Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความเกไล อิทธิพลการเกี้ยวผ้าคาดเอวสมัยอยุทธยาที่ปรากฏบนภาพจิตกรรมสิมอีสาน

บทความเกไล อิทธิพลการเกี้ยวผ้าคาดเอวสมัยอยุทธยาที่ปรากฏบนภาพจิตกรรมสิมอีสาน

Published by aum-zxx, 2022-12-09 08:43:03

Description: บทความเกไล อิทธิพลการเกี้ยวผ้าคาดเอวสมัยอยุทธยาที่ปรากฏบนภาพจิตกรรมสิมอีสาน

Keywords: บทความ,เกไล,อิทธิพล,การ,เกี้ยว,ผ้า,คาด,เอว,สมัย,อยุทธยา,ที่,ปรากฏ,บน,ภาพ,จิตกรรม,อีสาน

Search

Read the Text Version

บทความ เกไล : อทิ ธิพลการเก้ียวผา้ คาดเอวสมยั อยทุ ธยา ที่ปรากฏบนภาพจติ กรรมสมิ อสี าน มธั ยม ออ่ นจันทร์ รหสั นักศกึ ษา 657220008-7 สาขาวิจัยวฒั นธรรม ศิลปกรรม และการออกแบบ รุ่น 13 คณะศิลปะกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เกไล : อิทธิพลการเกย้ี วผ้าคาดเอวสมยั อยุทธยา ทป่ี รากฏบนภาพจิตกรรมสมิ อสี าน นายมธั ยม ออ่ นจันทร์ จากภาพเขียนโบราณ ที่มีการเกี้ยวผ้าคาดเอวแผ่ปรกลงมาคลุมก้นนั้นผู้วาดมิใช่วาดเกิน จริงแต่อย่างใด คนโบราณจะเกี้ยวผ้าในลักษณะนี้ ซึ่งเรียกว่า การเกี้ยวผ้าเกไล สอดคล้องกับ แนวคิดของ พรี มณฑ์ ชมธวัช ท่วี ่ามีการเกยี้ วผา้ คาดเอวแบบเกไลจรงิ และอทิ ธิพลการเกยี้ วผ้าคาด เอวสมัยอยุทธยานี้ ยังมีการแต่งกายจริง ที่วัดศาลาลอย จังหวัดนครราชสีมา ที่น่าสนใจยิ่งคือ ปรากฎบนภาพจติ กรรมสมิ อสี านในปจั จบุ ัน คำสำคญั การเกย้ี วผ้าคาดเอว,เกไล,เพลงโคราช,สมิ อีสาน การเกี้ยวผ้า ในเอกสารสมัยกรุงศรีอยุธยาปรากฏคำว่า “ เกี้ยว ” ในความหมาย คือ เป็น การแต่งตวั สำหรบั ข้าราชการอยเู่ ป็นประจำแตง่ ตัวในการออกงานราชพธิ ี เจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรา นวุ ตั วิ งศ์ อธบิ ายไวว้ ว่า ผา้ เกี้ยวคือ ผา้ ทีใ่ ช้มัดพุง ผ้าเกีย้ วลาย คอื ผ้ามดั พุงที่มลี ายเท่าน้ัน มีการนุ่ง ผ้าอยู่แบบหนึ่ง เรียกว่า นุ่งแบบเกี้ยวเกไล นุ่งแบบนี้ต้องนำผ้าลายสองผนื เจ้าฟ้ากรมพระยานริศ รานุวัติวงศ์ อธิบายว่าว่า “ ผืนหนึ่งนุ่งโจงกระเบนสนับเพลาอีกผืนหนึ่งคาดพุง” วิธีคาดด้านหลัง ชักแผ่ลงปรกถึงก้น ด้านหน้ารวบผูกเงื่อน คาดไว้ชายข้างหนึ่งเสมอเงื่อน อีกข้างปล่อยแผ่ลงไป แล้วกลับทบชายขึ้นมาเหน็บไว้ที่พก เหมือน เอากระเป๋าห้อยไว้ที่หน้าขา ผืนข้างในเรียกผ้านุ่งอีก ผืนเรียก ผา้ เกีย้ ว ผ้านุ่งกบั ผา้ เกี้ยวต่างชนดิ กัน ผา้ นุง่ กว้าง ผา้ เก้ียวแคบ ชว่ งหลังไมไ่ ม่นิยมแต่ง ไม่ มีผา้ คาด ก็นำเอาผ้าน่งุ มาคาด เลยทำความย่งุ เรยี กผา้ นงุ่ ลายบา้ ง ผ้าเกยี้ วลายบ้าง \"เก้ยี วผ้า\" การเกีย้ วผา้ แบบตา่ ง ๆ น้นั แสดงถึงความคิดนำมาส่กู ารประดษิ ฐ์เครื่องแต่งกาย มนุษย์ เทพยดา ในงานจิตรกรรม และประติมากรรมไทย การเกี่ยวผ้า คือ วิธีพันผ้ารอบเอวแล้ว เกี่ยวให้ติดอยู่กับตัวหรือการคาดผ้าแบบต่าง ๆ ให้มั่นคงและสวยงามตามแบบโบราณนิยม การ เกยี้ วผ้าตามตำราและแบบแผนโบราณมอี ยดู่ ว้ ยกนั ๔ วธิ ี ๔ แบบ ๑ ชนิดที่หนึ่ง “เกี้ยวผ้ายัญพัด” ให้เกี้ยวผ้าไหมมิให้เกี้ยวผ้าลาย โดยให้เกี้ยวผ้าทางยาว โอบเอวมาผูกไว้ตรงกระเบนเหน็บ แล้วนำชายผ้าทั้งสองโอบเอวมาทางด้านหน้า ทบกัน เอาชาย หนึ่งทบมาถงึ ข้างหน้า ชายที่เหลืออยูน่ ้ันลอดขัดขึ้นไป เสร็จแล้วแล้วกระหวัดบน ทบลงมาลอดให้ ขัดลำไว้พออย่แู ละสบาย ชายทเี่ หลอื ห้อยลงมาตรงพก ด่งั หอ้ ยหนา้

ภาพประกอบท่ี ๑ เกี้ยวผา้ ยัญพดั ๒.ชนดิ ท่สี อง “เก้ยี วผา้ กระหวัดจำ” ใช้ผ้าเก้ียวผ้าลายพบั ดงั่ หนึ่งเจียรบาด โอบตวั ไป ขา้ งหน้าใหเ้ ท่ากนั ทบหนา้ น้ันขัดขึน้ ใหพ้ อดี ทำให้ได้ ๒ ทบ ชายห้อยลงไปด่งั รูป ภาพประกอบท่ี ๒ เกี้ยวผา้ กระหวัดจำ

๓. ชนดิ ที่สาม “เก้ยี วผา้ พนั ทนำ” ทำการพนั ผา้ ลายพับ ห้อยชายลงไวแ้ ล้วใหพ้ นั ตัวใหไ้ ด้ ๒ รอบ แล้วขดั ชายผา้ พันไว้ ให้ชายซอ้ นกันลงท้งั สองชายจึงทบกลับข้ึนมาเหน็บไวต้ รงหนา้ ดงั รปู ภาพประกอบท่ี ๓ เกย้ี วผา้ พนั ทนำ ๔. ชนิดที่ส่ี “เก้ียวผา้ เกไล” ใหพ้ ันผา้ ลายคลี่ มใิ ห้พับ ผอ่ นให้ชายท้ังสองขา้ งไมเ่ ทา่ กัน ซา้ ย สั้น ชายขวายาว ให้เอาริม นุ่งเข้าหาพกให้แน่นจึงให้จีบหน้าทางยาวทั้ง ๒ ข้าง ผูกไขว้ขัดกันให้ เป็นเงื่อนพอประมาณ กระทกชายด้านยาว แล้วให้จีบหน้าชายยาว เหน็บทับพุงลงไว้ตามรูป (อา้ งอิง : ศพั ทศ์ ิลปกรรม / รูป : หน้า ๑๐๐-๑๐๑) ภาพประกอบที่ ๔ เก้ียวผา้ เกไล

การคงอยู่ของเพลงโคราช ที่วัดศาลาลอย ทำให้การเกี้ยวผ้าแบบเกไล ยังคงอนุลักษณ์ไว้ แต่รูปแบบ อาจเปลี่ยนไป คือ ใช้ผ้าขาวม้า แทนผ้าลาย การเกี้ยวผ้าเกไล นอกจากความสวยงาม แล้วเพอื่ ปกปดิ และพราง ส่วนที่ไม่สวยในการน่งุ โจงกระเบน ทงั้ ข้างหนา้ และขา้ งหลงั ภาพประกอบที่ ๕ ชุดการแต่งกาย เพลงโคราช ภาพประกอบที่ ๖ ใชผ้ ้าขาวม้า แทนผ้าลาย

ภาพประกอบที่ ๗ เพอ่ื ปกปดิ ส่วนท่ีต้องการพลางในการสวมใส่ และความงาม กรุงศรีอยุธยา หรือ อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยสยาม ในลุ่มแม่น้ำ เจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 พุทธศตวรรษที่ 20 นั้นอาณาจักรอยุธยาได้รับการ ยกย่องว่าเป็นหนึง่ ในชาติมหาอำนาจทีส่ ุดแหง่ หนึ่ง การแสดงโขน รวมทั้ง นาฏศิลป์ ศิลปะ มีการ จัดแสดง ในพระราชวังหลวง เกือบเหมือนกับรูปแบบของนาฏศิลป์ที่ปรากฏอยู่ในประเทศไทย ชาวสยามมีศิลปะการเวทีอยู่สามประเภท: ประเภทที่เรียกว่า \"โขน\" เป็นการร่ายรำตามจังหวะ เครื่องดนตรี ผู้แสดงนั้นสวมหน้ากาก ส่วนการแสดงประเภทที่เรียกว่า \"ละคร\" เป็นบทกวีที่แต่ง ผสมผสานกัน ละครเหล่านี้นัน้ เป็น ประวัติศาสตร์ที่ร้อยเรียงเปน็ บทกลอนทีส่ ขุ ุม ขับร้องหลายคน ที่อยู่ในฉาก มีคนหนึ่งขับร้องในส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนที่เหลือจะกล่าวบทพูด ล้วนเป็นผู้ชายทั้งหมด สว่ น \"ระบำ\" เป็นการรำคู่ของหญิงชาย ซ่งึ แสดงออกอย่าง คนรำชายและหญิงจะสวมเลบ็ ปลอมซึ่ง ยาวมาก ทำจากทองแดง นกั แสดงจะขบั ร้องไปด้วยรวมท้ังรำไปด้วย การเดนิ ไปรอบ ๆ อย่างช้า ๆ ไม่มีการเคลื่อนไหวอย่างเร็ว เต็มไปด้วยการบิดและดัดลำตัว และท่อนแขน\" (ซีมง เดอ ลาลู แบร,์ หน้า 49) ในสมัยอยุธยามีการสร้างสรรค์วรรณคดีดี ๆ ไว้มาก บวรรณคดีเหล่านั้นส่งผลให้นาฏศิลป์ และการละครของสยาม พัฒนาข้ึนจนมคี วามสมบรู ณแ์ บบท้ังในการแต่งกาย และการแสดงออกใน ระดับสงู มีอทิ ธพิ ลตอ่ อาณาจกั รต่าง ๆ

“ชาวสยามไดพ้ ัฒนาศลิ ปะการแสดงและการละครจนเข้าถึงความสมบูรณแ์ บบในระดับสูง จึงทำให้เผยแพร่ไปสปู่ ระเทศเพือ่ นบ้าน ทง้ั ใน ลาว พม่า รวมทงั้ กมั พชู า ซ่งึ ล้วนแตเ่ สาะหานกั รำละครของสยามทง้ั สน้ิ ” (กัปตันเจมส์ โลว์) บา้ นหนองพอกสร้างวดั ประจำหมู่บ้านเรียกชือ่ ว่าวดั หนองพอก เม่อื วนั ท่ี 4 มิถุนายน พ. ศ. 2460 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนชื่อเป็นวัดป่าเลไลย์ ได้ ว่าจ้างช่างจารย์สิงห์วงศ์วาด เขียนภาพฝาผนัง บ้านหนอกพอกอยู่ใกล้กับบ้านดงบัง จึงมี ความสมั พันธ์กันทุกด้านโดยเฉพาะด้านพุทธศาสนาทีผ่ ูกพันเสมือนเป็นบ้านพเ่ี มืองน้อง และหอไตร กลางน้ำร่วมกนั การสร้างอุโบสถรวมทั้ง จิตรกรรมฝาผนงั จากช่างจารย์สงิ ห์วงศว์ าด และได้ติดตอ่ เชื่อมโยงกัน ผ่านกิจกรรมทางศาสนา กลายเป็นความสัมพันธ์แบบเครือข่ายระหว่างชุมชน นับตง้ั แตอ่ ดีตจนปจั จบุ นั ส่งผลสำคัญตอ่ การแพร่กระจายของรูปแบบอโุ บสถและจิตรกรรมฝาผนัง ที่มีความมากที่สดุ ในภาคอสี านตอนกลาง (คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม) พลังอำนาจทางวัฒนธรรม(soft power) คือ การสร้างความดึงดูดใจต่อผู้อื่น และผลจาก การใช้ Soft Power ต้องเกิดจากการดึงดูดใจที่ชักจูงให้คล้อยตามโดยปราศจากการคุกคามหรือ การแลกเปลี่ยนสิ่งใด ซึ่งแตกต่างจากการใช้อำนาจแบบดั้งเดิม คือ อำนาจเชิงบังคับขู่เข็ญ หรือ Hard Power เช่น การใช้อำนาจทางการทหารและการใช้อำนาจทางเศรษฐกิจซึ่งมุ่งคุกคามผู้อ่ืน ด้านเครอื่ งแต่งกายสมยั อยทุ ธยา 1) วัฒนธรรมท่ีสามารถโนม้ น้าวผ้อู ่ืนได้ 2) คา่ นยิ มทางการเมืองทั้งในและนอกประเทศ 3) นโยบายต่างประเทศที่ชอบธรรมและใชอ้ ำนาจอยา่ งมีศีลธรรม โดยหากอาณาจักรหนึ่งมีวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับค่านิยมและผลประโยชน์ของอาณาจักร อื่น หรือมีค่านิยมทางการปกครองสอดคล้องกันจะทำให้ Soft Power ของประเทศนั้นเพิ่มข้ึน (โจเซฟ ไนย์) ที่น่าสนใจคือ วัฒนธรรมการเกี้ยวผ้าคาดเอวที่สามารถโน้มน้าวผู้อื่นได้ ปรากฏบน ภาพจิตรกรรมสิม วัดป่าเลไลย์ ตำบลดงบัง อำเภอนาดนู จังหวดั มหาสารคาม

ภาพประกอบท่ี ๘ ภาพการเกย้ี วผา้ เกไล บนสิม วัดป่าเลไลยอ์ ำเภอนาดนู จงั หวดั มหาสารคาม สรุป จากการศกึ ษาเกี่ยวกับ การเก้ียวผ้าคาดแบบเกไล : อทิ ธพิ ลการเก้ียวผ้าคาดเอวสมัยอยุทธ ยา ทป่ี รากฏบนภาพจิตกรรมสิมอสี าน วดั ป่าเลไลย์ ตำบลดงบงั อำเภอนาดูน จังหวดั มหาสารคาม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความน่าสนใจ อยู่หลายประเด็น คือ 1) การเกี้ยวผ้าคาดเอวแบบ เกไล จะนุ่งเฉพาะเวลาออกงานที่เป็นทางการเท่านั้น 2) ปัจจุบันการเกี้ยวผ้าคาดเอวแบบเกไล ปรากฏที่วัดศาลาลอย การแต่งกายกลุ่มร้องเพลงโคราช จังหวัดนครราชสีมา 3)การเกี้ยวผ้าคาด เอวแบบเกไล มาปรากฏบนสิมอีสานวัดป่าเลไลย์ ตำบลดงบัง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ได้อยา่ งไร จากข้อสัญนิฐานของผู้ค้นคว้า กรุงศรีอยุธยาสถาปนาเมื่อ พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 และ ในสว่ นท่สี ร้างสิมและจติ รกรรมฝาผนังวดั ปา่ เลไลย์ ตำบลดงบัง อำเภอนาดนู จังหวดั มหาสารคาม จากช่างจารย์สิงห์ วงศว์ าด ในวนั ท่ี 4 มถิ นุ ายน พ. ศ. 2460 ซ่งึ ห่างกันค่อนข้างมาก ชา่ งจารย์สิงห์ วงศ์วาด อาจจะเคยเดินทางลงมายงั กรงุ เทพมหานคร และพบเจอจิตรกรรมฝาผนงั รูปแบบการการ เกี้ยวผ้าคาดเอวแบบเกไลจึงนำมาวาดไว้ที่กิจกรกรรมฝาผนัง และจากการสืบค้น ภาคอีสานพบ การเกีย้ วผ้ายญั พดั เปน็ ส่วนใหญ่และเป็นทีน่ ยิ มในผูค้ นท่ัวไปรวมทง้ั รปู สิม บนฝาผนัง

จากเหตุผลการสืบค้นข้างบนนั้น ทำให้สอดคล้องกับ ทฤษฎี แพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Diffusion of Innovation) การแพร่กระจายการใช้สินค้านวัตกรรม เริ่มขยายตัวอย่างเป็นลำดับ ขั้น จากกลุ่มหนึ่งไปสู่อีกกลุ่มหนึ่งอย่างเป็นขั้นตอนไม่ข้ามขั้นตอน เรียกว่า Linear Diffusion หมายถงึ จาก 1.กลุ่มลำ้ สมัย 2.กลุม่ นำสมัย 3.ทนั สมัย 4.ตามสมยั 5.ปลายสมยั ตวั อยา่ งของสินค้า นวัตกรรม ยกตัวอย่างในสมัยนั้น เทคนิคการเกี้ยวผ้าคาดเอว ถือว่าเป็นนวัตกรรมการแต่งกาย อย่างหนึ่ง เพื่อสะดวกในการสวมใส่ และปกปิดส่วนที่ไม่สวยงาม และมีรูปแบบการใช้งานอย่าง ชดั เจน จงึ เปน็ ทีน่ ยิ มและแพรห่ ลายเปน็ อย่างมาก.(Everette Roger, 1962)