บูชา สะทอ้ นถึงจกั รวาลวิทยาของชาวพระบาง ท่ีสืบทอดจากบรรพชน และรวมถึงพิธีกรรม ในบริบทของกระแสโลกาภิวตั น์ ที่มีการช่วงชิงความหมาย แนะตอ่ รองเชิงอตั ลกั ษณ์ ดว้ ยการประดิษฐส์ ร้างงานบญุ ประเพณีพธิ ีกรรมในรูปแบบต่าง ๆ

งานบุญปี ใหม่ หรืองานสงกรานต์ของชาวลาว ขบวนแห่วอในวนั เนา ท่ีนาหน้าดว้ ยป่ ูเยอ ย่าเยอและสิงห์ หลวงพระบางน้นั มีวนั สาคญั หลกั ๆ 4 วนั ดว้ ยกนั วนั แรก คือ \"วันสังขานล่อง\" ซ่ึงถือเป็ นวนั สิ้นปี เก่า ในวนั น้ีผคู้ น แกว้ สิงห์คา วนั ที่ 4 ของสงกรานต์หลวงพระบาง คือ “วัน จะออกมาจับจ่ายซ้ือของเตรียมตัวทาบุญต่อมาคือ \"วัน เนา\" เป็ นวนั ท่ีคัน่ ระหว่างปี เก่าและปี ใหม่ ในวนั น้ีจะมี สรงน้าพระบาง” ซ่ึงเป็นอกี หน่ึงวนั ท่ีชาวหลวงพระบางต้งั การ “แห่วอ” จากวดั ธาตุน้อยไปตามถนนกลางเมืองมายงั วดั เชียงทอง โดยวอท่ีสาคญั ประกอบดว้ ย วอทา้ วกบิล ตาคอย เน่ืองจากวนั น้ีจะมีการแห่อญั เชิญ “พระบาง” พระ พรหม วอพระสงฆ์ วอนางสังขาน การแห่วอน้ีจะเริ่ม ในช่วงบ่าย ขบวนแห่จะนาโดย \"ป่ ูเยอ ย่าเยอ\" อีกท้งั ยงั คู่บา้ นคู่เมืองหลวงพระบางท่ีปกติแลว้ จะเก็บรักษาไวใ้ น มี \"สิงห์แก้วสิงห์คา\" เป็ นสัตวเ์ ล้ียง โดยป่ ูเยอ ย่าเยอ และ สิงห์แกว้ สิงห์คาน้ีจะออกมาปรากฏตวั เฉพาะในงานปี ใหม่ พิพิธภณั ฑ์แห่งชาติหลวงพระบางออกมาประดิษฐานไวท้ ่ี เท่าน้ัน ส่วน “นางสังขาน” น้ัน ปรากฏในตานาน “บุตรี ท้ังเจ็ด” ของท้าวกะบินละพม (กบิลพรหม) ผู้เป็ น วัดใหม่สุวันนะพูมารามซ่ึงอยู่ไม่ไกลกันนัก เพื่อให้ องคป์ ระกอบสาคญั ในการเปล่ียนจากปี เก่าไปสู่ปี ใหม่ ทุกๆ ปี ธิดาของทา้ วกบิลพรหมท้งั 7 ก็จะผลดั เปลี่ยนหมุนเวียน ชาวเมืองไดส้ รงน้ากนั เป็นเวลา 3 วนั มาทาหน้าท่ีอญั เชิญพระเศียรทา้ วกบิลพรหมแห่ไปรอบเขา พระสุเมรุ แลว้ นาไปประดิษฐานตามเดิม จนเป็นท่ีมาของ จากทฤษฎีสัญญะวิทยาของ โรล็องด์ บาร์ตส์ การประกวดนางสังขาร เพือ่ คดั เลือกหญิงสาวลกู หลานของ ( Roland Barthes) ไ ด้ส น ใ จ ศึ ก ษ า สั ญ ญ ะ ป ร ะ เ ภท ชาวเมืองหลวงพระบางมาผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนเข้าทา ความหมายโดยนยั (Connotative Meaning) เนื่องจากมอง หน้าที่เพื่อสืบประเพณีอันดีงามน้ี โดยหญิงสาวเหล่าน้ี วา่ เป็นความหมายที่มีความสาคญั อยา่ งแทจ้ ริงในแงข่ องการ จะตอ้ งเป็นลูกหลานที่เกิดและเตบิ โตในเมืองหลวงพระบาง รับรู้ และความหมายโดยนยั น้ียงั สามารถอธิบายไปไดอ้ ีก อายุระหว่าง 17-22 ปี และต่อมาคือวันท่ีมีความสาคัญ หลายแนวคิด ซ่ึ งความหมายในข้ันน้ี จะเป็ นการ ท่ีสุด \"วันสังขานขนึ้ \" หรือวนั ข้ึนปี ในตอนเชา้ มืดทกุ บา้ น ตี ค ว า ม ห ม า ย ใ น ร ะ ดับ ท่ี มี ปั จ จัย ท า ง วัฒ น ธ ร ร ม เ ข้า ม า จะจุดธูปและเทียน พร้อมท้ังวางดอกไม้ตามทางข้ึนบา้ น เกี่ยวขอ้ งดว้ ยซ่ึง ไม่ไดเ้ กิดจากตวั ของสัญญะเอง เป็ นการ เพ่ือเป็นการเคารพเจา้ ท่ีเจา้ ทางและเพื่อความเป็นสิริมงคล อ ธิ บ า ย ถึ ง ป ฏิ สั ม พัน ธ์ ท่ี เ กิ ด ข้ึ น เ มื่ อ สั ญ ญ ะ ก ร ะ ท บ กับ ของผอู้ ยอู่ าศยั และพากนั เดินไปยงั พูสี ชาวหลวงพระบางก็ ความรู้สึกหรืออารมณ์ของผูใ้ ช้และคุณค่าทางวฒั นธรรม จะหยิบขา้ วเหนียวเป็ นคาเล็กๆ รวมถึงขนมลูกอมวางไว้ ของเขา ซ่ึงสัญญะในข้ันน้ีจะทาหน้าที่ 2 ประการ คือ ตามหวั เสาบนั ไดไปตลอดทาง เรียกวา่ เป็นการ “ตักบาตรพู ถ่ายทอดความหมายโดยนยั แฝง และถ่ายทอดความหมาย สี” จากน้ันในช่วงบ่ายของวนั สังขานข้ึนก็จะมีพิธีแห่นาง ในลกั ษณะมายาคติ (Myths) ซ่ึง Barthes เรียกกระบวนการ สังขานที่จะอญั เชิญศีรษะทา้ วกบิลพรหมจากวดั เชียงทอง ในการเปลี่ยนแปลง ลดทอน ปกปิ ด บิดเบือนฐานะการ ไปยงั วดั ธาตุน้อยเพื่อสรงน้า โดยรูปขบวนก็จะคลา้ ยกบั เป็ นสัญญะของสรรพส่ิงในสังคมให้กลายเป็ นเร่ืองของ ธร ร ม ชาติ เ ป็ น ส่ิ ง ป กติ ธร ร ม ด า ห รื อ เ ป็ น ส่ิ ง ท่ี มี บทบาท \"ความคุน้ ชิน\" การเปล่ียนแปลงในขบวนแห่หัว เมือง ถึงท้ายเมืองท่ีสาคัญ เ กิดข้ึนในช่วงท้ายสมัย ราชอาณาจักร รัฐบาลราชอาณาจักรลาว ได้ประกาศให้ เมืองพระบางเป็นเมืองท่องเท่ียวทางวฒั นธรรม ดงั น้นั เพ่ือ เป็ นการเพิ่มสีสันให้กบั ขบวนแห่บุญปี ใหม่ พระยาบุนคง ประดีจิต เจ้าผู้ครองกาแพงนครหลวงพระบาง ได้ มอบหมาย ให้แต่ละกลุ่มมีการคดั เลือกนางสังขาร และ สร้างหุ้น สัตวพ์ าหนะ ประจาปี นักษตั รให้นางสังขารนั่ง ในขบวนแห่บุญปี ใหม่ พ.ศ.2518 ช่วงแรก คดั เลือกนาง

สังขาน จากหญิงสาว ท่ีมีความพร้อม ดา้ นฐานะและความ แ ต่ ง ก า ย ซ า ร ะ บั บ เ ค รื่ อ ง เ อ้ แ ล ะ ค ว้ า น ห ม้ อ งาม การแต่งกาย จึงมักเป็ นไปตามดุลพินิจ ของผูไ้ ดร้ ับ คดั เลือก ช่วงแรก แต่งกายดว้ ยผา้ ไหมและเบี่ยงผา้ ธรรมดา นางปรารถนา บุปผา กบั ชุดซาระบบั ควา้ นหมอ้ และเครื่องเอ้ หรือชุดนางแกว้ ยกเวน้ การแต่งกายของนางสาวปรารถนา ถา่ ย ณ เมอื งหลวงพระบาง เม่ือวนั ท่ี 11 ต.ค. 2565 บุปผา ผู้ถือกาเนิดในตระกูลขุนนางช้ันสูงสุด โดยมี เจา้ พระยาหลวงศรีสมชยั (ป่ ทู วด) แนะเจา้ พระยาหลวงเมือง ซ่ึงเป็ นตวั แทน ของระบบศกั ดินา และเป็นที่ทราบว่า เป็น จัน(ป่ ู) คร้ันสมัยบิดา คือ เพลียคาพู บุบผา ข้าราชการ สิ่งของท่ีใช้ กบั ผูส้ ูงศกั ด์ิ หรือขุนนางช้นั สูง มาประดิษฐ์ ระดบั สูง ในสมยั ราชอาณาจกั ร ซ่ึงมีชุดซาระบบั และควา้ น สร้าง ตวั ละครเสมือนในอดีต ผ่านเด็กสาวชาวหลวงพระ หมอ้ พร้อมกบั มีศกั ด์ิและมีสิทธิทางสังคม บาง ให้กลายเป็ นนางสังขาน และทายาทตระกูลขุนนาง ใหญ่ในอดีต สามารถใช้มรดกของตระกูลท่ีเก็บซ่อน จน นางปรารถนา บุปผา กบั ชุดซาระบบั ควา้ นหมอ้ และเคร่ืองเอ้ ผา่ นกาลเวลา และสมยั สังคมนิยมท่ีเขม้ งวด กลบั กลายเป็น มรดกทางวัฒนธรรมสาคัญของเมืองมรดกโลก มี ในการแต่งกายดว้ ยชุดดงั กล่าว ขณะที่เด็กสาวทว่ั ไปไม่มี ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างกัน กลับไปกลบั มา จากอดีต อยู่ใน ชุดเหล่าน้ี รวมท้งั ไม่มีสิทธิในการสวมใส่ดว้ ย เพราะเป็น สถานะท่ีถูกควบคุม กดทบั หรือเป็ นคู่ตรงกนั ขา้ ม แต่ใน ของสูง เกินกว่าสตรีสามัญชนจะนามาใช้แต่งกายไม่ว่า ปัจจุบนั ปฏิสัมพนั ธ์ดงั กล่าว กลบั กลายเป็นอานาจต่อรอง กรณีใดๆ ซ่ึงคนหลวงพระบางเชื่อว่า หากสตรีที่ “บุญหัวบ่ เรียกผลประโยชน์ หรือคา่ เช่า จากคณะกรรมการจดั งานบญุ ฮอด” นาซาระบับและควา้ นหมอ้ มาสวมใส่ ก็จะทาให้ ปี ใหม่ได้ ส่วนนางสังขาน เม่ือได้รับคดั เลือก ก็จะเป็ น “บุญหวั สิหมด” หรือเป็นภยั ตอ่ ตนเอง และทาให้ชีวิตตกต่า ตวั แทนของเมือง ในแต่ละปี ก็จะไดช้ ุดแต่งกาย ที่ตนเอง ไม่เจริญกา้ วหนา้ ในการแต่งกายที่วิจิตรบรรจงทรงคุณค่า เห็นเหมาะสม กลายเป็ นสัญลักษณ์ ตัวบทวฒั นธรรม ที่ ของนางสาวปรารถนา ได้รับความช่ืนชม ว่ามีความ ภาครัฐ และคนหลวงพระบางยอมรับ และเป็ นที่สนใจใน เหมาะสมกบั เรื่องราวของนางสังขาน สะทอ้ นตานาน อนั ระดบั ประเทศ แม้ นางสังขานไมใ่ ช่นางงามสากล แตแ่ สดง ขรึมขลงั ซ่ึงนบั ว่าตอบโจทยไ์ ดเ้ ป็นอยา่ ง ภายใตบ้ ริบทการ เป็นธิดา ทา้ วกบิลพรม และเป็นตวั แทน แม่หญิงเมืองเมือง ตอ่ รอง ของราชอดีต ตอ่ ภาครัฐปัจจุบนั โดยเฉพาะการหวน หลวงพระบางที่ทกุ คนจบั จอ้ งเป็นสัญญะทเี่ ป็นต่อแทนและ กลบั ของโครงสร้างศกั ดินา แสดงผ่านสัญญะ คือเคร่ือง กเ็ กิดปฏิสมั พนั ธใ์ หม่จากการประดิษฐส์ ร้างนางสังขาน

เ มื่ อ น า ท ฤ ษ ฎี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ เ ชิ ง สั ญ ลัก ษ ณ์ ข อ ง วดั หลวง ก็ปราสนาการ ไปพร้อมกบั เจา้ มหาชีวิต แตว่ อของ George Herbert Mead ซ่ึงไดใ้ ห้สนใจพฤติกรรมและตวั ตน อดีตวดั หลวงกย็ งั คงอยจู่ นการแห่วอถกู ร้ือฟ้ื นในบริบทรัฐ เชิงสังคมของมนุษยต์ วั ตนดงั กล่าวของมนุษยม์ ีอยสู่ องดา้ น ชาติสงั คมนิยม ซ่ึงพระทน่ี ง่ั วออาจไม่ใช่เจา้ อาวาสสังกดั วดั คือ หน่ึงตวั ตนท่ีเป็ นผูก้ ระทาที่มีการควบคุมตวั เองไม่ใช่ ที่มีวอ ดงั เดิม หากมองในปฏิสัมพนั ธ์เชิงสัญลกั ษณ์ใน ผู้ถูกกระทา และสองตัวตนที่เกิดจากการปฏิสัมพันธ์ ขบวนแห่งานบญุ ปี ใหมห่ ลวงพระบางในปัจจบุ นั วอพระ ระหว่าง ตวั เองกบั คนอื่นและสังคม ที่สอดคลอ้ งกบั แนวคิด เถระ ขบวนจากเดมิ ทค่ี นหลวงพระบางรุ่นเก่าจบั จอ้ งมาก ของ Charles Cooleyซ่ึงพูดถึงการมองเห็นตวั ตนที่สะทอ้ น ที่สุดโดยผอู้ าวโุ สดงั กลา่ ว จะเฝ้ามองขบวนแห่ส่วนอืน่ ๆ ผ่านกระจกเงา (Looking-glass self) ที่เป็ นเสมือนวิถีทาง ดว้ ยอาการสงบและไม่ค่อยมีปฏิสมั พนั ธ์ แต่เมื่อวอพระ หรือแนวทางของบุคคลท่ีจะดารงตวั ตนของตวั เอง จากภาพ เถระ และภิกษสุ ามเณรมาถึง กจ็ ะกระวีกระวาดลุกข้นึ สรง สะท้อนที่คนอื่นประเมิน ซ่ึงแสดงให้เห็นว่า สังคมมี น้าสมณเจา้ อยา่ งกระตือรือร้น แต่ทวา่ ในปัจจบุ นั หวั ใจของ อิทธิพลตอ่ การกาหนดตวั ตนของบคุ คล เพราะ ภาพสะทอ้ น การแห่วอหากพจิ ารณาจากปริมาณความสนใจของผคู้ น จากส่ิงท่ีผอู้ ื่นสร้างตอ่ ตวั เราส่งผลต่อการรับรู้ตวั ตนของเรา สองฟากฝั่งถนน การจดั วางระดบั ความสูงของทนี่ งั่ เอง ดงั น้นั พฤติกรรมหรือการกระทาของมนุษยข์ ้ึนอยกู่ บั ตาแหน่งของขบวน ความวิจิตรบรรจงในการตกแต่ง และ ความหมายทางสังคมท่ีเกิดข้ึนมาภายใต้บริ บทของการ ความอลงั การ นบั วา่ นางสงั ขาน เป็นศนู ยก์ ลาง หรือหวั ใจ ปฏิสัมพนั ธ์ทางสังคมระหว่างมนุษย์ ผูก้ ระทากับสังคม ของขบวนแห่วอ โดยแท้ หาใช่วอพระเถระนุเถระ เหมือน หรือผคู้ นในสังคมจะเห็นไดว้ ่า ขบวนแห่นางสังขาน เพิ่งมี คร้ังอดีต แมแ้ ต่ตาแหน่งของนางวอซ่ึงในอดีต คือบรรดา การประดิษฐ์สร้างใหม่ โดยผนวกเขา้ กบั ประเพณีการแห่ นางสาวแตง่ กายดว้ ยชุดสตรีลาว อมุ้ ขนั ดอกไมเ้ ดิน วอ ซ่ึงแต่เดิมน้นั ในบุญปี ใหม่หลวงพระบางสมยั รัฐจารีต ตามหลงั วอพระเถระ ก็ไดถ้ ูกยา้ ย ตาแหน่งไปเป็นบริวาร และราชอาณาจักรจะเป็ นปฏิสัมพนั ธ์ เชิงสัญลักษณ์ ใน เดินนาหนา้ นางสังขาร นอกจากน้ี ยงั มีการประดิษฐส์ ร้าง ลกั ษณะที่หามแหวอพระราชาคณะประจาวดั หลวง ไปเยยี่ ม ความย่งิ ใหญ่อลงั การ ต้งั แต่การประกวด การปรากฏตวั ทา ยามระหว่างกนั ของพระและประชาชนในเขตหวั เมือง กบั ให้ไม่ว่าขบวนนางสงั ขาน เคลื่อนไป ณ จดุ ใด กเ็ ป็นที่จบั หางเมือง ซ่ึงกล่าวได้ว่าวอพระเถระานุเถระน่าจะเป็ น จอ้ ง และเป็นศนู ยก์ ลาง และหวั ใจ ของขบวนแห่วอใน ศูนยก์ ลางหรือหวั ใจของขบวนแห่วอ แต่ในงานบุญปี ใหม่ กระแสโลกาภิวตั น์ ซ่ึงภายหลงั เปล่ียนแปลงการปกครอง ความเป็น

สรุป แกรนท์ อีแวนส์. ประวตั ิศาสตร์สังเขปประเทศ ลาว ประเทศกลางแผ่นดินเอเชยอาคเนย.์ แปลโดย พิธีกรรมในการประดิษฐ์สร้างนางสังขาน ข้ึนมา ดุษฎีเฮยม์ อนด.์ 2547. หนา้ 13-14. น้นั เป็นสิ่งที่ประดิษฐ์สร้างข้นึ ใหม่ โดยพระยาบุนคง ประ ดีจิต เพือ่ สร้างสีสัน ให้งานบุญปี ใหมห่ ลวงพระบางในพ.ศ. แกรนท์ อีแวนส์ไดอ้ ธิบายวา่ พระเจา้ วชิ ุนราช 2518 สมยั ราชอาณาจกั ร ภายหลงั เปล่ียนแปลงการปกครอง ตอ้ งการประดิษฐ์ความเป็นมาของกษตั ริย์ หลวงพระ จึงถูกร้ือฟ้ื น ในบริบทรัฐชาติสังคมนิยม ซ่ึงพิธีกรรม การ บางวา่ มีความสมั พนั ธ์กบั ขนุ บรม ผเู้ สด็จลงมาจาก ประดิษฐ์สร้างนางสงั ขานเป็นการประดิษฐ์สร้างเชิงสัญญะ เมืองฟ้า ผ่านเคร่ืองแต่งกาย อนั แสดงถึงสัญญะ ของระบบศกั ดินา เก่า คือเครื่องแต่งกายชุดซาระบบั เครื่องเอ้ และควา้ นหมอ้ ชยนั ต์ วรรธนะภูติ. “ ‘คนเมือง’ : ตวั ตน การผลิต ซ่ึงเป็ นตวั แทน ของระบบศกั ดินา และเป็นท่ีทราบว่า เป็น ซ้ าสร้างใหม่และพ้ืนที่ทางสังคมของ คนเมือง,” สิ่งของท่ีใช้ กบั ผูส้ ูงศกั ด์ิ หรือขุนนางช้นั สูง มาประดิษฐ์ ศึกษาศาสตร์สาร. 30(2) : 20-21, 2546. สร้าง ตวั ละครเสมือนในอดีต ผ่านเด็กสาวชาวหลวงพระ บาง ให้กลายเป็ นนางสังขาน ก่อให้เกิดปฏิสัมพนั ธ์ในเชิง นพพร ประชากุล. (2544). มายาคติ สรรนิพนธ์ สญั ลกั ษณ์ การให้ความหมาย วา่ นางสงั ขานเม่ือไดร้ ับ จาก Mythologies ของ โรล็องบาร์ ต . บทความ ประกอบ. กรุงเทพมหานคร: โครงการจดั พมิ พค์ บไฟ. คดั เลือก ก็จะเป็ นตัวแทนของเมือง ในแต่ละปี กลายเป็ น สัญลกั ษณ์ ตวั บทวฒั นธรรม ท่ีภาครัฐ และคนหลวงพระ สื่อออนไลน์ บางยอมรับ และเป็ นที่สนใจในระดับประเทศ แม้ นาง “สงกรานตห์ ลวงพระบาง” ชมนางสงั ขาร สรงน้า สังขานไมใ่ ช่นางงามสากล แตแ่ สดงเป็นธิดา ทา้ วกบิลพรม พร ะ บ าง ตักบ าต ร พูสี ...สะ บ ายดี ปี ใ ห ม่ ล า ว และบทบาทที่ยกให้เป็ นตวั แทน แม่หญิงเมืองเมืองหลวง (mgronline.com)สืบคน้ 15 กนั ยายน 2565 พระบางที่ทุกคนจบั จอ้ ง รวมถึงพิธีกรรมอนั เป็นหัวใจของ แ น ว คิ ด สั ญ วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ห ม า ย การแห่วอแลว้ จากปริมาณความสนใจ ของประชาชนสอง ( Semiology and Signification) | E-JohnNopadon ฟากฝั่งถนน การจดั วางระดบั ความสูงของท่ีนงั่ ตาแหน่ง สืบคน้ 15 กนั ยายน 2565 ของขบวน ความวิจิตรบรรจงในการตกแต่ง และความ สัมภาษณ์ อลงั การ นับว่านางสังขาน เป็ นศูนยก์ ลาง หรือหัวใจของ พระทองพนั ปัญญาวงั โส เจ้าอาวาสวดั อาฮาม ขบวนแห่วอ ที่สร้างให้นางสังขานเป็นที่ยอมรับ เป็ นผูใ้ ห้สัมภาษณ์, นายจักรินทร์ แสงโสภา เป็ นผู้ สัมภาษณ์,ท่ีเมืองหลวงพระบาง เม่ือวนั ที่ 10 ตุลาคม อ้างองิ 2565 Mr.Chanthaphone Xaivongsan from UNESCO. Tourism and Heritage site Souphanouvong University เป็ นผูใ้ ห้สัมภาษณ์, นาย Management LUANG PRABANG Lao PDR. 2004. p. จกั รินทร์ แสงโสภา เป็นผสู้ ัมภาษณ์,ท่ีเมืองหลวงพระ 6. บาง เมื่อวนั ที่ 10 ตุลาคม 2565 นางวนั นิสา แสงพระจนั นางสังขาน ปี 2559เป็น ผู้ให้สัมภาษณ์, นายจักริ นทร์ แสงโสภา เป็ นผู้ สัมภาษณ์,ท่ีเมืองหลวงพระบาง เม่ือวนั ท่ี 10 ตุลาคม 2565 นางปรารถนา บุปผา เป็ นผูใ้ ห้สัมภาษณ์, นาย จกั รินทร์ แสงโสภา เป็นผสู้ ัมภาษณ์,ท่ีเมืองหลวงพระ บาง เม่ือวนั ที่ 10และ11 ตลุ าคม 2565 นางสุทธิดา สีหานุ นางสังขาน ปี 2561เป็นผใู้ ห้ สัมภาษณ์, นายจกั รินทร์ แสงโสภา เป็นผสู้ ัมภาษณ์,ท่ี เมืองหลวงพระบาง เมื่อวนั ที่ 11 ตลุ าคม 2565

พธิ ีกรรมการประดษิ ฐ์สร้างนางสังขานหลวงพระบาง จกั รินทร์ แสงโสภา รหสั นักศึกษา 65720001-1 ดษุ ฎีนิพนธ์ ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิจยั วฒั นธรรม ศิลปกรรม และ การออกแบบ(บริหารจดั การวฒั นธรรม) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น พ.ศ. 2565


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook