Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความชักชายสะบัด

บทความชักชายสะบัด

Published by aum-zxx, 2022-12-06 06:18:06

Description: บทความชักชายสะบัด

Keywords: บทความ,ชักชาย,สะบัด,ชัก,ชาย

Search

Read the Text Version

บทความ ชักชายสะบดั : การเดนิ ทางของผ้านุ่งสตรีไทยในสมิ อีศาน Chak chay sa bad : The Journey of Thai Women's Garments in Sim Isan นายอนชุ ิต สีโมรส รหัสนกั ศกึ ษา 6572200419 หลกั สตู ร ปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ (ปร.ด) สาขาวชิ าวจิ ยั วัฒนธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ (นาฏศิลป)์

ชกั ชายสะบดั : การเดนิ ทางของผ้านงุ่ สตรีไทยในสมิ อีศาน Chak chay sa bad : The Journey of Thai Women's Garments in Sim Isan อนชุ ิต สีโมรส (Anuchit seemorot) บทนำ การแตง่ กายของชาวไทยสมัยโบราณมีวิวฒั นาการมาตามลำดบั เพ่ือใหม้ ีความสอดคล้องกบั การดำเนนิ ชวี ิต ซ่ึงเปลย่ี นแปลงไมห่ ยดุ ย้ังตามกาลเวลาดังเชน่ การแต่งกายในสมัยกรุงศรีอยธุ ยาชายไทยนิยมนุง่ ผ้าโจงกระเบนไม่ สวมเสอ้ื มผี า้ พาดไหลห่ รือผา้ คาดเอวฝ่ายหญิงนิยมนุง่ ผา้ โจงกระเบนเช่นเดียวกันห่มผ้าแถบหรอื สบายท้งิ ชายยาว ทรงผมปลอ่ ยตามธรรมชาติครนั้ เมอื่ ถึงยามศึกสงครามจึงตัดผมสนั้ และเปล่ยี นแปลงการห่มสไบเปน็ หมผ้าสะพาย พาดไหล่ท้ังสองขา้ งทเ่ี รียกวา่ ตะเบง็ มานเพื่อใหเ้ หมาะสมกับภาวะของบ้านเมือง (วิวัฒนาการแตง่ กายละครไทย . มาลยั นิลพงษ์ .พิมพ์วดี กล่ันพจน์ 2546.น. 43) การแต่งกายสมัยอยธุ ยาตอนต้นพุทธศักราช 1893 ถึง 2131 เรมิ่ การปกครองแบบเทวกษัตริย์สตรชี ้ันสูง นุ่งสนิ้ จบี ผมสบายมีพาศน์ฉนั ในอีกพนื้ หกอย่างผา้ แถบสบายฉันนอกเปน็ ผ้าเนอ้ื หนาผมเกล้าเม่ืองานใสเ่ ซยี นมวยคือ กลา่ วตามทท่ี า้ ยทอยหรือเก้านนู หยิกเกย้ี วแซมร่วมเป็นมวยบนกระหม่อม การแต่งกายสมัยอยุธยาตอนกลางพุทธศกั ราช 2275 ถึง 2301 เป็นสมยั ท่เี ฟ่ืองฟูมากในทุกๆดา้ นทางดา้ น วรรณกรรมมกี าเพลยเ์ รือที่ตกทอดมาจนถงึ ปัจจุบันไดบ้ รรยายความงามและการแตง่ กายของสตรีเอาไวถ้ ้าไม่ทราบ วา่ สตรีไทยสมยั น้ันไวผ้ มยาวประบ่าอาเอย่ี มไรยังนงุ่ ผา้ จบี และหม่ สไบ การแตง่ กายสมัยอยุธยาตอนปลายพุทธศักราช 2301 ถึง 2310 บา้ นเมืองอยู่ในภาวะสงครามเสมอเสมอ ผหู้ ญงิ จงึ หันมานงุ่ โจงกระเบนแบบชายผา้ สไบเปล่ยี นมาคาดอกแล้วรวกชายผูกเงื่อนที่ต้นคอตัดผมสน้ั เพ่ือความ สะดวกรวดเร็วในการอพยพและร่วมต่อสปู้ ้องกนั บ้านเมือง (ชะวัชชยั ภาตณิ ธุ .ยุคสมยั เครอ่ื งแตง่ กายไทย.กรงุ เทพ โอเดยี นสโตร.์ 2535) ภาพประกอบ 1 ภาพเขยี นเลียนแบบจากพวงผกา กโุ รวาท (2535: 56-62)

การน่งุ ผา้ แบบชกั ชายสะบดั พบในจติ รกรรมไทย ซง่ึ เป็นการนงุ่ ภาพตามแบบของสตรใี นสมยั อยธุ ยา ลกั ษณะการน่งุ จีบหนา้ นาง ชกั ชายสะบดั เป็นอกี หนึ่งรูปแบบการน่งุ ท่สี วยงาม โดยสตรผี สู้ ามใสจ่ ะมกี ารห่มสไบตามแบบการแต่งกายในสมยั อยธุ ยา ภาพประกอบ 2 จิตรกรรมฝาผนงั วดั สทุ ัศน์เทพวราราม , ภาพจากละครเรื่อง พิศวาส ฮูปแตม้ เปน็ การสื่อความหมายในลกั ษณะเชิงอุดมคติ จติ รกรรมพน้ื ถ่นิ อีสานท่ีนิยมเขยี นกันไวท้ ่ี ผนังโบสถ์ (สิม) วหิ าร ศาลาการเปรยี ญ และศาสนอาคารอื่นๆ เร่อื งทเ่ี ขียนมักจะเปน็ พุทธประวตั แิ ละเวสสนั ดรชาดก ซึ่งเป็น ธรรมเนยี มท่ีชาวอีสานปฏบิ ตั ิสบื ต่อกนั มา ในทางปฏบิ ัติช่างท่เี ขยี นจะเรียกวา่ ชา่ งแต้ม ช่างแตม้ เปน็ ช่างพ้นื บา้ นที่มี ขนบการวาดรปู แตกตา่ งไปจากชา่ งหลวง ช่างแต้มจะวาดรูปไวท้ ง้ั สองด้านของผนังสมิ กลา่ วคอื ทงั้ ด้านในและดา้ น นอก เพราะขนาดของสมิ อสี านจะมขี นาดเลก็ การทช่ี า่ งแต้มวาดรูปไวด้ ้านนอกด้วยเพ่ือให้คนที่ไม่สามารถเขา้ ไป ด้านในสมิ ได้ชมในระหวา่ งรอ เนือ้ หาทชี่ า่ งแต้มนยิ มเขยี นลงไปบนผนงั คือทศชาตชิ าดก นิทานพน้ื บา้ น เพ่อื เป็นสอ่ื ในการสอนศีลธรรมให้แก่คนทีเ่ ขา้ วดั ได้ระลกึ นึกถึงการทำความดีความช่วั และคนชมยังไดจ้ ติ นาการจากฮูปแตม้ คตคิ วามเชือ่ ต่างๆและฮปู แต้มยังทำใหส้ มิ หลังเล็กๆมีลวดลายสสี นั ที่สวยงาม ซงึ่ การเขียนฮูปแตม้ ช่างไม่ได้มี กฎเกณฑ์ท่ตี ายตวั แต่อาศยั ความชำนาญในทางปฏิบัติจรงิ และความเหมาะสมของขนาดพนื้ ท่ผี นงั และความพงึ พอใจของชา่ งแตม้ การจัดวางเรือ่ งราวต่างๆก็เปน็ ความงามตามความรูส้ กึ ว่างามของชา่ งแต้ม (สกุณะพัฒน์ & อุดม เชยกีวงศ์, 2548c) อาทเิ ช่น การแตง่ กาย การไวผ้ ม สภาพสงั คม การทาบญุ ความเป็นอย่ปู ระจาวนั การเลยี้ งดบู ตุ ร การ ประกอบอาชีพการคา้ ขาย การลา่ สตั ว์ ขบั รอ้ งฟ้อนรา เป็นตน้ ภาพฮปู แตม้ ของสตรีท่วี ดั โพธาราม สิมพนื้ บา้ นเลยี นแบบเมอื งหลวง จงั หวดั มหาสารคาม ชา่ งเขยี นไดเ้ ขยี นเร่ืองราว เกี่ยวกบั พระเวสสนั ดรชาดก นครกณั ฑ์ ซ่งึ ประกอบดว้ ย ภาพขา้ ราชบรพิ ารสตรี ซ่งึ การเขียนภาพบคุ คลอนื่ ๆเช่น ขา้ ราชบรพิ าร ทหาร นางกาสนมกานลั ชาวบา้ นนนั้ ปรากฏในภาพวถิ ีชวี ติ ท่สี อดแทรกอยใู่ นตอนตา่ ง ๆ ท่ไี ม่ใช่ภาพหลกั จะเขยี นรายละเอียด

การแตง่ กายแตกตา่ งกนั ไปตามบคุ คลกิ ในทอ้ งเรอ่ื งนนั้ ขา้ ราชบรพิ ารสตรใี ส่เสอื้ คอกลมแขนยาว คลอ้ งสไบ น่งุ ผา้ ซ่นิ หรือโจง กระเบน รวบผม ภาพประกอบ 3 นครกัณฑ์ วดั โพธาราม จ.มหาสารคาม 2565 ภาพประกอบ 4 เปรียบเทยี บการจบั จบี ผ้านงุ่ กับฮปู แต้ม วัดโพธาราม จ.มหาสารคาม 2565 สรุป จากการศึกษา ชางเขยี นในแถบอสี านกลางน้ีพบวา่ เปน “ชางพ้นื บานแท” มลี ักษณะการทาํ งาน โดย เดนิ ทางหมุนเวียนเพอื่ ไปรับงานแหลงตาง ๆ ภายในพืน้ ทร่ี ะแวกใกลเคยี ง การเขยี นภาพจิตรกรรมฝาผนงั ของแตละ สมิ ชางอาจเขยี นจะทาํ ตามคําบอกเลาของเจาอาวาสหรอื ผูมีจิตศรทั ธาสรางถวาย สิมหลงั หนงึ่ จะประกอบไปด วยชางเขียนจาํ นวนหลายคน มีทกั ษะความชํานาญในระดบั ท่ีแตกตางกันภายในกลุมชางจึงมรี ะบบหัวหนาชาง และผูชวย คนทเี่ ปนชางเขียนอาจเปนชาวบานทม่ี ีฝมือดเี ปนพระสงฆหรือเปนฆราวาสผูผานการบวชเรยี นมาแล วอาจศกึ ษาถายทอดความรูกันเองหรอื ฝกฝนจากชางผูฝมือดีในตางถิน่ และไมนยิ มจารึกช่ือตนเองลงบนภาพ จติ รกรรมฝาผนัง จติ รกรรมฝาผนังของสมิ พื้นถ่นิ ในเขตอีสานตอนกลาง อายุการสรางอยูในชวงราวกลางถึงปลาย

พทุ ธศตวรรษท่ี 25 หรือราวรชั สมัยรัชกาลท่ี 5 แหงกรุงรัตนโกสินทรงานจติ รกรรมสะทอนอิทธิพลทางรปู แบบ จากศูนยกลาง เชนกรุงเทพ ขณะเดยี วกันงานศิลปกรรมก็แสดงความสมั พันธเชื่อมโยงกับ รากฐานทางวัฒนธรรม เดมิ ของกลุมชน หลอหลอมสูความเปนพน้ื ถน่ิ ดวยงานศลิ ปกรรมทางศาสนาเชอื่ มโยงใหเขากบั วิถีทางโลกของคน อีสานสูความเชอื่ แนวคิดความอุดมสมบรู ณในอสี านตอนกลาง สวนรูปแบบศลิ ปะประเด็นยอยอน่ื เชน ภาพการแต งตัวแบบขาราชบรพิ ารหญงิ สาว สะทอนความเขาใจของชางเขยี นพ้นื บาน และแสดงรปู แบบเฉพาะความเปนทอง ถ่ินงท่ีงานประดับตกแต่งภาพสถาปตยกรรมดวยภาพ อย่างไรก็ตามจากการศึกษามีความสอดคลอ้ งกบั ทฤษฎีความ งามของอรสิ โตเตลิ ซ่ึงไดอ้ ธิบายถึงความงาม คือการเลียนแบบ ซึง่ ศิลปะคอื ความงามท่เี ลียนแบบจากจินตานาการ ของชา่ งเขยี น โดยบรรยายออกมาจากประสบการณท์ ่ีได้จดจำ บรรณานุกรม มาลยั นลิ พงษ์ .พิมพ์วดี กล่นั พจน์ .วิวฒั นาการแต่งกายละครไทย . 2546.น. 43 ชะวชั ชยั ภาติณธุ .ยคุ สมัยเครอ่ื งแตง่ กายไทย.กรงุ เทพโอเดียนสโตร.์ 2535 พวงผกา กโุ รวาท .ภาพเขยี นเลยี นแบบ 2535: 56-62 (สกณุ ะพัฒน์ & อดุ ม เชยกีวงศ์, ของดี 4 ภาค ชุด ภาคอีสาน(ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ). In (pp. 49-50): กรงุ เทพ : ภมู ปิ ัญญา.2548


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook