Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความช่างหัตถศิลป์กับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ กรณีศึกษา บริษัทออกพบตก หลวงพระบาง

บทความช่างหัตถศิลป์กับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ กรณีศึกษา บริษัทออกพบตก หลวงพระบาง

Published by aum-zxx, 2022-11-30 05:07:32

Description: บทความช่างหัตถศิลป์กับการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ กรณีศึกษา บริษัทออกพบตก หลวงพระบาง

Keywords: บทความ,หัตถศิลป์,กับ,การ,ธำรง,อัตลักษณ์,ชาติพันธุ์,กรณี,ศึกษา,บริษัท,ออกพบตก,หลวงพระบาง,ออก,พบ,ตก

Search

Read the Text Version

ชา่ งหัตถศิลป์กับการธารงอัตลกั ษณ์ชาตพิ นั ธ์ุ กรณีศึกษา บรษิ ัท ออก พบ ตก หลวงพระบาง นางสาวชุตมิ า ภลู วรรณ บทนา “หลวงพระบาง” เมืองมรดกโลกที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติท่ัวโลก ที่ถูก เปลี่ยนแปลงจาก “อดีตราชธานี” เป็นการท่องเท่ียวอดีตท่ีมลี ักษณะ “เสมือนอดตี ” ระบบเศรษฐกิจของหลวง พระบางถูกเปลี่ยนจากกสิกรรมรวมหมู่ตามแนวทางแห่งมาร์กซ์ เลนิน มาเป็นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวใน รูปแบบของการให้บริการ การผลิต จาหน่ายสินค้าหัตถกรรมและสินค้าพื้นเมือง ภายใต้บริบทของการ เปล่ียนแปลงวัฒนธรรมให้กลายเป็นสินค้า การสนับสนุนจากภาครัฐระดับท้องถิ่นหลวงพระบาง ทาให้เกิด “ตลาดมืด” ต้ังอยู่บนพ้ืนท่ีศรีสว่างวงศ์ หน้าพระราชวังเก่า เป็นพ้ืนที่และเวลาของการขายของท่ีระลึกและ สนิ ค้าหัตถกรรมให้กบั นักท่องเท่ียว ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่สะท้อน “อดตี ”และ “อัตลักษณ์ชาติพันธุ์” ได้แก่ ไทล้ือ ม้ง ไทดา ไทแดง เป็นต้น ภาพที่ 1 บรรยากาศการขายผา้ ในตลาดมดื การขับเคล่ือนเศรษฐกิจของหลวงพระบาง นอกจากหน่วยงานรัฐแล้ว จากการลงพื้นท่ีภาคสนาม ผู้เขียนพบหมู่บ้านหัตถกรรมในนามว่า “ออก พบ ตก” เป็นบริษัทท่ีมีแนวคิดในการทาธุรกิจเพื่อสังคม โดยมี วิสัยทัศน์ “ก่อต้ังโดยผู้หญิง บริหารงานโดยผู้หญิง เพื่อสตรีชาวลาว” สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆผสมผสานประเพณี ตะวันออกและตะวันตก ให้ความสาคัญกับทรัพยากรมนุษย์ว่าเป็นสิ่งที่มีค่ามากท่ีสุด และพยายามรักษาส่ิงทอ ของลาวใหค้ งอยู่และเจริญรงุ่ เรอื งสบื ไป

2 ภาพที่ 2 The Living Craft Center ตั้งอยู่บริเวณริมนา้ โขง ของบริษัท ออก พบ ตก เปน็ ศนู ย์ หัตถกรรมท่ีมกี ารสาธิตและ workshop การยอ้ มผ้าสธี รรมชาติ การทอผา้ ให้แกน่ ักท่องเทย่ี วใน หลวงพระบาง เมื่อ 20 ปีที่แล้ว ออก พบ ตก เร่ิมโครงการ The Village Weavers Project เพ่ือสร้างโอกาสทาง เศรษฐกิจสาหรับช่างฝีมือในพ้ืนท่ีชนบทท่ัวประเทศ ช่วยพัฒนางานหัตถกรรมท่ีผสมผสานงานฝีมือและ ประเพณีเข้ากับความคดิ สร้างสรรค์ทางศลิ ปะและความรู้ทางการตลาด ทมี ช่างทอ ชา่ งย้อม นกั ออกแบบ และ ช่างตัดเสื้อของเราได้ถ่ายทอดทักษะของพวกเขาเพ่ือช่วยให้ช่างฝีมือมีชีวิตที่ดีขึ้นจากงานหัตถกรรม ปัจจุบัน โครงการนี้ดาเนินการอยู่ในพื้นท่ี 15 เมืองกับ 17 กลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกัน การผสมผสานความหลงใหลใน วัฒนธรรมที่หยั่งรากลึกเหล่าน้ีและประเพณีที่ทาจากหัตถกรรมเข้ากับความเข้าใจในธุรกิจ สามารถสร้าง วิสาหกิจในหมู่บ้านให้เติบโตได้ ช่างหัตถศิลป์ได้รับโอกาสในการขายผลิตภัณฑ์ที่ Made in Lao แท้ๆ ซ่ึง จาหน่ายในงานแสดงสินค้าทั้งในและต่างประเทศ ภาพท่ี 3 แผนทีท่ ีอ่ อกพบตกเขา้ ไปสนบั สนนุ ชา่ งทอผ้า 17 กลุม่ ชาติพันธ์ุ จาก 15 เมอื งในประเทศลาว ทีม่ า https://www.ockpoptok.com/impact/village-weavers-project/

3 ภาพท่ี 3 อัตลักษณ์ช่างหัตถศิลปข์ องชาติพันธ์ุไทลื้อ อาเภอนา้ บาก บา้ นนายาง เมอื งหลวงพระบาง คือการเปน็ เจ้าแหง่ การยอ้ มสีธรรมชาติ โดยเฉพาะสีครามและสคี รั่ง ท่ีมา : https://www.ockpoptok.com/impact/village-weavers-project/tai-lue/ ภาพที่ 4 อัตลักษณ์ลายผ้าของชาติพันธ์ุไทล้ือ “ลายน้าไหล” จากโลกตะวันออกพบกับการออกแบบ จากโลกตะวันตก กลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมที่ แสดงถงึ ความเป็นตัวตนของคนไทลอื้ ไดเ้ ปน็ อย่างดี ทีม่ า : https://www.ockpoptok.com/impact/village- weavers-project/tai-lue/

4 ภาพท่ี 5 กลุ่มชาตพิ ันธ์ุไทแดง เป็นกลุ่มท่ีมีชื่อเสียงเรื่องผา้ ทอมือเปน็ อยา่ งมาก เกง่ ท้ังผ้าไหมและผ้าฝา้ ย ย้อมสีธรรมชาตเิ ป็นสว่ นใหญ่ ซนิ่ มลี ายมุก เรียกลายตามเทคนิค เชน่ มุกเกาะ มุกจก มุกตาบั้ง มุกผสมจก เกาะขิด ซน่ิ ทวิ ซนิ่ ดาตีนขวางด้วยจกแซ่วเปน็ ลวดลายตา่ งๆ ผ้าแพรเบีย่ งจกขิดเชงิ สวยงามด้วยรูปนาค มอม สิงห์ คนปราสาท ผ้าแพรขนั เชงิ ใช้ในพธิ ีกรรม ผ้าก้ังใช้เปน็ ประตหู น้าตา่ ง ผา้ เจย่ี ลกู ผ้าตุ้มลกู ใชใ้ นการอุ้มลกู ผ้าปกหัว ผ้ามัดเอว ผา้ ไจมงุ้ ผา้ หม่ ผ้าปู ถุงย่าม ทมี่ า https://www.ockpoptok.com/impact/village-weavers-project/tai-daeng/ ภาพที่ 6 ชาตพิ นั ธ์ุภไู ทเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคมัดหมี่ การใช้สยี ้อมธรรมชาตแิ ละเทคนิคการทอผ้าทาให้ได้ลวดลายตดั กนั ทส่ี วยงาม ที่มา : https://www.ockpoptok.com/impact/village-weavers-project/phou-tai/

5 ภาพท่ี 7 (ซา้ ย) รา้ น ออก พบ ตก ในยา่ นเมืองมรดกโลกหลวงพระบาง ภาพท่ี 8 (ขวา) สนิ คา้ จากชา่ งหัตถศิลปใ์ นโครงการ The Village Weavers Project ภาพท่ี 9 (ซา้ ย) ตวั อย่างป้ายราคาท่แี สดงให้เห็นถงึ รายละเอียดชาติพนั ธุ์และทักษะของชา่ งหตั ถศลิ ป์ ภาพท่ี 10 (ขวา) สินคา้ ที่ได้รับการออกแบบใหม้ ีความรว่ มสมยั

6 สรปุ เมืองหลวงพระบาง ในบริบทสมัยใหม่ท่ีพบกับการเปล่ียนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจสูง กลุ่มชาติพันธ์ุต้องปรับตัวให้เข้ากับกระแสการพัฒนาท้ังของภาครัฐและเอกชน รวมถึงยังต้องธารงความเป็น อตั ลักษณ์ของตนไว้ โดยเฉพาะภูมิปัญญาหรือเทคนิคเชิงช่าง ในกรณีศึกษาของบริษัทออก พบ ตก ท่ีพยายาม ส่งเสริมช่างทอในแต่ละชาติพันธ์ุให้รักษาภูมิปัญญาของตนและช่วยให้ปรับตัวเข้าสู่ความสมัยใหม่ผ่านการ ทางานผ้าทอในการทาธุรกิจเพื่อสังคม สอดคล้องกับแนวคิดอัตลักษณ์ชาติพันธ์ุ เจนกินส์ (Richard Jenkins) อธิบายความหมายของ อัตลักษณ์ว่ามิใช่เป็นส่ิงท่ีมีอยู่แล้วในตัวของมันเอง หรือกาเนิดข้ึนมาพร้อมกับคนหรือ สิ่งของ แต่เป็นส่ิงที่ถูกสร้างขึ้นและมีลักษณะของความเป็นพลวัตอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงสอดคล้องกับการให้ ความหมายของเบอร์เจอรแ์ ละลคั แมน (Peter Berger and Thomas Luckmann) ท่ีว่า อัตลักษณถ์ ูกสร้างข้ึน โดย กระบวนการทางสังคม เมื่อตกผลึกแล้วอาจจะมีความคงที่ ปรับเปลี่ยน หรือแม้กระทั่งเปล่ียนแปลง รูปแบบไป ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นหลัก กล่าวโดยอีกนัยหน่ึง อัตลักษณ์เป็นเรื่องของความ เข้าใจและการรับรู้ว่า เราเป็นใครและคนอื่นเป็นใคร น่ันคือเป็นการกอรูปขึ้นและดารงอยู่ว่าเรารับรู้เกี่ยวกับ ตัวเองอย่างไร และคนอ่ืนรับรู้เราอยา่ งไร โดยมีกระบวนการทางสังคมในการสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ ทั้งน้ี ย่อมข้นึ อยกู่ บั บริบทของความสมั พันธ์ทางสงั คมทีม่ ีต่อคนหรือกลุ่มอืน่ ๆ ดว้ ย บรรณานกุ รม วาทกรรมอัตลักษณ.์ (2547). ศนู ยม์ านุษยวทิ ยาสริ ินธร (องคก์ ารมหาชน). กรุงเทพฯ สมุ ติ ร ปติ ิพฒั น์ และคณะ. (2546). คนไทแดงในแขวงหวั พนั สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว. โอ เอส พรน้ิ ติ้ง เฮาส.์ กรุงเทพฯ Ock Pop Tok (2565). บรษิ ัท ออก พบ ตก. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://www.ockpoptok.com/ [สบื คน้ เมือ่ วนั ท่ี 29 ตุลาคม 2565]