Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความพระธาตุทรงบัวเหลี่ยมที่พบในวัดหน้าพระธาตุ

บทความพระธาตุทรงบัวเหลี่ยมที่พบในวัดหน้าพระธาตุ

Published by aum-zxx, 2022-12-08 02:13:47

Description: บทความพระธาตุทรงบัวเหลี่ยมที่พบในวัดหน้าพระธาตุ

Keywords: บทความ,พระธาตุ,ทรง,บัว,เหลี่ยม,พบ,ใน,วัด,หน้า,พระ,ธาตุ

Search

Read the Text Version

พระธาตุทรงบัวเหล่ยี มท่ีพบในวัดหนา้ พระธาตุ วิระชัย อศั วาวุฒิ 655002214-8 วัดหน้าพระธาตุ ต้ังอยู่ที่บ้านตะคุ หมู่ท่ี 1 ตาบลตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา สังกัด มหานิกาย ได้รับพระราชทานวสิ งุ คามสมี า เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2515 เป็นวัดเก่าแก่ สันนิษฐานว่าสรา้ ง ข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 3 ภายในวัดประกอบด้วยส่ิงก่อสร้างตา่ งๆ ได้แก่ พระธาตุ อุโบสถ และหอไตรกลางน้า ซึ่ง มีรปู แบบศิลปกรรมแบบท้องถน่ิ ท่ีสวยงาม เดมิ มีช่ือวา่ \"วดั ตะคุ\" ตอ่ มาคณะสงฆ์ให้ใชช้ อ่ื ว่า \"วัดหน้าพระธาต\"ุ ประวัติศาสตร์ท้องถน่ิ บ้านตะคุ จากหลกั ฐานที่ปรากฏตามแผนที่ยุทธศาสตร์สมัยกรุงศรีอยธุ ยาไดป้ รากฏช่ือเมืองปักว่าตั้งอยู่ใกล้เมือง นครราชสีมา มีความสาคัญในฐานะเป็นเมืองหน้าด่านทางทิศใต้ของเมืองนครราชสีมา เพื่อเป็นกองระวังหน้า คอยสอดแนมข้าศึกและคอยปะทะขัดขวางไม่ให้ข้าศึกยกทัพประชิดเมืองนครราชสีมา เมืองปักในสมัยนี้จึงถูก ตงั้ และเรยี กวา่ “ดา่ นจะโปะ” ในสมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2321 รัชสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดฯให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ยกกองทัพไปปราบเมืองเวียงจันทน์และได้รับชัยชนะ ได้กวาดต้อนเชลยชายหญิงพร้อมกับเพ้ียอุปราช และให้ ไปพักอาศัยอยู่ที่ด่านจะโปะ ครั้นชาวเมืองเวียงจันทน์ต้ังบ้านเรือนเป็นหลักฐานม่ันคงแล้ว เจ้าพระยา นครราชสีมา (ปิ่น) จึงกราบบังคมทูลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตตั้งด่านจะ โปะเป็นเมือง เรียกว่า “เมืองปัก” (ยังไม่มีคาว่าธงชัย) และได้กราบบังคมทูลขอให้เพี้ยอุปราชเป็นเจ้าเมืองปัก คนแรก พระราชทานนามว่า “พระยาวงศาอรรคราช” ซงึ่ กล่าวกันว่าเป็นต้นตระกูลวรธงไชย เมืองปักในสมัยน้ี เป็นเมืองช้ันตรขี ้นึ ตรงตอ่ เมอื งนครราชสมี า เมื่อ พ.ศ. 2323 ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีการส่งขุนนางเข้ามาปกครองเมืองปักในฐานะเมืองหน้าด่านของกรุง รัตนโกสินทร์ ต่อมา พ.ศ. 2369 เจ้าอนุวงศ์แห่งเมืองเวียงจันทน์ยกทัพมายึดเมืองนครราชสีมาและได้กวาด ตอ้ นชาวเมืองไปแตถ่ ูกคณุ หญงิ โมและชาวเมืองนครราชสีมาต่อสู้กบั ทหารเวียงจันทนจ์ นไดร้ ับชยั ชนะและได้รับ พระราชทานนามว่า “ท้าวสุรนารี” การกวาดต้อนเชลยคราวน้ัน ทหารเจ้าอนุวงศ์แห่งเมืองเวียงจันทน์ได้มา กวาดต้อนชาวเมืองปัก ชาวไทยโคราช และชาวเวียงจันทน์ที่ได้อพยพมาพึ่งพระบรมโพธสิ มภารตัง้ แต่สมัยกรงุ ธนบุรี ต่างก็มีที่ทามาหากินสุขสบายมาเป็นเวลา 47 ปี จึงพร้อมใจกันจับอาวุธต่อสู้ขับไล่ทหารของเจ้าอนุวงศ์ พ่ายแพ้กลับไป เจ้าพระยานครราชสีมา (ป่ิน) ได้ขอให้ครอบครัวท่ีถูกต้อนมาไปต้ังถิ่นฐานอยู่ท่ีด่านจะโปะ ปัจจุบันเป็นอาเภอปักธงชัย และบางครอบครัวยึดทาเลท่ีลาสาลาย บ้านเดื่อ บ้านตูม บ้านห้วยตะคุ ปัจจุบัน เปน็ บา้ นตะคุ รปู แบบศิลปกรรมพระธาตุทรงบวั เหลีย่ ม จากประวตั ิศาสตร์ท้องถิ่นบ้านตะคทุ ่ีกล่าวถึงการอพยพมาต้งั ถ่นิ ฐานของชาวเวยี งจันทรแ์ ละอยู่ภายใต้ การปกครองของสยามนับต้ังแต่สมยั กรุงธนบุรีมาถึงสมัยกรุงรตั นโกสินทร์ จึงปรากฏพบรูปแบบงานศิลปกรรม ท่ีผสมผสานกันระหว่างศิลปะล้านช้างและศิลปะรัตนโกสินทร์ ดังจะเห็นได้จากพระอุโบสถ (สิม) หอไตรกลาง น้า และพระธาตุ

พระธาตุวัดหน้าพระธาตุนับว่าเป็นศิลปกรรมท่ีมีการผสมผสานงานศิลปกรรมระหว่างศิลปะล้านช้าง และศิลปะรัตนโกสินทรท์ ี่เด่นชดั ท่ีสดุ ดังมีรายละเอยี ดต่อไปน้ี ฐาน ประกอบดว้ ยฐานเขียง 2 ช้ันรองรบั สว่ นฐานบัว 1 ฐานซง่ึ เป็นฐานบวั ลูกแก้วอกไก่ ประกอบด้วย ฐานบัวคว่า – บัวหงายท่ีท้องไม้ประดับลูกแก้วอกไก่ 1 เส้น ฐานบัวมีลักษณะพิเศษ กล่าวคือส่วนของบัวหงาย และบัวคว่าจะยดื สูงกวา่ ปกติ มีลกู แก้วอกไกม่ ารองรับฐานบวั อกี 1 เส้น ส่วนนเ้ี องมีลักษณะสัมพันธ์กบั ฐานสิงห์ ส่วนปลายของเสน้ ลวดแตล่ ะเส้นจะสะบัดขน้ึ เรียกวา่ “บัวงอน” เรือนธาตุ เหนือฐานบวั ข้นึ ไปเปน็ สว่ นขององค์ระฆัง มลี ักษณะเปน็ องค์ระฆังสเ่ี หลย่ี มสอบเขา้ ท้งั ส่ีด้าน ทรงบัวเหลี่ยมแบบล้านช้างแท้ มุมนท้ังสี่ 4 ประดับด้วยบัวงอน แต่มีการเซาะล่องเพ่ิมมุม มีฐานเขียงรองรับ องค์ระฆังอยู่ในฝังส่เี หล่ยี ม องคร์ ะฆังมที รงสงู ฐานกว้าง ปลายคอดลกั ษณะคลา้ ยขวด ยอด ประกอบดว้ ยบลั ลังก์ทรงบวั เหล่ยี ม เหนอื บลั ลงั กเ์ ปน็ ปลียอดทรงบัวเหลีย่ ม เหนอื ปลยี อดเป็นบัว คลมุ่ แบบรตั นโกสนิ ทร์ ปลแี บ่งเปน็ 2 ช่วง ช่วงลา่ งเรยี กว่าปลี สว่ นบนสุดจงึ เรยี กว่าปลยี อด เป็นรปู แบบศลิ ปะ เฉพาะของเจดยี ท์ รงเครือ่ งในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ พระธาตทุ รงบัวเหลย่ี มวดั หน้าพระธาตุ จังหวดั นครราชสีมา ที่มา : วริ ะชยั อัศวาวฒุ ิ (พ.ศ.2565)

สรปุ ประวัติศาสตร์ท้องถ่ินและรูปแบบการสรา้ งพระธาตุทรงบัวเหลยี่ มวดั หนา้ พระธาตุ ตาบลตะคุ อาเภอ ปกั ธงชยั จังหวดั นครราชสมี า มปี ระวัตคิ วามเป็นมาตงั้ แต่กรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวิเคราะห์จากรปู แบบศลิ ปกรรม ทาใหเ้ หน็ ว่า มกี ารผสมผสานกันระหว่างศลิ ปะล้านช้างและศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ โดยฝีมอื ชา่ งทอ้ งถน่ิ นับวา่ เป็น พระธาตทุ มี่ คี วามสาคัญท่ีแสดงออกถงึ ความเช่ือและความศรัทธาท่ีมีต่อพระพุทธศาสนา อ้างอิง ศักด์ิชัย สายสิงห.์ (2560). เจดีย์ในประเทศไทย รูปแบบ พัฒนาการและพลังศรัทธา. นนทบรุ ี : เมอื งโบราณ รุง่ โรจน์ ธรรมรุ่งเรอื ง. (2565). รูเ้ ร่อื งสถูปเจดีย.์ นนทบรุ ี : มวิ เซียมเพลส ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี สุ ร น า รี . วั ด ห น้ า พ ร ะ ธ า ตุ ( วั ด ต ะ คุ ) . เ ข้ า ถึ ง จ า ก http://nm.sut.ac.th/koratdata/?m=detail&data_id=1463 เข้าถงึ เมอ่ื 20 ตุลาคม 2565 วิกพิ เิ ดยี สารานกุ รมเสรี. อาเภอปกั ธงชยั . เขา้ ถงึ จาก www. https://th.wikipedia.org/wiki/อาเภอ อาเภอปัก เข้าถึงเม่อื 20 ตลุ าคม 2565


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook