Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PHOTOBOOK indigo color หลวงพระบาง

PHOTOBOOK indigo color หลวงพระบาง

Published by aum-zxx, 2022-12-23 03:19:34

Description: PHOTOBOOK indigo color หลวงพระบาง

Keywords: PHOTO,BOOK,indigo,color,หลวง,พระ,บาง

Search

Read the Text Version

ຫຼ ວງພຣະບາງ: Indigo Color



หลวงพระบาง ต้ังอยู่ภาคเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ท่ีตั้งของเมืองมีลักษณะเฉพาะตัว คื อ เ ป็ น ท่ี ร า บ ท่ี ถู ก แ ว ด ล้ อ ม ไ ป ด้ ว ย ภู เ ข า ท่ี สลับซับซ้อน ถูกกากับด้วยเส้นทางการไหลของ แม่น้าโขง สายน้าคาน และสายน้าดง สายน้าที่ไหลมาบรรจบกันส่งผลให้พ้ืนท่ีราบและ ท่ีต้ังของ \"หลวงพระบาง“ กลายเป็นพ้ืนท่ีอุดม สมบูรณ์เหมาะแก่การตัง้ ถิ่นฐานของมนุษย์



การท่องเท่ยี ว สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามนโยบายจติ นาการใหม่ ด า เ นิ น น โ ย บ า ย จิน ต น า ก า รใ ห ม่ ห ล ว ง พ ร ะ บ า ง ไ ด้ ถู ก เ ปิ ด ตั ว ต้ อ น รั บ นักท่องเที่ยว ตั้งแต่ พ .ศ. 2530 เป็นต้นมา พระราชวัง วัดวาอาราม ประเพณีพิธีกรรม แหล่งธรรมชาติ สถานท่ีทางประวัติศาสตร์ ตาหนัก บ้านเรือนเก่า เป็นเคร่ืองมือท่ีขับเคล่ือน ระบบเศรษฐกิจให้กับคนหลวงพระบาง “การท่องเท่ียว” ได้เปล่ียนความหมาย และ “เปิดเสียง” ของสถานที่มรดก เหลา่ น้ีหลังจากถูกปิดตายมานาน



หอพิพิธภณั ฑ์ พระราชวังเก่า ตั้งอยู่ถนนศรีสว่างวงศ์ พ้ืนที่ พระราชวังประกอบด้วยหอคา หอประชุมภูสี (Royal Palace Museum) โรงเก็บเรอื พระที่นง่ั ภายในอาคารพระราชวัง ถู ก จั ด แ บ่ ง พ้ื น ที่ ใ ช้ ส อ ย มี ท้ อ ง พ ร ะ โ ร ง อ ยู่ สว่ นกลาง พ้ืนท่ีด้านข้างและด้านหลังของท้อง พระโรงเป็นห้องสมุดและที่ประทับ ของ เจ้ามหาชีวิตกับมเหสี ปีกซ้ายเป็นห้องรับรอง ของมเหสี ปีกขวาเป็นห้องรับรอง ของ เจา้ มหาชีวติ ส่วนหอ้ งสุดท้ายของปีกด้านนี้ได้ ถูกจัดไว้เป็นห้องพระของพระเจ้ามหาชีวิต และเป็นสถานที่ประดษิ ฐานพระบางสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เคียงคูร่ าชอาณาจักร



ເຮື ອນມໍ ລະດົ ກ บริบทของเมืองมรดกโลก หลวงพระบาง ชมุ ชนใหม่ในหมู่บา้ นเกา่ ได้กลายเป็นเมืองท่องเที่ยวระดับโลกไป พร้อมกัน ส่งผลให้อาคารสถานที่ในเขต ตัวเมืองถูกเปลี่ยนความมายเป็นเรือนพัก ร้านกาแฟ ร้านขายของท่ีระลึก และหาก ต้องการสร้างเรือนใหม่ในเขตอนุรักษ์ ม ร ด ก ต้ อ ง ส ร้ า ง ต า ม รู ป แ บ บ สถาปัตยกรรม มุงหลังคาด้วยดินเผา ทาสีบ้าน และจัดพ้ืนท่ีบ้านตามขอบเขตท่ี กาหนดไวใ้ หอ้ ยใู่ น “รปู ทรงของอดตี ”













วัด พ้ืนที่ศักดิ์สิทธิ์ในหลวงพระบางจากที่เคย พ้นื ท่ที างสงั คมและแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว เงียบสงบ เม่ือกลายเป็นเมืองมรดโลก ”วัด” จึงถูกผลิตซ้าและนามาอธิบายใน บริบทใหม่ผสานกับการท่องเท่ียวจนเกิด การร้ือฟื้นและประดิษฐ์สร้างประเพณี พิธีกรรม

ວັ ດສີ ພຸ ດທະບາດ ตงั้ อย่บู ริเวณเชิงภูศรดี า้ นทิศตะวันออกเฉียงเหนือ สรา้ งขนึ้ ในปี พ.ศ.2396 ในรชั สมยั พระเจ้าจนั ทรเทพประภาคุณ เป็นสิมทรงเวียงจนั ทนท์ ่ีได้รบั อทิ ธพลจากศลิ ปะไทย

จิตรกรรมฝาผนัง ท่านบุนคง คุดท้าว เชื่อว่าสิมวัดสีพุดทะบาด ວັ ດສີ ພຸ ດທະບາດ สร้างในสมัยพระบามสมเด็จพระจอมเกล้า เจา้ อยู่หัวฯ ในยุคท่ีลาวเป็นเมืองขึ้นของไทย ປ່ າແຄ จึงทาให้เกิดการรับรูปแบบทางศิลปะมาจาก สยาม เชน่ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ภายในสมิ ที่ เขียนเร่ืองรามเกียรติ์ท้ังสีด้าน เขียนโดยช่าง พื้นบ้านร่วมกับช่างชาวสยาม มีลักษณะเด่น คือการเขียนภาพแนวยาวท่ีต่อเนื่องตลอด เ ช่ น เ ดี ย ว กั น กั บ ท่ี ร ะ เ บี ย ง ค ด วั ด พ ร ะ แ ก้ ว กรุงเทพฯ ซ่ึงช่างกลุ่มนี้ได้เห็นและนามาเป็น แรงบนั ดาลใจในการวาด





ບຸ ນໄຫລເຮື ອໄຟ จัดข้ึนในเดือน 11 วันออกพรรษา เพ่ือบูชาพระพุทธเจ้า รวมถึงระลึกถึง ນະຄອນຫລວງພຣະບາງ มารดาของพระพุทธเจ้าตามตานาน พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ สักการะ สายน้าที่สร้างความชุ่มช้ืนให้สรรพสัตว์ และโลกของเรา สักการะแผ่นดินที่อุดม สมบูรณ์ด้วยพืชผลอาหารของคนและสัตว์ โดยชาวหลวงพระบางจะประดับประดา โคมไฟรูปแบบต่าง ๆ แห่งเรือจากวัน มหาธาตุ และไหลเรือไฟจากวัดเชยี งทอง























“นางกาฮ”ี ผยี กั ษ์ผ้พู ทิ กั ษศ์ าสนา



นาคาคติและผียกั ษ์ เร่ืองเล่าประกอบตานานพระเจ้าเลียบโลก ผู้พิทักษ์พทุ ธศาสนา กล่าวถึงการเสด็จเมืองเชียงทองและทานายว่า ต่ อ ไ ป จ ะ ก ล า ย เ ป็ น พื้ น ท่ี ท่ี พุ ท ธ ศ า ส น า เจริญรุ่งเรือง จึงประทับฝ่าพระบาทไว้ข้างขวาท่ี ภูสี พร้อมกับสั่งให้พญาศรีสัตนาค ผู้ทอดร่าง ยาวในสายน้าโขง ขึ้นมาสถิตท่ีจอมภูสีเพ่ือ ดูแลรอยพระพุทธบาท นอกจากพื้นท่ีของนาคา แล้ว “นางกาฮี” ผียักษิณผู้มีฤทธานุภาพสูงสุด อย่ฝู ัง่ เชยี งแมน ท่ีทอดรา่ งเป็นภูเขาขนาบชุมชน ริมฝั่งโขง





















สหี ม้อนลิ





ชา่ งยอ้ มหมอ้ นลิ แม่แวน ช่างย้อมหม้อนิล ของบริษัทแห่งหน่ึง พูดถึงการเลี้ยงหม้อนิลเพื่อเตรียมย้อมสีคราม พืชท่ีให้สีครามมีอยู่สองแบบ คือ ต้นคราม (Indigofera tinctoria Linn.) และ ต้นฮ่อม กลุ่มไทล้ือ บ้านนางยาง หลวงพระบาง เป็นกลุ่มที่ย้อมหม้อนิลเก่ง จะใช้ต้นฮ่อมย้อมสีครามฟ้าเป็นส่วนใหญ่ การ เลย้ี งหม้อนิลเป็นภูมริ ทู้ ม่ี ีอัตลักษณ์เชิงข่างของแต่ ละคนซงึ่ ไดร้ บั การถา่ ยทอดจากบรรพบุรษรวมถึง การประยกุ ต์ใชว้ สั ดพุ ้นื ถ่นิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook