Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธประวัติ

พุทธประวัติ

Description: พุทธประวัติ

Search

Read the Text Version

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม พฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอนโดย นายกณั ฑ์คุปต์ ประเสริฐศรี





เร่ืองราวของพระพทุ ธเจ้าเร่ิมต้งั แต่ประสูติ เสดจ็ ออก ผนวช ตรัสรู้ ประกาศพระศาสนา จนถงึ ดบั ขนั ธปรินิพพาน การศึกษาพทุ ธประวตั ิ ทาให้เกดิ ความศรัทธา และการ นาพระจริยาวตั รของพระพทุ ธเจ้ามาประพฤตปิ ฏิบัตเิ ป็ น แบบอย่างเพ่ือให้ดารงชีวติ ได้อย่างเป็ นสุข

- พระบิดาพระนามว่า “พระเจ้าสุทโธทนะ” ปกครองเมือง กบลิ พสั ด์ุ - พระมารดาพระนามว่า “พระนางสิริมหามายา” - ประสูติ ณ ลมุ พนิ ีวนั ในวนั เพญ็ เดือน 6 ก่อนพทุ ธศักราช 80 ปี - หลงั ประสูตไิ ด้ 5 วนั ได้รับการขนานพระนามว่า “สิทธัตถะ” (ต้องการส่ิงใดย่อมได้สิ่งน้ันสมใจปรารถนา)

- พระมารดาสิ้นพระชนม์ หลงั จากเจ้าชายสิทธัตถะ ประสูตไิ ด้ 7 วนั - พระชนมายุ 7 พรรษา ศึกษาสานักครูวศิ วามติ ร - พระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภเิ ษกสมรสกบั เจ้าหญงิ ยโสธรา (พมิ พา) - ทรงพบเห็นเทวทูต 4 คือ คนแก่ คนเจบ็ คนตาย และ สมณะ

- พระชนมายุ 29 พรรษา ทรงตัดสินพระทัยออกผนวช โดยทรงม้ากณั ฐกะ มนี ายฉันนะตามเสดจ็ ด้วย - ริมฝ่ังแม่นา้ อโนมา เจ้าชายสิทธัตถะ ทรงปลงผม และ ทรงครองเพศเป็ นนักบวช - หลงั จากทรงครองเพศเป็ นนักบวช เสดจ็ ไปยงั สานัก อาฬารดาบส และอุททกดาบส - ทรงทดลองปฏิบัติการทรมานตนให้ลาบาก “ทุกกรกริ ิยา”

พระโพธิสัตว์ทรงลอยถาดทอง (ทที่ รงรับจากนางสุชาดาพร้อม กบั ข้าวมธุปายาส) อธิษฐานเสี่ยงทายการตรัสรู้ พระโพธิสัตว์ทรงลอยถาดทอง (ท่ที รงรับจากนางสุชาดา พร้อมกบั ข้าวมธุปายาส) อธิษฐานเสี่ยงทายการตรัสรู้

พระโพธิสัตว์ทรงผจญพญามาร ทรงชนะ พระโพธิสัตว์ทรงตรัสรู้อริยสัจส่ี สาเร็จพระอนุตร มารด้วยทศบารมที ที่ รงบาเพญ็ มานับ สัมมาสัมโพธิญาณ เป็ นสมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธ ประมาณไม่ได้ เจ้า พระศาสดาเอกของโลก ในวนั เพญ็ เดือนหก

- พระชนมายุ 35 พรรษา หลงั จากครองเพศเป็ นนักบวช 6 ปี ทรงตรัสรู้ ในอริยสัจ 4 คือ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค - หลงั จากตรัสรู้แล้ว ทรง เสวยวมิ ุตตยิ สุข ตามสถานทตี่ ่าง ๆ 7 แห่ง ๆ ละ 7 วนั

การตรัสรู้ความจริง 4 ประการ ทเี่ รียกว่า อริยสัจ 4 1. ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ 2. สมุทยั คือ เหตุทที่ าให้เกดิ ความทุกข์ 3. นิโรธ คือ ความดบั ทุกข์ 4. มรรค คือ แนวทางทนี่ าไปสู่ความดบั ทุกข์

คร้ันตอนทพี่ ระพทุ ธองค์เสวยวมิ ุตตสิ ุข ประทบั อยู่ ใต้ต้นเกตุ มีพ่อค้า 2 คน ช่ือ ตปสุ สะ และภัลลกิ ะ ได้นา อาหารเข้ามาถวายด้วยความเคารพเลื่อมใส ท้งั สองคนจึง ทูลขอร้องให้พระองค์ยอมรับเขาท้งั สองเป็ นสาวก ซ่ึง พระองค์กท็ รงทาตามคาขอ พ่อค้าท้งั สองคน จงึ ได้ชื่อว่า เป็ นบุคคลคู่แรกในโลกทเ่ี ป็ นสาวกของพระพทุ ธเจ้า

พระพทุ ธองค์ได้ใคร่ครวญดูแล้วว่า ธรรมทพี่ ระองค์ ตรัสรู้น้ันละเอยี ด สุขุมลุ่มลกึ มาก คนในโลกนีจ้ ะฟังธรรม แล้วเข้าใจน้ันไม่เท่ากนั เปรียบดุจดอกบวั 3 เหล่า (ตามที่ พระไตรปิ ฎกกล่าวถึง) ท่ีมีโอกาสเบ่งบานเมื่อต้อง แสงอาทติ ย์ จงึ ตดั สินพระทัยประกาศพระศาสนา เพื่อให้ คนทว่ั ไปได้เข้าใจหลกั ธรรมทพี่ ระองค์ตรัสรู้

พระพุทธองค์ทรงพจิ ารณาหมู่เวไนยสัตว์ทส่ี ามารถรู้ตามธรรมทท่ี รงแสดงได้ เปรียบประดุจบัว 4 เหล่า

- ทรงนึกถึงปัญจวคั คยี ์ ซ่ึงเคย ปรนนิบตั ิพระองค์ ขณะทบ่ี าเพญ็ ทุกกรกริ ิยา ซึ่งได้พานักอยู่ทปี่ ่ า อสิ ิปตนมฤคทายวนั - วนั ขนึ้ 15 คา่ เดือน 8 ทรง แสดงธรรมแก่ปัญจวคั คยี ์ ที่มชี ื่อว่า “ธัมมจักกบั ปวตั นสูตร”

- โกณฑญั ญะ เกดิ ดวงตาเห็นธรรม ต่อจากน้ันกราบทูลขอ บวชเป็ นพระภกิ ษุ พระพทุ ธเจ้าทรงอนุญาต - พระพทุ ธเจ้าทรงเปล่งพระวาจาว่า อญฺญาสิ วต โภ โกณฑญโฺ ญ แปลว่า โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ - พระอญั ญาโกณฑญั ญะ เป็ นปฐมสาวก ทาให้พระ รัตนตรัยครอบ องค์ 3 - ปัญจวคั คยี ์อกี 4 ท่าน ได้สาเร็จเป็ นพระอรหันต์ เพราะ ฟังธรรมชื่อ “อนันตลกั ขณสูตร”

- พระพทุ ธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมแก่เศรษฐีบดิ าของ พระยสะ ทาให้ท่านเกดิ ความเล่ือมใส ประกาศตนเป็ น อบุ าสกคนแรกในพระพทุ ธศาสนา - พระยสะได้น่ังฟังธรรมอยู่ด้วย ได้บรรลเุ ป็ นพระ อรหันต์ - พระพทุ ธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมโปรดมาดา และอดตี ภรรยาของพระยสะ และเพ่ือนสนิท 50 คน

พระพทุ ธองค์ทรงแสดงพระธรรมเทศนา พระพทุ ธองค์โปรดชฎลิ 3 พนี่ ้องพร้อม โปรดยสะ และบิดามารดาของยสะ บริวารทต่ี าบลคยาให้บรรลธุ รรมเป็ นพระ อรหันต์ 1000 รูป

- มารดา และอดตี ภรรยาของพระยสะ ได้ประกาศตน เป็ นอุบาสิกาในพระพทุ ธศาสนา - เพื่อนของพระยสะท้งั 50 คน ได้ขอบวชตามพระยสะ - พระพทุ ธเจ้า ทรงแนะนาให้พระสาวกของพระองค์ ออกไปประกาศศาสนา ยงั ท่ตี ่าง ๆ - พระพุทธเจ้าได้เสดจ็ ไปยงั เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ เพื่อแสดงธรรมโปรดพระเจ้าพมิ พสิ าร

พระพทุ ธเจ้าทรงต้งั เป้าหมายในการประกาศ ศาสนา โดยเน้นทกี่ ล่มุ คนทม่ี ผี ู้เคารพนับถือ เช่น คณาจารย์ นักบวช เจ้าลทั ธิ พระมหากษตั ริย์แคว้น ใหญ่ ๆ ทาให้การประกาศศาสนาของพระองค์สาเร็จ และม่นั คงได้อย่างรวดเร็ว

พระพุทธองค์แสดงธรรมโปรดพระ พระเจ้าพมิ พสิ ารถวายสวนหลวงเวฬุ เจ้าพมิ พสิ ารและข้าราชบริพาร พระอุรุ วนั เป็ นสังฆารามแห่งแรกแด่คณะสงฆ์ เวลกสั สปเถระแสดงฤทธ์ิและประกาศ ความเป็ นพระสาวกของพระพุทธองค์



- พระพทุ ธองค์เสดจ็ ไปยงั อรุ ุเวลาเสนานิคม มีพระ สาวกเพมิ่ อกี 30 องค์ คือ ภัทรวคั คยี ์ เพราะเล่ือมใสศรัทธา ในคาสั่งสอนของพระพทุ ธองค์ รวมท้งั ชฏิล 3 พน่ี ้องและ บริวารอกี กว่า 1,000 คน - พระเจ้าพมิ พสิ ารได้ถวายอุทยานสวนป่ าไผ่ คือ พระ เวฬุวนั (วดั แห่งแรก) ให้เป็ นทพี่ านักของพระพทุ ธเจ้าและ พระสาวก

- พระสาวกได้ไปประกาศพระสาสนายงั ทตี่ ่าง ๆ แล้ว เดนิ ทางกลบั มาเฝ้าพระพุทธเจ้าทพี่ ระเวฬุวนั ในวนั ขนึ้ 15 คา่ เดือน 3 และทรงแสดงคาสอน “โอวาทปาฏโิ มกข์” - โอวาทปาฏิโกข์ อนั เป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนา คือ การไม่ทาความช่ัว การทาความดี และการทาจิตใจให้ บริสุทธ์ิผ่องใส

พระพทุ ธเจ้าทรงแสดง โอวาทปาฏิโมกข์ ท่ามกลาง พระสงฆ์จานวน 1,250 รูป

จาตุรงคสันนิบาต คือ 1. ตรงกบั วนั ขนึ้ 15 คา่ เดือน 3 (มาฆฤกษ์) 2. พระสาวกจานวน 1,250 รูป มาประชุมกนั โดยมไิ ด้ นัดหมาย 3. พระสาวกท้งั หมดเป็ นพระอรหันต์ 4. พระสาวกท้งั หมดล้วนแต่เป็ นผู้ทพี่ ระพุทธองค์ทรง บวชให้

วสิ าขามหาอุบาสิกาถวายผ้าอาบนา้ ฝน วสิ าขามหาอบุ าสิกาพร้อมหมู่เพื่อนหญงิ ได้ขอสมาทานถวายผ้าอาบนา้ ฝนแด่ พระพทุ ธเจ้า ซ่ึงสมัยน้ันยงั มิได้มีพทุ ธบัญญตั ิการถือครองผ้าเกนิ ๓ ผืน

พระพทุ ธเจ้าทรงประกาศพระพทุ ธศาสนา โดยมี พทุ ธบริษทั 4 (ภกิ ษุ ภกิ ษุณี อุบาสก และอบุ าสิกา) เป็ น กาลงั หลกั สาคญั ตลอด 45 ปี - พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ปรินิพพาน ณ ใต้ต้นสาละ เมือง กสุ ินารา แคว้นมัลละ ในวนั เพญ็ เดือน 6

พระพทุ ธองค์เสดจ็ ดบั ขนั ธปรินิพพาน พระบรมศาสดาได้ประทานปัจฉิมโอวาทว่า “ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย บดั นี้ เราขอเตือนพวกเธอว่า สังขารท้งั หลายมคี วามเสื่อมไปเป็ นธรรมดา พวกเธอจงยงั ความไม่ประมาทให้ถงึ พร้อมเถดิ ”

พทุ ธคยา สาลวโนทยาน เมืองกสุ ินารา สถานที่ตรัสรู้ สถานที่ปรินิพพาน สถูปธัมมกิ ลุมพนิ ีวนั สถานทแ่ี สดงปฐมเทศนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook