บทความ ความงาม : ประเพณไี หลเรือไฟบุญออกพรรษาหลวงพระบาง ๒๕๖๕ บญุ ทนั โพธ์ิสิงหE รหสั นกั ศึกษา ๖๕๗๒๒๐๐๐๗-๙ สาขาวชิ า วจิ ัยวฒั นธรรม ศลิ ปกรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตรE มหาวทิ ยาลยั ขอนแกSน
ความงาม : ประเพณไี หลเรือไฟบุญออกพรรษาหลวงพระบาง ๒๕๖๕ หลวงพระบาง เป-นเมืองหลักของแขวงหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ด@วย ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ทางภูมิศาสตรIที่ตั้งอยูJบนพื้นที่ราบขนาดเล็กที่รองรับการตั้งถิ่นฐาน ของมนุษยI ในอดีตหลวงพระบางเป-นพื้นที่ทางสังคมของกลุJมคนหลากหลายชนชั้นตั้งแตJกษัตริยIจนถึง สามัญชนไมJวJาจะ เป-นคนกลุJมไทลาว กะสัก ขะมุ ตั้งแตJสมัยพระเจ@าฟTางุ@มเป-นต@นมา หลวงพระบางได@ ถูกกาหนดอัตลักษณIทาง วัฒนธรรมด@วยบริบทของพระพุทธศาสนาผสานกับความเชื่อ ผีบรรพบุรุษ และนาคาคติ ในสมัยอาณานิคม หลวงพระบางเป-นศูนยIกลางการปกครองลาวภาคเหนือ หลวงพระ บางได@ดารงอัตลักษณIแหJงความเป-นราช ธานีจนกระทั่งเปลี่ยนแปลงการปกครองสูJระบอบสังคมนิยมใน ปW พ.ศ.๒๕๑๘ ในบริบทสังคมนิยม “อดีตของ หลวงพระบาง” ที่สัมพันธIกับกษัตริยIได@ถูกป_ดทับไมJให@ ปรากฏในพื้นที่ทางสังคม จนกระทั่งลาวได@เป_ดประเทศ ด@วยนโยบายจินตนาการใหมJ หลวงพระบางถูก กาหนดให@เป-นเมืองทJองเที่ยวทางวัฒนธรรมที่สัมพันธIกับการ เป-นราชธานีในอดีต ถูกสร@างให@เป-น “ราช ธานีแหJงความทรงจำ” และกลายเป-นเมืองมรดกโลกในปW พ.ศ. ๒๕๓๘ เปน- ตน@ มา (ศุภชัย สงิ หIยะบศุ ยI ,๒๕๔๙) จากการลงพื้นที่ภาคสนามที่หลวงพระบางในระหวJางวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ พบเทศกาลไหลเรือไฟ ทั้งเมืองหลวงพระบาง เรือไฟประดับประดาสงJางาม อยJูเต็มท@องถนนและบริเวณวัดเชียงทอง ตลอดจนถึง วัด ปjาลวก กลุJมชาวบ@านหลวงพระบางตั้งแตJเด็กเล็ก หนุJม-สาว ผู@สูงอายุ จนถึงพระสงฆI สามเณร ชJวยกันเข@ามามี สJวนรJวมในเทศกาลนี้ เกิดความประทับใจเห็นความ ดีงามจากการที่ผู@คนชJวยกันให@เทศกาลนี้เกิดขึ้น และ ความงามของเรือไฟ รูปทรงนาค และ หลวงหรือหลง เมื่อยิ่งจุดไฟขึ้น เกิดความงามอยJางหน@าประทับใจ ใน เทศกาลไหลจึงเห็นข@อสังเกตุเรือไฟวJาเหตุใด จึงใช@รูปทรงของนาค และ แสงสวJางจากไฟ เข@ามามีสJวนรJวมกัน จึงเกิดความงาม จากนั้นจึงเดินสำรวจตามทJาน้ำที่ลงเรือไฟ ได@หาข@อมูลเกี่ยวกับการไหลเรือไฟของชาวหลวง พระบางวJามีความหมายทางวัฒนธรรม ของประเพณีของลาวในแตJละจะมีการทาบุญประเพณีของ พทุ ธศาสนกิ ชนท่ีแตกตJางกนั ไป ซ่งึ แสดงใหเ@ ห็นถงึ ความรูบ@ ญุ คณุ ตอJ สงิ่ ศกั ด์สิ ทิ ธทิ์ ่ีชวJ ยให@ตนเองมีชีวิต ภาพประกอบที่ ๑ : ประเพณีเรอื ไฟในหลวงพระบาง ๒๕๖๕
จากการศึกษา และทบทวนวรรณกรรมความหมายของประเพณีประเภทของประเพณี ๑.จารีต ประเพณี (Mores) คือ ประเพณีที่ต@องประพฤติเป-นเรื่องเกี่ยวกับ ศีลธรรมและจรรยาของสังคม ถือกันวJามี คุณคJาตJอบุคคลในสังคมนั้นๆ ๒. ขนบประเพณี (Institution) คือ ประเพณีที่วางเป-นระเบียบไว@ จะเป-น โดยตรงหรือโดยอ@อมก็ตาม โดยตรง เชJน เขียนเป-นกฎหรือระเบียบให@กระทำ รJวมกันมีข@ออ@างอิงเป-นตัวบท กฎเกณฑI โดยอ@อมหรือโดยปริยาย คือ รู@กันเอง ถือสืบๆกันมา ๓. ธรรมเนียมประเพณี (Convention) คือ เรื่องเกี่ยวกับธรรมดาสามัญ ของสามัญชน ไมJถือเอาผิดเอาถูก ไมJมีการลงโทษ ปรับไหมเหมือนจารีต ประเพณี ลักษณะของประเพณี ประเพณีไหลเรือไฟในบุญออกพรรษาของหลวงพระบาง เป-นประเพณีสJวนรวมที่วางไว@ เปน- ระเบียบ ให@กระทำรวJ มกัน ซ่ึงรู@กนั โดยทวั่ กัน ถอื ปฏิบัตสิ บื ทอดตJอๆกนั มา ภาพประกอบท่ี ๒ : ประเพณีเรอื ไฟในหลวงพระบาง ๒๕๖๕ ประเพณีไหลเรือไฟหลวงพระบาง ประเทศลาว ประเพณีไหลเรือไฟของเมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว จะจัด หลังจากวัน ออกพรรษา ๑ วัน ตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ของทุกปW ซึ่งจะมีการลอยกระทงไป พร@อมด@วย ชาวหลวงพระบางไมJได@ลอยกระทงในวันเพ็ญเดือนสิบสองเหมือนเชJนดัง ประเทศไทย ประเพณีไหลเรือไฟ คล@ายๆ กับทางภาคอีสานของเมืองไทย ซึ่งมีเรือไฟ ๒ รูปแบบ คือ เรือไฟบก และเรือไฟน้ำ (พระยาอนุวัตร เขมจารีเถระ ,๒๕๓๖) ความเชื่อของการไหลเรือไฟ ชาวหลวงพระบางมีความใกล@ชิดผูกพันกับแมJนํ้าโขงมาช@านาน ดังนั้น ประเพณีลอยกระทงไหลเรือไฟของชาวหลวงพระบางจึงเป-น ประเพณีที่สำคัญ โดยมีความเชื่อวJา เป-นการบูชา แมJน้ำด@วยการลอย ประทีปและไหลเรือไฟ เป-นการบูชาคุณแหJงแมJน้ำโขงที่เลี้ยงดูมา และ เพื่อบูชา พระพุทธเจา@ ซึ่งเสด็จกลบั มาจากการเทศนาโปรดพุทธมารดา บนสวรรคIชนั้ ดาวดงึ สI รูปแบบและลักษณะเฉพาะของเรือไฟ ในวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ซึ่งตรงกับวันที่ ๑๑ ตรงกับวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ จะเห็นเรือไฟ มากมายหลายขบวน ปWนี้มีเรือไฟทั้งหมด ๕๐ ขบวน โดยมีรูปแบบและลักษณะท่ี คลา@ ยๆกัน นยิ มทำในรปู แบบของสตั วI ๓ ชนิด ไดแ@ กJ ๑.หงสI ๒.นกหสั ดีลิง ๓.พญานาค
ภาพประกอบท่ี ๓ : ประเพณีเรอื ไฟในหลวงพระบาง ๒๕๖๕ ประเพณีไหลเรือไฟเมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว จะจัดประเพณีลอยกระทงไหลเรือไฟหลังจากวัน ออกพรรษา ๑ วัน ไมJได@ลอย กระทงในวันเพ็ญเดือนสิบสองเหมือนเชJนดังประเทศไทย ดังนั้น นักทJองเที่ยวที่ ต@องการจะสัมผัสประเพณีลอยกระทงในหลวงพระบาง จะต@อง ตรวจสอบวันออกพรรษาวJาตรงกับวันใดของ หลวงพระบาง เพราะหลังจากนั้นหนึ่งวัน หลวงพระบางจะจัดงานลอยกระทงไหลเรือไฟ ประเพณีลอยกระทง ไหลเรือไฟของหลวงพระบางคล@ายๆกับประเพณีไหลเรือไฟกับทางภาคอีสานของเมืองไทย โดยในวันนั้นแตJละ หมูJบ@านใน เขตเมืองหลวงพระบาง จะตกแตJงเรือไฟของหมูJบ@านตนเองอยJางวิจิตรบรรจง หลังจากนั้นพอเวลา ค่ำ จะมีขบวนแหJไหลเรือไฟในถนนสีสะหวJางวงศI ซึ่งเป-นถนนสายสำคัญในเมืองหลวงพระบาง แล@วทุกหมูJบ@าน จะนำเรอื ไฟไปรวมกันที่วดั เชยี งทองหลวงพระบาง เรือไฟบก จะทำเพื่อตกแตJงไว@ตามสถานที่สำคัญๆ หนJวยงาน ห@างร@านตJางๆ แม@กระทั่งบ@านเรือน จะ ถกู ต้ังไว@เพื่อ เปน- พทุ ธบูชา - เรือไฟน้ำ จะทำเพือ่ นำไปลอยน้ำซึง่ ถูกประดบั ตกแตงJ อยJางวจิ ิตรบรรจงและงดงาม มักทำด@วยวัสดุธรรมชาติยJอย สลายงJาย ทั้งเรือไฟบกและเรือไฟน้ำ ถูกจัดสร@างโดยกลุJมคนในชุมชน โดยมีความ เชื่อหลายประเด็น คือ ๑.ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชารอยพระพุทธบาทที่ประทับไว@ ณ หาดทรายริมฝ„…งแมJน้ำนัม ทามหานที ๒.ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาพระรัตนตรัย ๓.ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาคุณพระแมJคงคา ๔.ความ เชอ่ื เกยี่ วกับการบูชาพญานาค ความเชื่อเกี่ยวกับนาคผู@คนในภูมิภากอุษาคเนยI โดยเฉพาะอยJางยิ่งบริเวณสองฝ„…งแมJน้ำโขง ตั้งแตJตอน ใต@ มณฑลยูนนานของจีนลงมา จนถึงปากแมJน้ำโขง ยกยJองนับถือมาแตJดึกดำบรรพI มีหลักฐานของหม@อลาย เขียนสีบางใบพบที่บ@านเชียง จังหวัดอุดรธานี เขียนลวดลายเป-นรูปงูพันอยJูลักษณะเชJนนี้เหมือนกันกับภาขนะ ดินเผายุดกJอนประวัติศาสตรIที่บ@านเกJาชังหวัดกาญจนบุรี แสดงวJามนุษยIสมัยนั้นมีคติหรือลัทธิบูชาง คือ ยก ชJองนับถืองเป-นสัตวIศักดิ์สิทธิ์กันทั่วไปแล@วเชJนเดียวกับกลุJมชนสJวนอื่นๆ ในโลก ตJอมาเมื่อมีการติดตJอกับ ชาวตJางชาติตJางภาษา เชJน อินเดียฯลฯ ผู@คนในภูมิภาคนี้ก็รับเอาคำวJานาคจากภามาของชาวชมพูทวีปมาเรียก งูให@ฟ„งขลังขึ้น เพราะยกยJองนับถือวJาเป-นมหาศักดิ์สิทธิ์ นาคในอุษาคเนยIมีที่อยูJให@ดิน เรียกวJาบาดาล หรือนาค พิภพหลังจากมีการติดตJอและรับแบบแผนอินเดียแล@ว ก็มีนาคชุดใหมJอยูJบนฟTาตามคติอินเดีย เพราะเชื่อกันวJา
นาคเป-นผู@บันคาลให@ เกิดธรรมชาติ เกิดความมั่งคั่งและมั่นคง ในขณะเดียวกันก็อาจบันดาลให@เกิดภัยพิบัติถึง ขั้นบ@านเมืองถJมงมได@ นอกจากนั้นยังยกยJองนับถือนาคเป-นบรรพบุรุษด@วย พญานาค จึงเป-นสัญลักษณIของเจ@า แหงJ ดินและนำ้ ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาคุณพระแมJคงคา เพื่อบูชาพระแมJคงคา เป-นการแสดงการขอบคุณน้ำ เพราะมนุษยIเราอยูJได@เพราะน้ำ ตั้งแตJโบราณมาชุมชน ทั้งหลายเวลาสร@างเมือง ตJางก็เลือกติดแมJน้ำ ดังนั้นถึง เวลาในรอบ ๑ ปW ก็ต@องระลึกวJาตลอดปWที่ผJานมา เราได@อาศัย น้ำในการดำรงชีวิต ขณะที่ลอยกระทงเราก็นึกถึง คุณของน้ำ ไมJใชJลอยเฉยๆ ต@องรำลึกวJาต@องรู@จักใช@น้ำอยJางถูกวิธี และใช@น้ำอยJางคุ@มคJา ไมJใช@ทิ้งขว@าง ไมJทำให@ น้ำสกปรก ไมJปลJอยของเสียลงแมJน้ำ เป-นการขอขมาและขอบคุณพระ แมJคงคา ไมJใชJเป-นการไหว@เทวดาพระ แมJคงคาแตอJ ยาJ งใด แตJเปน- การแสดงการขอบคุณน้ำ ในฐานะทีเ่ ป-นผูใ@ ห@ชวี ิต เรา สุจิตตI วงษIเทศ เขียนหนังสือเรื่อง \"นาค ในประวัติศาสตรIอุษาคเนยI\" (๒๕๔๓)เป-นการศึกษาความเชื่อ เรื่องนาค หรือ งูของผู@คนในภูมิภาคอุบาคเนยI และวJาด@วยนิทานปรัมปราที่ผูกขึ้นเป-นเรื่องราว และได@นำกรอบ แนวความคิดการผสมผสานวัฒนธรรมทางมนุษยวิทยามาอธิบายปรากฎการณIทางสังคมและ วัฒนธรรมของ ลัทธิบูชางู - นาค เพราะ ได@กลJาวถึง \"การผสมผสานความเชื่อระหวJางพุทธ - พราหมณI - ผี\" ของคนในอุ บาคเนยI \"นาคเป-นสัญลักษณIของกลุJมชนดั้งเดิม\" \"ความสัมพันธIระหวJางนาคกับมนุษยI\" \"นาคเป-นสัญลักษณI ของเจ@าแหJงดินและน้ำ\" \"นาคเป-นลัทธิทางศาสนาของระบบความเชื่อดั้งเดิม\" ฉะนั้นเนื้อหาของหนังสือจึงได@ ขยายความหมายของพญานาคให@กระชับและแนบแนJนขึ้นมา แม@วJา อยูJในกลุJมชนหลายเผJาพันธIุทั่วทั้งภูมิภาค อุษาคเนยI โดยเฉพาะบนผนื แผนJ ดินใหญJ เชนJ มอญ เขมร ลาว ญวน และไทย (สุจิตตI วงศเI ทศ ๒๕๔๖ : ๗) ...ในโลกของความเป-นจริง นาคอาจเป-นเรื่องเหลวไหลไร@สาระ แตJในโลกแหJงความเชื่อ นาคเป-นเรื่อง ศักดิ์สิทธิ์ ขลัง และมีอำนาจนJาเกรงขามยิ่งย@อนหลังกลับไปหาอคีตดึกดำบรรพ นาคยิ่งมีความสำคัญตJอชุมชน บ@านเมือง และไพรJ ฟTาประชากรในภูมิภาคอุบาคเนยIอยJางยิ่ง คังพบรJองรอยของนิทานปรัมปรา เรื่องนาค มี ทฤษฎีคติชนสร@างสรรคI ของ อาจารยIสกุ ญั ญา สุจฉายา ได@กลJาวถงึ บรบิ ททางสงั คมทางสังคม 3 บริบทใหญJๆ ท่ี สJงผลตJอการเกิดปรากฏการณIทางสังคมวัฒนธรรม รูปแบบใหมJ โดยเฉพาะปรากฏการณIคติชนในสังคม ประเพณี มาปรับใช@ในสังคมไทยป„จจุบัน ได@แกJ บริบทสังคมทุน นิยมและเศรษฐกิจสร@างสรรคI บริบทสังคม โลกาภิวัฒนIและการทJองเที่ยวและบริบทสังคมข@ามชาติ-ข@ามพรมแดน ซึ่ง ตรงกับปรากฏการณIของบริบททาง สังคมแขวงเมืองหลวงพระบาง โดยได@ข@อมูลจากการลงพื้นที่ภาคสนาม ได@ วิเคราะหIข@อมูลผJานแนวคิดทฤษฎี คติชนสร@างสรรคIในรูปแบบการทJองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยมีการนำประเพณีและ วัฒนธรรมการไหลเรือไฟมา ผลิต เพื่อสร@างอัตลักษณIให@กับพื้นที่ ซึ่งเป-นการนำทุนทางวัฒนธรรมมาเป-นบทบาท สำคัญในการสร@างมูลคJา ทางเศรษฐกิจ คุณคJาทางสังคมด@วยพลังขอความรJวมมือจากทุกภาคสJวน ทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน เพื่อ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานแหJงการทJองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสูJสากล โดยอาศัยนโยบายขององคIการ บริหารการ พัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทJองเที่ยวอยJางยั่งยืน (องคIการมหาชน) หรือ อพท. มาเป-นป„จจัยทำให@เกิด
ปรากฏการณIคติชนสร@างสรรคI โดยนำเอาคติชน ความเชื่อ พิธีกรรม มาตJอยอดเพื่อควบคุมคนในสังคมและ สร@าง รายไดเ@ ชงิ พาณชิ ยIจากทนุ วัฒนธรรมเดมิ ท่ีมีอยูJ ภาพประกอบที่ ๔ : ประเพณีเรอื ไฟในหลวงพระบาง ๒๕๖๕ สรุป จากการศึกษาเกี่ยวกับประเพณีไหลเรือไฟ บุญออกพรรษาหลวงพระบาง ๒๕๖๕ เมืองหลวง พระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พบข@อมูลที่นJาสนใจเกี่ยวกับความหมายของเรือไฟอยJู หลากหลายประเด็น ได@แกJ ๑) เรือไฟคือ สัญลักษณIแทนความศรัทธาสูงสุดในพระพุทธศาสนา ๒) เรือไฟคือ เครื่องบูชาในพระพุทธศนาในบุญ ออกพรรษา (เดือน ๑๑) ของชาวหลวงพระบาง ๓) เรือไฟมีความเชื่อมาจาก เรอ่ื งเลJาที่สอดคล@องกับ หลักฐานทางโบราณคดีซ่ึงมพี ัฒนาการมาตัง้ แตJ หนิ ดาว ไหดาว ฮูปแต@ม ฆอ@ งบ้งั (กลอง มะโหระทึก) เป-นต@น อยJางไรก็ตามจาก ๓ ประเด็นที่ได@รับจากการศึกษามีความสอดคล@องกับทฤษฎีสัญวิทยา (semiology) ของ โรล็องดI บารIตสI ซึ่งได@อธิบายถึงกระบวนการสื่อความหมาย จากสิ่งที่เราเรียกหรือ เขียน ถึงกับสิ่งที่เป-นความหมายที่สื่อออกมา มีสิ่งที่เรียกวJา สัญญะ (sign) เกิดขึ้นในภาษา สัญญะเป-น ตัวเชื่อมโยง ความคิด (Concept) เข@ากับภาพ (image) ดังนั้น สัญญะจึงเป-นการสื่อสารความหมาย ทางภาษา ในสังคม สมยั ใหมมJ นุษยสI รา@ งสญั ญะขึน้ มาเพือ่ สอ่ื ความหมายทางวฒั นธรรม (สุภางคI จนั ทวานิช. ๒๕๕๒: ๒๑๘)
บรรณานุกรม ธรรมกิตตวิ งศI, พระ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบณั ฑติ พจนานกุ รมเพอื่ การศึกษาพุทธศาสนI ชุด คำวัด, กรงุ เทพฯ : เสีย่ งเซยี งเพยี รเพื่อพทุ ธศาสน,I 2548 ศุภชัย สิงหIยะบุตยI. (๒๕๕๓). หลวงพระบางเมืองมรดกโลก ราชธานีแหJงความทรงจาและพื้นท่ี พิธีกรรมใน กระแสโลกาภวิ ัตนI. กรงุ เทพ : สุขภาพใจ สจุ ติ ตI วงศIเทศ. นาค ในประวตั ิสศาสตรIอยุ าคเนยI, พิมพIครัง้ ที่ ๒. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พมI ติชน, ๒๕๔๖ สุภางคI จนั ทวานิช. (๒๕๕๒). ทฤษฎสี ังคมวิทยา. กรุงเทพ : สำนักพมิ พแI หงJ จฬุ าลงกรณมI หาวิทยาลัย, ๒๕๕๑
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: