คำนำ หนังสือเล่มนี้จัดทําขึ้นเพื่อบอกข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์สงวนในประเทศไทย ตั้งแต่ 15 ตัว ไปจนถึง 20 ตัว ประกอบด้วย นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรดชวา กระซู่ กูปรีหรือโคไพร ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมัน เลียงผา กวางผา นกแต้วแล้วท้องดำ นกกระเรียนไทย แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ พะยูนหรือหมูน้ำ วาฬบรูด้า วาฬโอมูระ เต่ามะเฟือง ปลาฉลามวาฬและนกชนหิน ให้เพื่อน ๆ ได้รับรู้ เพื่อเป็นความรู้ในการศึกษาเพิ่มเติม ผู้จัดทำหวังอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ให้ผู้อ่านไม่มากก็น้อย ณิชารีย์ นิทรัพย์
สารบัญ 1 2 สัตว์ป่าสงวน 3 กระซุ่ 4 กวางผา 5 กรูปรี 6 เก้งหม้อ 7 ควายป่า 8 พะยูน 9 แมวลายหินอ่อน 10 แรดชวา 11 ละมั่ง 12 เลียงผา 13 วาฬบรูด้า 14 วาฬโอมูระ 15 สมเสร็จ 16 สมัน 17 นกกระเรียน 18 นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร 19 นกแต้วแล้วท้องดำ 20 นกชนหิน 21 เต่ามะเฟือง 22 ฉลามวาฬ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
สัตว์ป่าสงวน สั ต ว์ ป่ า ที่ ห า ย า ก สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หายาก หรือใกล้จะสูญพันธุ์หรือ ต่อมาในวันที่ 9 ตุลาคม 2558 ที่ประชุมสงวนคุ้มครองสัตว์ป่ามี มติเห็นชอบให้เพิ่มสัตว์น้ำ 4 ชนิด เป็นสัตว์สงวน และได้มีการ อาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว จึงจำเป็นต้องมีบทบัญญัติเข้มงวดกวดขัน เพื่อ พิจารณาแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติฉบับเดิมและตราพระราช บัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ขึ้นใหม่เมื่อวันที่ 29 ป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่สัตว์ป่าที่ยังมีชีวิตอยู่ หรือซากสัตว์ป่า ซึ่ง พฤษภาคม พ.ศ. 2562 รวมสัตว์ป่าสงวนมีทั้งสิ้น 19 ชนิด ได้แก่ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรดชวา กระซู่ กูปรีหรือโคไพร ควายป่า ละอง อาจจะตกไปอยู่ยังต่างประเทศด้วยการซื้อขาย ต่อมาเมื่อสถานการณ์ หรือละมั่ง สมัน เลียงผา กวางผา นกแต้วแล้วท้องดำ นกกระเรียน ไทย แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ พะยูนหรือหมูน้ำ วาฬบรูด้า ของสัตว์ป่าในประเทศไทย เปลี่ยนแปลงไป สัตว์ป่าหลายชนิดมีแนว วาฬโอมูระ เต่ามะเฟือง ปลาฉลามวาฬ โน้มถูกคุกคามเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากยิ่งขึ้น ประกอบกับเพื่อให้เกิด ช่วงปลายปี 2562 ที่ผ่านมาสังคมไทยผลักดันให้จัดนกชนหิน 1 ในนกเงือก จากนกเงือก 13 ชนิดของไทยให้เป็นสัตว์ป่าสงวนลำดับที่ ความสอดคล้องกับความร่วมมือระหว่างประเทศในการ ควบคุมดูแล 20 โดยมีมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร เป็นหัวขบวนหลักในการรณรงค์ผลัก ดันในเรื่องนี้ โดยมีการรณรงค์ผ่านเว็บไซต์ www.change.org พบว่า การค้าหรือการลักลอบค้าสัตว์ป่าในรูปแบบต่างๆ ตามอนุสัญญาว่า มีผู้ร่วมลงชื่อในการผลักดันให้นกชนหินเป็นสัตว์ป่าสงวนจำนวนมาก ต่อมาในวันที่ 8 มีนาคม 2564 คณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสัตว์ ด้วยการค้าระหว่างประเทศ ว่าด้วยชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าหรือ CITES ป่า ผ่านความเห็นชอบให้นกชนหิน (Helmeted Hornbill) เป็นสัตว์ ป่าสงวน ลำดับที่ 20 ของไทย ซึ่งประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองอนุสัญญาในปี พ.ศ.๒๕๑๘ และได้ ให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๖ นับเป็นสมาชิกลำดับ ที่ ๘๐ จึงได้มีการพิจารณาแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติฉบับเดิม และ ตราพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.๒๕๓๕ ขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๕ สัตว์ป่าสงวนตาม ในพระราชบัญญัติฉบับใหม่หมายถึงสัตว์ป่าที่หายากตามบัญชีท้ายพระ ราชบัญญัติฉบับนี้ และตามที่กำหนดโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ทำให้สามารถเปลี่ยนแปลงชนิดสัตว์ป่าสงวนได้โดยสะดวก โดยออก เป็นพระราชกฤษฎีกาแก้ไข หรือเพิ่มเติมเท่านั้น ไม่ต้องถึงกับต้องแก้ไข พระราชบัญญัติอย่างของเดิม 1
กระซู่ 2 ชื่อภาษาไทย : กระซู่, แรดขน, แรดสุมาตรา ชื่อสามัญ : Sumatran Rhinoceros ชื่อวิทยาศาสตร์: Dicerorhinus sumatrensis กระซู่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคี่จำพวกแรด กระซู่ เป็นแรดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก และเป็นแรดเพียงชนิดเดียวที่อยู่ใน สกุล Dicerorhinus มีลักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรด แอฟริกา โดยนอจะไม่ตั้งยาวขึ้นมาเหมือนแรดชวา นอหน้าใหญ่กว่า นอหลัง โดยทั่วไปยาว 15-25 ซม. ลำตัวมีขนหยาบและยาวปกคลุม ลักษณะ กระซู่ที่โตเต็มที่มีความสูงจรดหัวไหล่ประมาณ 120–145 ซม. ลำตัวยาวประมาณ 250 ซม. มีน้ำหนัก 500–800 กก. กระซู่ เหมือนกับแรดในแอฟริกาที่มีสองนอ นอใหญ่อยู่บริเวณจมูก โดย ทั่วไปมีขนาด 15–25 ซม. นอด้านหลังมีขนาดเล็กกว่ามาก ปกติ แล้วจะยาวน้อยกว่า 10 ซม. และบ่อยครั้งที่เป็นแค่ปุ่มขึ้นมา นอมีสี เทาเข้มหรือสีดำ เพศผู้มีนอใหญ่กว่าเพศเมียหรือในเพศเมียบางตัว อาจไม่มีนอใน และไม่มีลักษณะแบ่งเพศที่เด่นชัดอื่นอีก กระซู่มีอายุ โดยประมาณ 30-45 ปีเมื่ออยู่ตามธรรมชาติ มีหนังพับย่นขนาดใหญ่ สองวงรอบที่ลำตัวบริเวณหลังขาหน้าและก่อนขาหลัง ที่คอมีรอยพับ ย่นเล็กน้อยรอบคอและรอบตา ริมฝีปากบนแหลมเป็นจะงอย หนัง หนา มีสีน้ำตาลอมเทา ริมฝีปากและผิวหนังใต้ท้องบริเวณขามีสีเนื้อ กระซู่มีขนยาวบริเวณรอบหูและปกคลุมบริเวณหลังไปถึงปลายหางซึ่ง มีผิวหนังบาง กระซู่เหมือนกับแรดทุกชนิด มีสายตาที่แย่ แต่ประสาท หูและประสาทรับกลิ่นดีมาก กระซู่เคลื่อนที่ได้เร็วและกระฉับกระเฉง สามารถไต่เขาสูงชันและว่ายน้ำเก่ง พฤติกรรม กระซู่เป็นสัตว์สันโดษ ยกเว้นช่วงเวลาจับคู่ผสมพันธุ์และเลี้ยงดูลูก อ่อน ตัวผู้จะมีอาณาเขตประมาณ 50 กม. ขณะที่ตัวเมียมีอาณาเขต ประมาณ 10-15 กม. อาณาเขตของตัวเมียจะแยกจากกัน ขณะที่ ตัวผู้บ่อยครั้งจะมีอาณาเขตเหลื่อมซ้อนกัน เมื่อต่อสู้หรือป้องกันตัว กระซู่จะไม่ใช้นอพุ่งชนเหมือนแรดชนิดอื่นๆ แต่จะใช้ริมฝีปากซึ่งเป็น รูปสามเหลี่ยมงับแทน การบอกอาณาเขตกระทำโดยการขูดผิวดินด้วย เท้า การงอไม้หนุ่มด้วยรูปแบบที่แตกต่าง และการถ่ายมูล ละออง เยี่ยว กระซู่ออกหาอาหารเมื่อรุ่งเช้าและหลังเวลาเย็นก่อนค่ำ ระหว่างวันกระซู่จะนอนเกลือกกลิ้งในปลักโคลนเพื่อผ่อนคลายและพัก ผ่อน การแช่ปลักโคลนนี้จะช่วยกระซู่รักษาระดับอุณหภูมิของร่างกาย และช่วยป้องกันผิวหนังของมันจากปรสิตภายนอกและแมลงอื่นๆ จาก กระซู่ตัวอย่างที่จับได้
กวางผา ลักษณะ กวางผามีรูปร่างคล้ายแพะหรือเลียงผาที่มีขนาดเล็ก มีเขาสั้น ทั้งตัวผู้ ชื่อภาษาไทย : กวางผา ชื่อภาษาอังกฤษ : Gorals และตัวเมีย เป็นกรวยปลายเรียวแหลมคล้ายกันทั้ง 2 ข้าง ไม่มีการแตก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Naemorhedus griseus กิ่งเขา ตัวเขาเจริญขึ้นตามอายุ และมีชุดเดียวตลอดชีวิต ไม่มีการผลัด เขาเหมือนกวาง กวางผาไม่มีเคราใต้คางเหมือนแพะรวมทั้งมีขนาดเล็ก กวางผาเป็นสัตว์ตระกูลแพะเช่นเดียวกับเลียงผา รูปร่างทั่วไป กว่าเลียงผาเกือบเท่าตัว ขนมีสีอ่อน ขนชั้นนอกเป็นเส้นยาวหยาบ มีขน คล้ายเลียงผา แต่กวางผามีขนาดเล็กกว่าราวครึ่งหนึ่ง มีคอเล็กกว่า ชั้นในเป็นเส้นละเอียดนุ่มระหว่างโคนเขาทั้ง 2 ข้าง ไปถึงหลังใบหูมี หางยาวกว่า และขาสั้นกว่า ต่อมหัวตาที่เป็นช่องเปิดระหว่างจมูก กระจุกขนเป็นยอดแหลมสีน้ำตาลเข้มชัดเจน ถัดต่อมาบริเวณหลังและ และตาของกวางผาเล็กมาก กระดูกจมูกของกวางผาเป็นคนละชิ้น สะโพกมีแผงขนยาวคล้ายอานม้าบาง ๆ สีเทา กลางหลังมีแถบขนสีดำ กับกระดูกหน้า ซึ่งต่างจากเลียงผา กวางผาในเมืองไทยมีความยาว พาดยาวตามแนวสันหลังไปจดโคนหาง หางสั้นเป็นพวงสีเข้มดำ โดย ลำตัว 80-120 เซนติเมตร หางยาว 7-20 เซนติเมตร หูยาว ทั่วไปแล้วสีขนของกวางผาตัวเมียจะอ่อนกว่าตัวผู้ เขาสั้นเล็กและมีรอย 10-14 เซนติเมตร ความสูงที่หัวไหล่ 50-70 เซนติเมตร หนัก หยักรอบโคนเขาไม่ลึกชัดเจนอย่างเขาของตัวผู้ ราว 22-32 กิโลกรัม พฤติกรรม กวางผาเป็นสัตว์ที่อาศัยและหากินบนที่ราบสูงที่เป็นภูเขาหรือหน้าผา ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 1,000–4,000 เมตร พบกระจาย พันธุ์ตั้งแต่เทือกเขาหิมาลัยจรดจนถึงเอเชียตะวันออก เป็นสัตว์ที่มีกีบ เท้าที่แข็งแรงรับน้ำหนักได้ จึงเหมาะกับการกระโดดไปมาและไต่ไปตาม หน้าผา เป็นสัตว์ที่มีการระแวดระวังภัยสูง ใช้ประสาทการมองเห็น มากกว่าการดมกลิ่น อีกทั้งยังเป็นสัตว์ที่ว่ายน้ำได้ และว่ายน้ำได้เก่ง 3
กรูปรี ชื่อภาษาไทย : กูปรี , โคไพร ชื่อสามัญ : Kouprey ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bos sauveli กูปรีเป็นสัตว์จำพวกกระทิงและวัวป่า เป็นสัตว์กีบคู่ ตัวโต โคน ขาใหญ่ ปลายหางเป็นพู่ขน เป็นสัตว์จำพวกวัว ความยาวหัว-ลำ ตัว 210-223 เซนติเมตร หนัก 681 ถึง 910 กิโลกรัม ลักษณะ ตัวผู้ มีขนสีดำ ขนาดความสูง 1.71-1.90 เมตร ขนาดลำตัว 2.10-2.22 เมตร น้ำหนักตัวประมาณ700-900 กิโลกรัม เขา ตัวผู้จะโค้งเป็นวงกว้าง แล้วตีวงโค้งไปข้างหน้า ปลายเขาแตก ออกเป็นพู่คล้ายเส้นไม้กวาดแข็ง ขาทั้ง 4 มีถุงเท้าสีขาวเช่นเดียว กับกระทิง (B. gaurus) ในตัวผู้ที่มีอายุมาก จะมีเหนียงใต้คอ ยาวห้อยลงมาจนเกือบจะถึงดิน เชื่อว่าใช้ในการระบายความร้อน ตัวเมีย มีขนสีเทา มีเขาตีวงแคบแล้วม้วนขึ้นด้านบน ไม่มีพู่ที่ ปลายเขา มีเขากลวงแบบ Horns ขนาดเท่ากัน โคนเขาใหญ่ ปลายเขาแหลม ไม่มีการแตกกิ่ง ยาวประมาณ 1 เมตร พฤติกรรม กูปรีหากินตอนกลางคืน คาดว่าเพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับ มนุษย์ เมื่อถึงรุ่งเช้าก็จะกลับเข้าป่าทึบไป นอนพักผ่อนตอนบ่ายโดย จะล้อมกันเป็นวงเล็ก ๆ และแน่นหนา ตกเย็นจึงออกมาที่ทุ่งหญ้า หากินอีกครั้ง หากเป็นในฤดูฝนกูปรีอาจเข้าป่าทึบน้อยลงเนื่องจาก เลี่ยงแมลงรบกวน อาศัยกันเป็นฝูง ฝูงหนึ่งประกอบด้วยตัวเมียและ เด็ก ส่วนตัวผู้จะแยกออกไปรวมจับกลุ่มเป็นฝูงชายล้วนต่างหาก ใน ฤดูแล้งจึงมาร่วมฝูงกับตัวเมีย ฝูงหนึ่งอาจมากถึง 20 ตัว กูปรีมีนิสัย ตื่นตัวไม่อยู่นิ่ง ชอบขุดดินและแทงตอไม้ ซึ่งเป็นเหตุที่ปลายเขาแตก เป็นพู่ เปรียบเทียบกับวัวแดงแล้ว กูปรีตื่นตัวมากกว่าและมีท่วงท่า การวิ่งสง่างามกว่า บางครั้งกูปรีก็หากินร่วมกับวัวแดงและควายป่า ชอบลงโป่งและตาน้ำ เดินหากินคืนหนึ่งอาจไกลถึง 15 กิโลเมตร สมาชิกในฝูงมีการแยกออกและกลับมารวมกันอยู่เสมอ 4
เก้งหม้อ ชื่อภาษาไทย : เก้งหม้อ,เก้งดำ,เก้งดง ชื่อภาษาอังกฤษ : Fea's muntjac ชื่อวิทยาศาสตร์ : Muntiacus feae ลักษณะ พฤติกรรม เก้งหม้อมีลักษณะทั่วไปคล้ายเก้งธรรมดาแต่สีเข้มกว่า หนัก เก้งหม้ออาศัยอยู่ในป่าที่มีความชื้นสูง เช่น บริเวณหุบเขาหรือ ประมาณ 18-21 กิโลกรัม ความยาวลำตัว 88 เซนติเมตร สีตามลำ ป่าดิบชื้นใกล้แหล่งน้ำ อดน้ำได้ไม่เก่งเท่าเก้งธรรมดา ออกหาอาหาร ตัวเป็นสีน้ำตาลเข้มอมเหลือง สันหลังเข้มกว่าที่อื่นๆ หน้าท้องสีขาว ตามลำพังในช่วงเย็นหรือพลบค่ำ แต่ในบางครั้งอาจพบอยู่เป็นคู่หรือ หางยาว 23 เซนติเมตร หางด้านบนสีดำ ใต้หางสีขาว ขาท่อนล่าง เป็นฝูงเล็กๆ ในฤดูผสมพันธุ์ จะผสมพันธุ์ในช่วงฤดูหนาว ตั้งท้องนาน จนถึงกีบสีดำ หน้าสีน้ำตาลเข้ม มีเส้นสีดำลากจากโคนเขามาจนถึงหัว 6 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าสงวนตามพระราช ตาดูเป็นรูปตัววี ใบหูไม่มีขน มีต่อมน้ำตาใหญ่ยาว ปลายด้านชี้ไปที่ลูก บัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ตามีขอบนูนสูง เก้งหม้อตัวผู้มีเขี้ยวยาวไว้ใช้ต่อสู้ เขี้ยวโค้งออกด้าน หน้าเช่นเดียวกับเก้งทั่วไป เก้งหม้อตัวผู้มีเขาสั้น เขาแต่ละข้างมีสอง กิ่ง กิ่งหน้าสั้นกว่ากิ่งหลัง โคนเขามีขนดำหนาคลุมรอบ ระหว่างโคน เขามีขนสีเหลืองฟูเป็นกระจุก จึงมีชื่ออีกชื่อว่า “กวางเขาจุก”เป็นเก้งที่ หายากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ครั้งหนึ่งเคยเชื่อว่าเหลือเพียงตัวเดียวใน โลก ที่สวนสัตว์ดุสิต แต่ปัจจุบัน ยังพอหาได้ตามป่าธรรมชาติและวัด ในพรมแดนไทยพม่า ที่พระสงฆ์เลี้ยงอยู่ 5
ควายป่า ชื่อภาษาไทย : ควายป่า ชื่อสามัญ : wild Water Baffalo ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bubalus arnee ควายป่าจัดเป็นสัตว์จำพวกกีบคู่ ( Even - toed Ungulate ) จำพวกเดียวกันกับวัวป่า เท้าทั้ง 4ข้าง มีนิ้วเท้าขนาดใหญ่ข้องละ 2 นิ้ว เล็บที่ปลายนิ้วพัฒนามาเป็นกีบนิ้วแข็ง ( hoff ) ลักษณะเป็นกีบ เท้าคู่ขนานกัน นิ้วที่ 2 และนิ้วที่ 5 ลดขนาดลงเหลือกีบกิ่งขนาด เล็ก ๆบริเวณข้อเท้าเหนือกีบนิ้ว ส่วนนิ้วโป้งหรือนิ้วที่ 1 หดหายไป จัดเป็นสัตว์กินพืชที่กินหญ้าเป็นอาหารหลัก มีการพัฒนาระบบย่อย อาหารแบบสัตว์เคี้ยวเอื้อง ฟันหน้าของกรามบนเปลี่ยนเป็นสันฟันคม สำหรับตัดฉีกพืชใบยาวจำพวกหญ้า กระเพาะอาหารมี 4 ตอนทำให้ สามารถสำรอกอาหารจะส่วนของกระเพาะพักขึ้นมาเคี้ยวให้ละเอียด ได้ใหม่ ช่วยในการย่อยอาหารจำพวกหญ้าที่เป็นเส้นใยที่ย่อยยาก ๆ ลักษณะ มีลักษณะคล้ายควายบ้าน (B. bubalis) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ ควายป่าแต่มีลำตัวขนาดลำตัวใหญ่กว่า ปกติควายป่าจะรักสงบ ถ้า ถูกล่าก็จะมีนิสัยว่องไวและดุร้ายกว่าควายบ้านมาก สีลำตัวโดยทั่วไป เป็นสีเทาหรือสีน้ำตาลดำ ขาทั้ง 4 สีขาวแก่หรือสีเทาคล้ายใส่ถุงเท้าสี ขาว ด้านล่างของลำตัวเป็นลายสีขาวรูปตัววี (V) ควายป่ามีเขาทั้ง 2 เพศ เขามีขนาดใหญ่กว่าควายบ้านมาก วงเขากางออกกว้างโค้งไป ทางด้านหลัง ด้านตัดขวางเป็นรูปสามเหลี่ยม ปลายเขาเรียวแหลม ตัวโตเต็มวัยมีความสูงที่ไหล่เกือบ 2 เมตร ความยาว พฤติกรรม ควายป่าชอบอยู่รวมกันเป็นหมู่ที่มีตัวเมียและตัวผู้เล็ก ๆ ส่วนตัวผู้ ที่มีขนาดใหญ่มักชอบแยกตัวอยู่ตามลำพังเป็นควายโทน ลักษณะรูป แบบสังคมคล้ายกับพวกวัวป่า แหล่งทีอยู่สำคัญได้แก่ ป่าทุ่งหรือป่า โปร่งตามที่ลุ่มต่ำที่มีหนองบึงสำหรับลงแช่ปลัก ปกติไม่ชอบอยู่ตาม ป่าเขาสูง ๆ ที่หาปลักโคนได้ยาก หรือตามป่าดิบรกทืบ เพาะมีเขา ยาวใหญ่เกะกะไม่สะดวกในการบุกรุก สายตาไม่ดี แต่จมูกและหูมี ความไวต่อประสาทสัมผัสดีมาก 6
พะยูน ลักษณะ พะยูนมีรูปร่างคล้ายแมวน้ำขนาดใหญ่ที่อ้วนกลมเทอะทะ ครีบมี ชื่อภาษาไทย : พะยูน ชื่อภาษาอังกฤษ : SEA COW ลักษะคล้ายใบพาย ซึ่งวิวัฒนาการมาจากขาหน้าใช้สำหรับพยุงตัวและขุด ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า : Dugong dugon หาอาหาร ไม่มีครีบหลัง ไม่มีใบหู ตามีขนาดเล็ก ริมฝีปากมีเส้นขนอยู่ โดยรอบ ตัวผู้บางตัวเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะมีฟันคู่หนึ่งงอกออกจากปากคล้าย พะยูนเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่อาศัยอยู่ในทะเล เชื่อว่าพะยูน งาช้าง ใช้สำหรับต่อสู้เพื่อแย่งคู่กับใช้ขุดหาอาหาร ในตัวเมียมีนมอยู่ 2 เคยอาศัยหากินอยู่บนบก และมีบรรพบุรุษที่ใกล้เคียงกับบรรพบุรุษ เต้า ขนาดเท่านิ้วก้อย ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร อยู่ถัดลงมาจากขา คู่ ของช้าง เมื่อราว 55 ล้านปีมาแล้วสายพันธุ์ของพะยูนได้มี หน้า สำหรับเลี้ยงลูกอ่อน มีลำตัวและหางคล้ายโลมา สีสันของลำตัว วิวัฒนาการลงไปอยู่ในน้ำและไม่กลับขึ้นมาอยู่บนบกอีกเลย เช่น ด้านหลังเป็นสีเทาดำ เดียวกับพวกโลมาและปลาวาฬ พฤติกรรม พะยูนมีหลายชื่อด้วยกัน คือ หมูน้ำ หมูดุด ดูหยง เงือก วัว พะยูนหายใจทางปอด จึงต้องหายใจบริเวณผิวน้ำ 1-2 นาที อายุ 9- ทะเล และดูกอง “พะยูน หรือปลาพะยูน” เป็นชื่อที่นิยมใช้ทั่วไปใน ประเทศไทย ส่วนชาวปักษ์ใต้นิยมเรียกพะยูนว่า “ดูหยง หรือ ตูห 10 ปี สามารถสืบพันธุ์ได้ เวลาท้อง 9-14 เดือน ปกติมีลูกได้ 1 ตัว ไม่ ยง” ซึ่งมาจากภาษามาเลเซียที่ใช้เรียกพะยูน ในภาษาเขียนบ้านเรา เกิน 2 ตัว แรกเกิดยาว 1 เมตร หนัก 15-20 กิโลกรัม ใช้เวลาตั้งท้อง ในบางแห่งอาจเพี้ยนไปเป็น “ดุยง ดุหยง ตุยง หรือตุหยง” และ ประมาณ 1 ปี กินนมและหญ้าทะเลประมาณ 2-3 สัปดาห์ หย่านม ชาวใต้ยังเรียกพะยูนอีกชื่อหนึ่งว่า “หมูน้ำ” ซึ่งอาจมาจากลักษณะ ประมาณ 8 เดือน อายุประมาณ 70 ปี โดยแม่พะยูนจะดูแลลูกไปจนโต ของเนื้อพะยูนที่มีสีสันและรสชาติคล้ายเนื้อหมู อีกนัยหนึ่งอาจมา ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ถึง 3 เมตร น้ำหนักเต็มที่ได้ถึง จากรูปร่างที่อ้วนพร้อมทั้งมีขนตามลำตัวและลักษณะการกินอาหาร 300 กิโลกรัม ที่คล้ายหมูก็ได้ 7
แมวลายหินอ่อน แมวลายหินอ่อน จัดอยู่ในจำพวกเสือเล็ก วงศ์ย่อย Felidae เนื่องจากกระดูกกล่องเสียงไม่มีเส้นเสียงจึงคำรามดังกังวานอย่าง ชื่อภาษาไทย : แมวลายหินอ่อน เสือโคร่งหรือเสือดาว เสือดำไม่ได้ ขนาดตัวโตกว่าแมวบ้านไม่มาก ชื่อภาษาอังกฤษ : Marbled cat นัก และมีลวดลายตามตัวดูคล้ายลายหินอ่อนขัด จึงมีชื่อว่า “แมว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pardofelis marmorata ลายหินอ่อน” ลักษณะ แมวลายหินอ่อนเป็นแมวขนาดเล็ก ขนาดใกล้เคียงกับแมวบ้าน ทั่วไป มีลวดลายและสีสันคล้ายกับเสือลายเมฆ ในภาษาจีนคำเรียก แมวลายหินอ่อนก็มีความหมายว่า เสือลายเมฆเล็ก มีแต้มใหญ่ ๆ ขอบสีดำแบบเดียวกับเสือลายเมฆ แต่แต้มแต่ละแต้มอาจมีขอบไม่ ครบวงหรือซ้อนเหลื่อมกัน มีสีสันหลายแบบ ตั้งแต่เหลืองซีดจนถึง น้ำตาลอมเทาหรือน้ำตาลอมแดง มีเส้นสีดำแคบ ๆ พาดผ่าน กระหม่อม คอ และหลัง ขนนุ่มแน่นและมีขนชั้นในที่พัฒนาดี ส่วนล่าง ของลำตัวมีสีเทาอ่อนหรือขาวและมีจุดสีดำ จุดสีดำใต้ลำตัวนี้มี มากกว่าและเล็กกว่าของเสือลายเมฆ หัวสั้นกลมกว่าแมวชนิดอื่น ๆ มีแถบสีดำข้างละ 3 แถบ หน้าผากกว้าง รูม่านตากว้าง สีน้ำตาล หูก ลมสั้นสีดำมีจุดสีขาวที่หลังหู ขาค่อนข้างสั้นและมีจุดดำอยู่มาก ฝ่าตีน กว้าง หางฟู ยาวประมาณ 48-55 ซม. ซึ่งยาวเท่ากับลำตัวรวมกับ หัวหรืออาจจะยาวกว่าเสียอีก มีจุดสีดำตลอดความยาวหาง ปลาย หางสีดำ พฤติกรรม ด้วยความที่เป็นสัตว์หายาก เราจึงรู้จักแมวลายหินอ่อนน้อยมาก ทั้งทางด้านอุปนิสัย อาหาร และชีววิทยา แต่เป็นที่เชื่อว่า แมวลาย หินอ่อนหากินกลางคืน อาศัยอยู่บนต้นไม้เป็นหลัก ปีนป่ายได้อย่าง คล่องแคล่ว จับกระรอก ค้างคาวผลไม้ หนู นก สัตว์เลื้อยคลาน กบ และแมลง ซึ่งสนับสนุนโดยโครงสร้างของตีน ซึ่งไม่มีลักษณะของการ ปรับตัวเพื่อหากินบนพื้นดินเลย ขาที่สั้น และหางที่ยาว มีอุ้งตีนที่อ่อน นุ่ม มีปลอกเล็บคู่ ในขณะที่นั่ง มันจะหดหัวเล็กน้อยและงอหลัง จาก รายงานการพบเห็นแมวลายหินอ่อนที่มีอยู่เพียงไม่กี่ครั้งในบูกิตซูฮาร์ โตในกาลิมันตันพบว่ามันออกหากินในช่วงเวลา 20-22 น. จากการ ผ่านกระเพาะแมวลายหินอ่อนตัวหนึ่งที่ถูกยิงในซาบาห์พบเศษของหนู ขนาดเล็ก และมีผู้เคยพบเห็นแมวลายหินอ่อนย่องจับนกบนต้นไม้ นอกจากนี้ยังพบว่ากระรอกก็ถูกจับเป็นอาหารเหมือนกัน แมวลายหิน อ่อนถูกจัดให้เป็นตัวแทนของมาร์เกย์ที่อยู่ในอเมริกากลางและใต้ 8
แรดชวา ชื่อภาษาไทย : แรดชวา, ระมาด, แรดซุนดา ชื่อสามัญ : Javan Rhinoceros ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhinoceros sondaicus แรดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในอันดับสัตว์กีบคี่ใน พฤติกรรม วงศ์แรด อยู่ในสกุลเดียวกันกับแรดอินเดีย เป็นหนึ่งในห้าชนิด แรดชวาเป็นสัตว์สันโดษปกติจะอยู่เพียงตัวเดียวลำพังยกเว้นจับ ของแรดที่ยังเหลืออยู่ ลำตัวยาว 3.1–3.2 ม.สูง 1.4–1.7 ม.มีขนาดใกล้เคียงกับแรดดำ เหนือจมูกมีนอสั้นๆ หนึ่งนอมี คู่ผสมพันธุ์และเลี้ยงดูลูกอ่อน บางครั้งจะมีการรวมฝูงเล็ก ๆ ที่โป่ง ขนาดเล็กกว่าแรดทุกชนิด จึงได้อีกชื่อว่า แรดนอเดียว หรือปลักโคลน การลงแช่ปลักเป็นพฤติกรรมที่พบได้ในแรดทุกชนิด ลักษณะ เพื่อช่วยในการควบคุมอุณหภูมิร่างกายและช่วยป้องกันผิวหนังจาก ปรสิตภายนอกและแมลงอื่น ๆ โดยปกติแรดชวาจะไม่ขุดปลักเองแต่ แรดชวามีขนาดเล็กกว่าแรดอินเดียซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้องกับมัน มันมี จะใช้ปลักของสัตว์อื่นหรือปลักที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและให้นอของ ขนาดใกล้เคียงกับแรดดำ ลำตัวยาว (รวมหัว) 3.1–3.2 ม. สูง มันขุดเพื่อขยายปลักเท่านั้น ดินโป่งเป็นแหล่งสารอาหารที่สำคัญของ 1.4–1.7 ม. เมื่อโตเต็มที่หนัก 900-2,300 กก. เนื่องจากแรดชวา แรดชวาที่ขาดไม่ได้ แรดชวาเพศผู้จะมีอาณาเขตขนาดใหญ่ประมาณ อยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์จนถึงขั้นวิกฤติการวัดที่แม่นยำจึงไม่เคย 12–20 กม.² ขณะเพศเมียมีอาณาเขตเพียง 3–14 กม.² ดังนั้น กระทำและไม่มีความสำคัญ ไม่มีความแตกต่างระหว่างเพศเด่นชัด แต่ อาณาเขตของเพศผู้จึงมักเหลื่อมทับกับแรดชวาตัวอื่นมากกว่าในเพศ เพศเมียอาจใหญ่กว่าเพศผู้เล็กน้อย แรดชวาไม่มีขน มีหนังสีเทาหรือ เมีย การต่อสู้เพื่อชิงอาณาเขตนั้นยังไม่เป็นที่ทราบ แรดชวาเพศผู้จะ น้ำตาลเทา มีรอยพับที่ไหล่ หลังขาหน้า และสะโพก ทำให้ดูคล้ายกับ ทำเครื่องหมายบอกอาณาเขตด้วยกองมูลและละอองเยี่ยว การขูดพื้น ว่ามันสวมเสื้อเกราะอยู่ รอยพับที่คอของแรดชวาเล็กกว่าของแรด ดินด้วยเท้าและการบิดงอไม้หนุ่มดูเหมือนใช้ในการสื่อสาร แรดชวาไม่ อินเดีย แต่จะมีรูปร่างคล้ายอานม้าปกคลุมไปที่ไหล่ ง่ามก้นไม่เป็นร่อง เปล่งเสียงร้องมากเท่ากับกระซู่ 9
ละมั่ง ชื่อภาษาไทย : ละมั่ง , ละอง ชื่อภาษาอังกฤษ : Eld's deer, Thamin ชื่อวิทยาศาสตร์ : Panolia eldii เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง เป็นกวาง ขนาดกลาง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดง แต่สีขนจะอ่อนลงเมื่อเข้าสู่ฤดู ร้อน ขนหยาบและยาว ในฤดูหนาวขนจะยาวมาก แต่จะร่วงหล่นจนดู สั้นลงมากในช่วงฤดูร้อน ในตัวผู้จะเรียกว่า ละอง ตัวเมียซึ่งไม่มีเขาจะเรียกว่า ละมั่ง แต่จะ นิยมเรียกคู่กัน สันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคำว่า \"รมัง\" ละองตัวที่ยังโตไม่เต็มวัยจะมีขนแผงคอที่ยาว ลูกแรกเกิดจะมีจุดสี ขาวกระจายอยู่รอบตัว และจุดนี้จะจางหายเมื่ออายุมากขึ้น ขอบตา และริมฝีปากล่างมีสีขาว มีความยาวลำตัวและหัว 150–170 เซนติเมตร ความยาวหาง 220–250 เซนติเมตร น้ำหนัก 95–150 กิโลกรัม ลักษณะ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง เป็นกวาง ขนาดกลาง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดง แต่สีขนจะอ่อนลงเมื่อเข้าสู่ฤดู ร้อน ขนหยาบและยาว ในฤดูหนาวขนจะยาวมาก แต่จะร่วงหล่นจนดู สั้นลงมากในช่วงฤดูร้อน ในตัวผู้จะเรียกว่า ละอง ตัวเมียซึ่งไม่มีเขา จะเรียกว่า ละมั่ง แต่จะนิยมเรียกคู่กัน สันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจาก ภาษาเขมรคำว่า \"ลำเมียง\" ละองตัวที่ยังโตไม่เต็มวัยจะมีขนแผงคอที่ ยาว ลูกแรกเกิดจะมีจุดสีขาวกระจายอยู่รอบตัว และจุดนี้จะจางหาย เมื่ออายุมากขึ้น ขอบตาและริมฝีปากล่างมีสีขาว มีความยาวลำตัว และหัว 150–170 เซนติเมตร ความยาวหาง 220–250 เซนติเมตร น้ำหนัก 95–150 กิโลกรัม พฤติกรรม อาศัยและหากินในทุ่งหญ้าโปร่ง ไม่สามารถอยู่ในป่ารกชัฏได้ เนื่องจากเขาจะไปติดกับกิ่งไม้เหมือน สมัน ( Rucervus schomburgki ) อาหารหลักได้แก่ หญ้า ยอดไม้ และ ผลไม้ ป่า ต่าง ๆ เป็นสัตว์ที่ชอบรวมฝูง ในอดีตอาจพบได้มากถึง 50 ตัว บาง ครั้งอาจเข้าไปหากินและรวมฝูงกับสัตว์ที่ใหญ่และแข็งแรงกว่า 10
เลียงผา พฤติกรรม เลียงผามักอาศัยอยู่ตัวเดียวหรือบางครั้งเป็นฝูงเล็ก ปีนป่ายและ ชื่อภาษาไทย : เลียงผา, เยียงผา, โครำ ชื่อภาษาอังกฤษ : Serows กระโดดไปตามหน้าผาชันได้อย่างคล่องแคล่ว และปีนต้นไม้ก็ได้ นอกจาก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Capricornis นี้ยังว่ายน้ำได้เก่ง จึงพบได้ตามเกาะด้วย ออกหากินเฉพาะตอนเย็นและ ตอนเช้า เลียงผามีนิสัยหวงถิ่น อาณาเขตของเลียงผากว้างเพียงไม่กี่ ลักษณะ ตารางกิโลเมตร มักหากินอยู่ไม่ไกลจากแหล่งพักผ่อน กินหญ้า และบาง สัตว์กีบรูปร่างคล้ายแพะ ลำตัวสั้น ขายาว ขนดำยาว ขนชั้น ครั้งก็กินยอดอ่อนและใบไม้ มีจุดถ่ายมูลประจำ ตอนกลางวันเลียงผาจะ หลบอยู่ในพุ่มหรือในถ้ำตื้นใต้ง่อนหิน นอกชี้ฟู ขนบริเวณตั้งแต่โคนเขาจนถึงหัวไหล่ยาวและฟู อาจมีสี แตกต่างกันไปตั้งแต่ขาวถึงดำ หัวโต หูใหญ่ตั้ง มีเขาเป็นรูปกรวย เลียงผามีจมูก หู และตาไวมาก ศัตรูในธรรมชาติคือหมาใน เมื่อถูก เรียว โค้งไปทางข้างหลังเล็กน้อย ตัวผู้เขายาวกว่าตัวเมียมาก ตัวที่ ต้อนจนมุม จะต่อสู้ด้วยเขาอย่างเอาเป็นเอาตาย เลียงผาผสมพันธุ์ในช่วง เขายาวที่สุดเคยวัดได้ถึง 28 เซนติเมตร โคนเขาเป็นลอนย่น เดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน แม่เลียงผาตั้งท้องนาน 7 เดือน ออกลูกที กะโหลกด้านหน้าแบน มีต่อมน้ำตาอยู่ใต้ตา ต่อมนี้มีหน้าที่สร้าง ละตัว ลูกเลียงผาอยู่กับแม่เป็นเวลา 1 ปี ตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่อ สารกลิ่นฉุนเพื่อใช้ในการทำเครื่องหมายประกาศอาณาเขต หางสั้น อายุ 30 เดือน ตัวผู้เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 30-36 เดือน มีอายุขัย และเป็นพู่ ความยาวลำตัว 1.5 เมตร หางยาว 15 เซนติเมตร 10 ปี ความสูงที่หัวไหล่ 1 เมตร หนักประมาณ 85-140 กิโลกรัม รอยเท้าของเลียงผามีขนาดใกล้เคียงคล้ายรอยเท้าเก้ง แต่กีบ เลียงผาค่อนข้างขนานกัน ไม่งุ้มเข้าหากันอย่างสัตว์กีบชนิดอื่น และ ปลายกีบของเลียงผาค่อนข้างทู่กว่าของเก้ง 11
วาฬบรูด้า ชื่อภาษาไทย : วาฬบรูด้า, วาฬแกลบ ชื่อสามัญ : Bryde's whale, Eden's whale ชื่อวิทยาศาสตร์ : Balaenoptera edeni วาฬ ขนาดใหญ่ เป็น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จัดอยู่ในวงศ์ Balaenopteridae โดยชื่อ วาฬบรูด้า เป็นการตั้งเพื่อให้เป็น เกียรติ แก่กงสุลชาว นอร์เวย์ ใน ประเทศแอฟริกาใต้ ที่ชื่อ โย ฮัน บรูด้า ลักษณะ ลำตัวมีสีเทาดำ รูปร่างค่อนข้างเพรียว มีลายแต้มสีขาวประปราย ตรงใต้คางและใต้คอ บางตัวพบมีแถบสีจางบนแผ่นหลัง บางตัวก็มีจุด สีจางทั้งตัวคล้ายสีเทาลายกระสีขาว ส่วนหัวมีแนวสันนูน 3 สัน ใต้ ปากล่างมีร่องตามยาวประมาณ 40-70 ร่อง พาดจากใต้ปากจนถึง ตำแหน่งสะดือ แผ่นกรองที่ห้อยลงมาจากปากบนมีจำนวน 250-370 แผ่น แผ่นที่ยาวที่สุดยาว 60 เซนติเมตร ซี่บนแผ่นกรองค่อนข้าง หยาบ ครีบเล็กและปลายแหลม ครีบหลังมีรูปโค้งอยู่ค่อนไปทางด้าน ปลายหาง แพนหางวางตัวตามแนวราบ พฤติกรรม วาฬบรูด้าพบแพร่กระจายอยู่ทั่วโลก โดยเฉพาะใน เขตร้อน และ เขตกึ่งร้อน ในเขตละติจูด 40 องศาเหนือถึงใต้ ไม่พบการอพยพย้าย ถิ่นฐานเป็นระยะทางไกล โดยมากมักพบครั้งละ 1-2 ตัว วัยเจริญ พันธุ์ ในช่วงอายุ 9-13 ปี วาฬบรูด้าจะให้ลูกครั้งละ 1 ตัวทุก 2 ปี ตั้งท้องนาน 10-12 เดือน ระยะให้นมน้อยกว่า 12 เดือน ลูกวาฬ แรกเกิดจะมีความยาวประมาณ 3-4 เมตร มีอายุยืนได้ถึง 50 ปี เวลาจมตัวดำน้ำจะโผล่หัวเล็กน้อยแล้วทิ้งตัวจมหายไปไม่โผล่ส่วนหาง ขึ้นมาเหนือน้ำ 12
วาฬโอมูระ ชื่อภาษาไทย : วาฬโอมูระ ชื่อสามัญ : Omura's whale ชื่อวิทยาศาสตร์ : Balaenoptera omurai วาฬสายพันธุ์หายากที่มีความคล้ายคลึงกับวาฬบรูด้า ถูกค้น พฤติกรรม พบครั้งแรกจากซากของมันในปี ค.ศ. 2003 และเมื่อพิจารณา ไม่ค่อยมีใครรู้ถึงพฤติกรรมและการกินอาหารของวาฬโอมูระ การ จากซากแล้วจึงพบว่ามีความต่างจากวาฬบรูด้า โดยวาฬโอมูระ นั้นมีขนาดเล็กกว่า รอยจีบใต้ลำคอมีจำนวนมากกว่า คือ 80 – เป่าของพวกเขาอยู่ในระดับต่ำและกระจาย หลังจากขึ้นผิวน้ำมักจะ 90 รอยจีบ มีครีบหลังที่สูงกว่าและมีความโค้งน้อยกว่าของวาฬ มองไม่เห็นครีบหลังจนกว่าหัวและตัวป้องกันน้ำจะหายไปและจะไม่ บรูด้า และวาฬโอมูระมีสันบริเวณตรงกลางของส่วนหัว 1 สัน หายไปเมื่อดำน้ำ พวกเขาได้เห็นการกินอาหารแบบแทงการถ่าย อุจจาระและการละเมิดทั้งอุทยานแห่งชาติโคโมโดและมาดากัสการ์ทาง ลักษณะ ตะวันตกเฉียงเหนือ พวกมันยังเคยเห็นพวกมันกลิ้งไปมาบนผิวน้ำใน วาฬโอมูระ Omura’s whaleจัดอยู่ในกลุ่ม สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม การผสมพันธุ์ที่เห็นได้ชัด (ที่สุดท้ายอนุญาตให้ระบุตัวผู้ได้) จาก บริเวณเดิม (Mammals) ที่อาศัยในทะเล ตัวเต็มวัยมีขนาด 10-11.5 เมตร น้ำ หนักไม่เกิน 20 ตัน เป็นวาฬสายพันธุ์หายากที่มีความคล้ายคลึงกับ วาฬบรูด้า ถูกค้นพบครั้งแรกจากซาก ในปี ค.ศ. 2003 และเมื่อ พิจารณาจากซากแล้วจึงพบว่ามีความต่างจากวาฬบรูด้า โดยวาฬโอมู ระนั้นมีขนาดเล็กกว่า รอยจีบใต้ลำคอมีจำนวนมากกว่า คือ 80 – 90 รอยจีบ มีครีบหลังที่สูงกว่าและมีความโค้งน้อยกว่าของวาฬบรูด้า และวาฬโอมูระมีสันบริเวณตรงกลางของส่วนหัว 1 สัน โดยวาฬบรูด้า มี 3 สัน 13
สมเสร็จพอร์ทัล เทค คอร์ป ชื่อภาษาไทย : สมเสร็จ,ผสมเสร็จ ชื่อภาษาอังกฤษ : Tapir ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tapirus ลักษณะ สมเสร็จมลายูเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคี่ นับเป็น สมเสร็จชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเป็นชนิดเดียวที่พบในทวีปเอเชีย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tapirus indicus เป็นสัตว์มีหน้าตาประหลาด คือ มีลักษณะของสัตว์หลายชนิดผสมอยู่ในตัวเดียวกัน มีจมูกที่ยื่น ยาวออกมาคล้ายงวงของช้าง รูปร่างหน้าตาคล้ายหมูที่มีขายาว หาง สั้นคล้ายหมีและมีกีบเท้าคล้ายแรด ลักษณะเด่น คือ บริเวณส่วนหัว ไหล่และขาทั้งสี่ข้างมีสีดำ ส่วนกลางลำตัวเป็นสีขาว ใบหูกลม ขน ปลายหูและริมฝีปากมีสีขาว มีแผ่นหนังหนาบริเวณสันก้านคอเพื่อ ป้องกันการโจมตีของเสือโคร่ง ที่จะตะปบกัดบริเวณก้านคอ ลูกที่เกิด ใหม่จะมีลวดลายคล้ายแตงไทยและขนยาว และลายนี้จะค่อย ๆ จาง ลงเมื่ออายุได้ 6-8 เดือน ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย โตเต็มที่ ความยาวลำตัวและหัว 220-240 เซนติเมตร ความยาวหาง 5-10 เซนติเมตร ความสูงจากพื้นดินถึงหัวไหล่ 100 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 250-300 กิโลกรัม พฤติกรรม อาศัยและหากินอยู่ตามลำพัง มักอาศัยในป่าที่มีความชื้นสูงและ อยู่ไม่ไกลจากแหล่งน้ำ เนื่องจากชอบแช่น้ำ เมื่อหลบภัยก็จะหลบไป หนีแช่ในน้ำจนกว่าแน่ใจว่าปลอดภัยแล้วจึงขึ้นมา รวมทั้งผสมพันธุ์ใน น้ำด้วย มีความสามารถว่ายน้ำได้เก่ง อาหารของสมเสร็จได้แก่ ยอด ไม้อ่อน, ยอดหวาย, หน่อไม้ นอกจากนี้ยังกินดินโป่งเพื่อเพิ่มแร่ธาตุ ให้แก่ร่างกาย ออกหากินในเวลากลางคืน มีนิสัยชอบถ่ายมูลซ้ำในที่ เดิมจนเป็นกองใหญ่ มีสายตาไม่ดีนัก แต่มีระบบประสาทดมกลิ่นและ ฟังเสียงที่ดีมาก มักใช้จมูกที่ยาวเหมือนงวงช้างช่วยในการดมกลิ่นหา อาหาร และใช้คอที่หนาดันตัวเองเข้าพุ่มไม้ มีการเคลื่อนไหวตัวที่ เงียบมาก 14
สมัน ชื่อภาษาไทย : สมัน,เนื้อสมัน,กวางเขาสุ่ม พฤติกรรม ชื่อภาษาอังกฤษ : Schomburgk's deer สมันอยู่กันเป็นฝูงเล็ก ประกอบด้วยตัวผู้เต็มวัยหนึ่งตัว ที่เหลือคือ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rucervus schomburgki เหล่าตัวเมียและลูกกวาง ตอนกลางวันสมันมักหลับพักผ่อนอยู่ในร่มไม้ ลักษณะ หรือดงหญ้าสูง ออกหากินเวลาเย็นจนถึงรุ่งเช้า อาหารหลักคือหญ้า สมันเป็นกวางขนาดกลาง มีเขาสวยงามมากจนได้ชื่อว่าเป็นก ชอบอยู่ในป่าโปร่งหรือทุ่งหญ้าน้ำแฉะ ไม่ชอบป่าทึบ เมื่อฤดูน้ำหลาก สมันจึงต้องหนีไปอยู่บนเนินที่น้ำท่วมไม่ถึงซึ่งกลายเป็นเกาะกลางทุ่ง ใน วางที่สวยงามที่สุดชนิดหนึ่งของโลก น้ำหนัก 100-120 กิโลกรัมมี ช่วงนี้จึงตกเป็นเป้าของพรานได้ง่าย ความยาวลำตัว 180 เซนติเมตร ความสูงหัวไหล่ 104 เซนติเมตร หางยาว 10 เซนติเมตร ขนหยาบสีน้ำตาลเข้ม ด้าน ล่างลำตัวและบริเวณแก้มจางกว่า บริเวณจมูกสีเข้มหรือสีดำ สี บริเวณขาและหน้าผากค่อนข้างอมแดง ใต้หางสีขาว ขนแผงคอยาว ประมาณ 5 เซนติเมตร เขาสมันตีวงกว้าง โค้ง และแตกกิ่งมาก ดู เหมือนสุ่มหงาย จึงมีชื่ออีกชื่อว่า \"กวางเขาสุ่ม\" กิ่งรับหมา (brow tine) ยาวและชี้มาด้านหน้าเป็นมุม 60 องศากับใบหน้า กิ่งอื่นยาว กิ่งละประมาณ 30 เซนติเมตร ลำเขา (beam) ตั้งฉากกับกิ่งรับ หมา ความยาวประมาณ 12เซนติเมตร การแตกกิ่งมักจะแตกออก เป็นสองกิ่งเสมอ โดยเฉลี่ยเขาแต่ละข้างมีจำนวนกิ่งทั้งสิ้น 8-9 กิ่ง ความยาวเฉลี่ยของเขา 65 เซนติเมตร 15
นกกระเรียน เป็นนกขนาดใหญ่ที่ไม่ใช่นกอพยพ พบในบางพื้นที่ของอนุทวีป อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศออสเตรเลีย เป็นนก ชื่อภาษาไทย : นกกระเรียนไทย บินได้ที่สูงที่สุดในโลก เมื่อยืนจะสูงถึง 1.8 เมตร สังเกตเห็นได้ง่าย ชื่อภาษาอังกฤษ : sarus crane ในพื้นที่ชุ่มน้ำเปิดโล่ง นกกระเรียนไทยแตกต่างจากนกกระเรียนอื่น ชื่อวิทยาศาสตร์ : Grus Antigone ในพื้นที่เพราะมีสีเทาทั้งตัวและมีสีแดงที่หัวและบริเวณคอด้านบน หากินในที่ลุ่มมีน้ำขังบริเวณน้ำตื้น กินราก หัว แมลง สัตว์น้ำ และ สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร นกกระเรียนไทยเหมือน กับนกกระเรียนอื่นที่มักมีคู่ตัวเดียวตลอดชีวิต นกกระเรียนจะ ปกป้องอาณาเขตและเกี้ยวพาราสีโดยการกางปีก ส่งเสียงร้อง กระโดดซึ่งดูคล้ายกับการเต้นรำ ในประเทศอินเดียนกกระเรียนเป็น สัญลักษณ์ของความซื่อสัตย์ในชีวิตแต่งงาน เชื่อกันว่าเมื่อคู่ตาย นก อีกตัวจะเศร้าโศกจนตรอมใจตายตาม ลักษณะ นกกระเรียนไทยเป็นนกขนาดใหญ่ มีลำตัวและปีกสีเทา คอตอน บนและหัวเป็นหนังเปลือยสีแดงไม่มีขน ตรงกระหม่อมเป็นสีเทาหรือ เขียว คอยาวเวลาบินคอจะเหยียดตรงไม่เหมือนกับนกกระสาซึ่งจะงอ พับไปด้านหลัง ขนปลายปีกและขนคลุมขนปลายปีกสีดำ ขนคลุมขน ปีกด้านล่างสีเทา ขนโคนปีกสีขาว ขายาวเป็นสีชมพู มีแผ่นขนหูสีเทา ม่านตาสีส้มแดง ปากแหลมสีดำแกมเทา นักวัยอ่อนมีปากสีค่อนข้าง เหลืองที่ฐาน หัวสีน้ำตาลเทาหรือสีเนื้อปกคลุมด้วยขนนก หนัง เปลือยสีแดงบริเวณหัวจะแดงสดใสในช่วงฤดูผสมพันธุ์ หนังบริเวณนี้ จะหยาบเป็นตะปุ่มตะป่ำ มีขนสีดำตรงข้างแก้มและท้ายทอยบริเวณ แคบ ๆ ทั้งสองเพศมีลักษณะและสีคล้ายกัน เพศผู้ใหญ่กว่าเพศเมีย เล็กน้อย ไม่มีความแตกต่างทางเพศอื่นที่ชัดเจนอีก นกกระเรียนไทย เพศผู้ในอินเดียมีขนาดสูงที่สุดคือประมาณ 200 เซนติเมตร ช่วงปีก ยาว 250 เซนติเมตร ทำให้นกกระเรียนไทยเป็นนกที่บินได้ที่สูงที่สุด ในโลก ในชนิดย่อย antigone มีน้ำหนัก 6.8-7.8 กิโลกรัม ขณะที่ sharpii มีน้ำหนักประมาณ 8.4 กิโลกรัม โดยทั่วไปแล้วจะมีน้ำหนัก 5-12 กิโลกรัม สูง 115-167 เซนติเมตร ช่วงปีกยาว 220-280 เซนติเมตร[6] นกจากประเทศออสเตรเลียจะมีขนาดเล็กกว่านกจาก เขตทางเหนือ พฤติกรรม นกกระเรียนไทยหากินในน้ำตื้น (ปกติน้ำลึกน้อยกว่า 30 เซนติเมตร) หรือในทุ่งหญ้า บ่อยครั้งพบนกกระเรียนแหย่ปากหากิน ในปลักโคลน มันเป็นสัตว์กินได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น แมลง (โดยเฉพาะ ตั๊กแตน) พืชน้ำ ปลา (อาจแค่เฉพาะในกรงเลี้ยง)กบ สัตว์น้ำที่มี เปลือกแข็ง และเมล็ดพืช บางครั้งก็เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังขนาด ใหญ่ เช่น งูน้ำ 16
นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร ชื่อภาษาไทย : นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร ชื่ออังกฤษ : White-eyed River-Martin ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pseudochelidon Sirintarae นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรเป็นนกจับคอนหนึ่งในสองชนิดของสกุล พฤติกรรม นกนางแอ่นแม่น้ำในวงศ์นกนางแอ่น พบบริเวณบึงบอระเพ็ดใน แหล่งผสมพันธุ์วางไข่ของนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรนั้นยังไม่มีการค้น ช่วงฤดูหนาวเพียงแห่งเดียวในโลก แต่อาจสูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 พบ จึงไม่ทราบในชีววิทยาการขยายพันธุ์ของนกเลย แต่คาดกันว่ามัน น่าจะคล้ายกับนกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกาโดยทำรังตามโพรงบริเวณ ลักษณะ ตลิ่งทรายริมแม่น้ำวางไข่ชุดละ 2-3 ฟอง อาจเป็นในเดือนเมษายน- นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรเป็นนกนางแอ่นขนาดกลาง มีความยาวจาก พฤษภาคมก่อนฝนจากมรสุมจะทำให้ระดับน้ำเพิ่มขึ้น แต่ความแตก ต่างทางกายวิภาคของรูปร่างเท้าและขาทำให้รู้ว่ามันไม่สามารถขุด ปากจดหางประมาณ 12 -13 ซม. ความยาวเฉพาะหาง มากกว่า 9 โพรงได้ ในฤดูหนาวพบว่ามันเกาะนอนอยู่ในฝูงนกนางแอ่นชนิดอื่นๆที่ ซม. ลำตัวสีดำสนิท มีเหลือบสีน้ำเงิน-เขียวเข้มบางส่วน บริเวณ เกาะอยู่ตามใบอ้อและใบสนุ่น บางครั้งก็พบอยู่ในกลุ่มนกกระจาบและ ตะโพกสีขาวแยกบริเวณหลังสีดำเหลือบสีน้ำเงิน-เขียวเข้มและตอนบน นกจาบปีกอ่อน ของหางสีเดียวกันออกจากกัน หัวสีเข้มกว่าหลัง บริเวณคางมีกระจุก ขนสีดำคล้ายกำมะหยี่ไปถึงหลังส่วนบน ปีกสีดำ หางสีดำเหลือบเขียว ขนหางมนกลมแต่ขนคู่กลางมีแกนยื่นออกมาเป็นเส้นเรียวยาว ประมาณ 10 ซม.ปลายแผ่เล็กน้อย มองเห็นได้ชัดเจน ชาวบ้านใน บริเวณที่ค้นพบเรียกนกชนิดนี้ว่า “นกตาพอง” 17
นกแต้วแล้วท้องดำพอร์ทัล เทค คอร์ป ชืชื่อภาษาไทย : นกแต้วแร้วท้องดำ ชื่อภาษาอังกฤษ : Gurney's Pitta ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hydrornis gurneyi ลักษณะ นกแต้วแล้วท้องดำ เป็นหนึ่งในนกแต้วแล้ว12ชนิดที่พบใน ประเทศไทย รูปร่างอ้วนป้อม คอสั้น หัวโต หางสั้น ลำตัวยาว 22 เซนติเมตร ตัวผู้หัวสีดำ กระหม่อมและท้ายทอยสีน้ำเงินเหลือบฟ้า หางสีน้ำเงินอมเขียว ท้องสีเหลืองสดมีริ้วสีดำบาง ๆ พาดสลับตลอด ช่วงท้อง ใต้ท้องแต้มสีดำสมชื่อ ตัวเมียกระหม่อมสีเหลืองอ่อน มีแถบ ดำผ่านใต้ตาลงไปถึงแก้ม ท้องสีขาว มีแถบสีน้ำตาลขวางจากอกลงไป ถึงก้น พฤติกรรม นกแต้วแล้วท้องดำอาศัยอยู่ในป่าดิบที่ราบต่ำ ซึ่งมีระดับความสูง ไม่เกิน 200 เมตรจากระดับน้ำทะเล มักพบตามที่ราบ ใกล้ร่องน้ำ หรือลำธารที่ชื้นแฉะ ไม่ชอบอยู่บริเวณที่มีไม้พื้นล่างขึ้นรกทึบ เขต กระจายพันธุ์อยู่ในทางใต้ของพม่าที่ติดต่อกับประเทศไทยเท่านั้น ใน ประเทศไทยพบเพียงแห่งเดียวที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประ-บาง คราม (เขานอจู้จี้) จังหวัดกระบี่เพียงแห่งเดียว นกแต้วแล้วหากินด้วยการกระโดดหาแมลงบนพื้นดินกินหรืออาจ ขุดไส้เดือนขึ้นมากิน บางครั้งอาจจับกบ และสัตว์เลื้อยคลานขนาด เล็กด้วย โดยเฉพาะในช่วงมีลูกอ่อน นกตัวผู้จะร้องหาคู่ด้วยเสียง 2 พยางค์ เร็ว ๆ ว่า “ท-รับ” แต่ถ้า ตกใจนกร้องเสียง “แต้ว แต้ว” เว้นช่วงแต่ละพยางค์ประมาณ 7-8 วินาที และอาจร้องนานเป็นชั่วโมง ส่วนเสียงที่ใช้ในการสื่อสารกัน ระยะใกล้จะใช้เสียงนุ่มดัง \"ฮุ ฮุ\" ฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ออกไข่คราวละ 3-4 ฟอง 18
นกชนหิน ชื่อภาษาไทย : นกชนหิน พฤติกรรม ชื่อภาษาอังกฤษ : Helmeted hornbill ปกติจะหากินในระดับยอดไม้ กินผลไม้เป็นส่วนใหญ่ เช่น ลูกไทร บาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhinoplax vigil ครั้งพบว่ากินสัตว์อื่น ๆ เช่น กิ้งก่า กระรอก และนกอีกด้วย มักจะอยู่ ลักษณะ โดดเดี่ยวหรืออยู่เป็นคู่ ฤดูผสมพันธุ์เริ่มราวปลายเดือนมกราคมหรือต้น นกชนหิน ถือเป็นนกเงือกชนิดหนึ่งที่มีสายพันธุกรรมเก่าแก่ เดือนกุมภาพันธ์ ทำรังในต้นไม้สูง และใช้วัสดุปิดปากรังเช่นเดียวกับนก เงือกชนิดอื่นๆ โดยที่รังของนกชนหินจะไม่เหมือนกับนกเงือกชนิดอื่นๆ ยาวนานถึง 45 ล้านปีมาแล้ว [4] มีลักษณะเด่นกว่านกเงือกชนิด เพราะจะหารังเฉพาะที่อยู่บนตอไม้หรือเข้าได้ทางด้านบนเท่านั้น เพราะ อื่นๆ ตรงที่สันบนปากมีขนาดใหญ่และหนาเนื้อในสีขาวตันคล้าย ส่วนหัวที่ตันและหางที่ยาว อีกทั้งนกชนหินจะเลี้ยงลูกนานกว่านกเงือก งาช้าง นกชนหินมีจะงอยปากที่ยาวและมีขนหางพิเศษคู่หนึ่ง ซึ่งจะ ชนิดอื่นๆ คือ 5 เดือน โดยที่แม่นกจะอยู่กับลูกในโพรงตลอดเวลา ไม่มี งอกยาวเลยขนหางเส้นอื่นๆ ออกไปมากถึง 50 เซนติเมตร แล การพังโพรงออกมาก่อน เห็นเด่นชัด นกตัวผู้มีขนาดลำตัวยาวจากปลายจะงอยปากถึงปลาย ขนหาง 127 เซนติเมตร ขนลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ใต้ท้องสีขาว หางสี นกชนหินมีเสียงร้องที่ไม่เหมือนนกชนิดอื่นๆ โดยนกตัวผู้จะร้องติด ๆ ขาวมีแถบสีดำพาดขวาง และปลายปีกสีขาวเป็นแถบกว้างและไม่มี กันดัง \"ตู๊ก…ตู๊ก\" ทอดเป็นจังหวะ ร้องติดต่อกันยาวเสียงร้องจะกระชั้น ขนปกคลุมใต้ปีก จะงอยปากตอนโคน และบนสันสีแดงคล้ำ ตอน ขั้นตามลำดับ เมื่อจะสุดเสียงเสียงร้องจะคล้ายเสียงหัวเราะประมาณ 4- ปลายสีเหลืองเรื่อๆ บริเวณลำคอที่ไม่ขนในนกตัวผู้จะมีสีแดงคล้ำ 6 ครั้งเมื่อตกใจจะแผดเสียงสูงคล้ายเสียงแตร และเมื่อต่อสู้กันเพื่อแย่ง ส่วนนกตัวเมียจะมีสีฟ้าซีดหรือสีฟ้า แต่นกวัยอ่อนเพศผู้ ลำคอจะมี อาณาเขต จะใช้ส่วนหัวที่หนาชนกัน จึงได้ว่าว่า \"นกชนหิน\" บางครั้งอาจ สีแดงเรื่อๆ และนกเพศเมียหนังส่วนนี้จะเป็นสีม่วง นอกจากนี้สัน จะบินชนกันในอากาศ บนจะงอยปากจะมีขนาดเล็กกว่า และขนหางยังเจริญไม่เต็มที่ มี ลักษณะสั้นกว่านกโตเต็มวัย 19
เต่ามะเฟือง ชื่อภาษาไทย : เต่ามะเฟือง, เต่าเหลี่ยม ชื่อภาษาอังกฤษ : Leatherback turtle ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dermochelys coriacea เต่ามะเฟือง (Leatherback sea turtle, Dermochelys coriacea) จัดเป็นสัตว์ทะเลหายากและใกล้สูญพันธุ์ที่ได้รับความ สำคัญจากนานาประเทศ เนื่องจากการอพยพย้ายถิ่นระยะไกล จึงมี แหล่งอาศัยในพื้นที่ทางทะเลระหว่างประเทศ จัดเป็นทรัพยากรร่วม ของภูมิภาคและระดับโลก เต่ามะเฟืองเป็นเต่าทะเลที่มีความเสี่ยง ต่อการสูญพันธุ์สูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับเต่าทะเลที่มีอยู่ 7 ชนิดทั่ว โลก จำนวนประชากรพ่อแม่พันธุ์เต่ามะเฟืองที่มาผสมพันธุ์และ วางไข่ในประเทศไทยลดลงอย่างต่อเนื่องเหลือเพียงปีละไม่ถึง 10 ตัวในปัจจุบัน ลักษณะ เต่ามะเฟืองมีลักษณะแตกต่างจากเต่าทะเลชนิดอื่นๆ เพราะเป็นเต่า ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก กระดองหลังคล้ายผลมะเฟืองผ่าซีก กระดอง ไม่มีเกล็ด (scute) เป็นแผ่นหนังแข็ง หนา มีสีคล้ำหรืออาจมีสีขาว แต้มแระทั่วตัว ส่วนบนกระดองเป็นร่อง และสันนูนตามแนวความยาว จากส่วนหัวถึง ส่วนท้าย สลับกันคล้ายกับกลีบมะเฟืองจำนวน 7 สัน รูปร่างคล้ายหัวใจสำดำ ส่วนหัวไม่มีเกล็ดปกคลุม จงอยปากมีลักษณะ เป็นหยัก 3 หยัก ขาคู่หน้ามีขนาดใหญ่คล้ายใบพาย และไม่มีเล็บ ขนาดของเต่ามะเฟืองโตเต็มที่ มีความยาว ประมาน 150 เซนติเมตร น้ำหนักโดยเฉลี่ยประมาน 400-900 กิโลกรัม พฤติกรรม อาหารของพวกมันเป็นจำพวกสาหร่าย แมงกะพรุน และสัตว์น้ำ ขนาดเล็ก แหล่งวางไข่ เต่าจำพวกนี้มักวางไข่บนชายหาดราวเดือน พฤศจิกายน ของทุกปี วางไข่ประมาณ 60-130 ฟอง/ครั้ง ใช้เวลาใน การฟักประมาน 60 วัน จึงออกมาเป็นลูกเต่า 20
ฉลามวาฬ ชื่อภาษาไทย : ฉลามวาฬ ชื่ออังกฤษ : whale shark ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhincodon typus ฉลามวาฬมีชื่อเสียงในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1828 ตาม พฤติกรรม ตัวอย่างยาว 4.6 ม. ที่จับได้ด้วยฉมวกใน อ่าวเทเบิล ฉลามวาฬปกติเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำลึก และจะขึ้นมากินแพลงก์ ประเทศแอฟริกาใต้ หมอทหารที่ชื่อ แอนดริว สมิท (Andrew Smith) ได้ร่วมกับค่ายทหารของอังกฤษใน เคปทาวน์ บรรยาย ตอนในเวลากลางคืนบริเวณผิวน้ำ โดยใช้การดูดน้ำเข้าปากแล้วผ่าน และจำแนกฉลามวาฬในปีถัดมา ช่องกรอง โดยจะทิ่งตัวเป็นแนวดิ่งกับพื้นน้ำ ที่ ออสลอบ ใน จังหวัด เซบู ของฟิลิปปินส์ ลักษณะ ลักษณะของฉลามวาฬที่แตกต่างจากฉลามส่วนใหญ่ คือ หัวที่ใหญ่ โตมากเมื่อเทียบกับขนาดลำตัว และปากที่อยู่ด้านหน้าแทนที่จะอยู่ ด้านล่าง ฉลามวาฬ เกือบทั้งหมดที่พบมีขนาดใหญ่กว่า 3.5 เมตร ใช้ เหงือกในการหายใจ มีช่องเหงือก 5 ช่อง มีครีบอก 2 อัน ครีบหาง 2 อัน และ ครีบก้น(หาง) 1 อัน หางของปลาฉลามวาฬอยู่ในแนวตั้ง ฉาก และโบกไปมาในแนวซ้าย-ขวา แตกต่างจากสัตว์เลือดอุ่นในทะเล ที่หางอยู่ในแนวขนานและหายใจด้วยปอด อาทิ วาฬ, โลมา หรือ พะยูน เป็นต้น ในการระบุตัวของฉลามวาฬนั้น พิจารณาจากด้านข้างลำตัว ตั้งแต่ ช่องเหงือกช่องที่ 5 จนถึงสิ้นสุดครีบอก โดยแต่ละตัวจะมีจุดที่แตก 21 ต่างกันออกไปเป็นอัตลักษณ์ประจำตัว
การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า สรุปย่อสาระสำคัญ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองป่า พ.ศ.2535 คำจำกัดความ และการกระทำที่เป็นข้อห้ามต่างๆ ตามกฎหมาย สัตว์ป่า หมายความว่า สัตว์ทุกชนิด ไม่ว่าสัตว์บก สัตว์น้ำ สัตว์ปีก แมลง หรือแมง ซึ่งโดยสภาพธรรมชาติ ย่อมเกิดและดำรงชีวิตอยู่ในป่าหรือในน้ำ และให้หมายความรวมถึงไข่ของสัตว์ป่าเหล่านั้นด้วย แต่ไม่หมายความ รวมถึงสัตว์พาหนะที่ได้จดทะเบียนทำตั๋วรูปพรรณ ตามกฎหมายว่าด้วยสัตว์พาหนะ และสัตว์พาหนะที่ได้มาจาก การสืบพันธุ์ของสัตว์พาหนะดังกล่าว สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หายากตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ คือ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร , แรด , กระซ ่,ู กูปรีหรือโคไพร , ควายป่า , ละองหรือละมั่ง , สมันหรือเนื้อสมัน , เลียงผาหรือเยืองหรือกูรำหรือโครำ , กวางผา , นกแต้วแร้วท้องดำ ,นกกระเรียน , แมวลายหินอ่อน , สมเสร็จ , เก้งหม้อ , พะยูนหรือหมูน้ำ และ สัตว์ที่จะกำหนดเพิ่ม สัตว์ป่าคุ้มครอง หมายถึง สัตว์ป่าที่กฎกระทรวงกำหนดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง เช่น ช้างป่า , ชะนี , ไก่ฟ้า , นกขุนทอง , เสือดาว , เสือโคร่ง , หมีดำ ฯลฯ สัตว์ป่าใดจะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองต้องดูตามบัญชีสัตว์ป่าคุ้มครอง ในกฎกระทรวง ล่า หมายความว่า เก็บ ดัก จับ ยิง ฆ่า หรือทำอันตรายแก่สัตว์ป่าที่เจ้าของและอยู่อย่างเป็นอิสระ รวมถึงการ ล่าไล่ การต้อน การเรียก หรือการล่อเพื่อการกระทำดังกล่าวด้วย ซากของสัตว์ป่า หมายความว่า ร่างกายหรือส่วนของร่างของสัตว์ป่าที่ตายแล้ว หรือเนื้อของสัตว์ป่า ไม่ว่าจะได้ ปิ้ง ย่าง รม ตากแห้ง หมัก หรือทำเพื่อไม่ให้เน่าเปื่อย ไม่ว่าจะชำแหละ แยกออก หรืออยู่ในร่างของสัตว์นั้น และ รวมถึง เขา หนัง กระดูก ฟัน งา ขนาย นอ เกล็ด เล็บ กระดอง เปลือก หรือส่วนต่างๆ ที่แยกออกจากร่างของ สัตว์ป่าไม่ว่าจะยังมีชีวิตอยู่หรือตายแล้ว เพาะพันธุ์ หมายความว่า ขยายพันธุ์สัตว์ป่าที่นำมาเลี้ยงไว้ด้วยการขยายพันธุ์สัตว์ป่า และรวมถึงขยายพันธุ์ สัตว์ป่าด้วยวิธีผสมเทียม หรือย้ายฝากตัวอ่อนด้วย ค้า หมายความว่า ซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน จำหน่าย จ่าย แจก หรือโอนกรรมสิทธิ์ เพื่อประโยชน์ทางการค้า รวมถึง มีหรือแสดงไว้เพื่อขายด้วย 22
การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า สรุปย่อสาระสำคัญ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองป่า พ.ศ.2535 คำจำกัดความ และการกระทำที่เป็นข้อห้ามต่างๆ ตามกฎหมาย การล่าสัตว์ป่า ห้ามมิให้ผู้ใดล่าหรือพยายามล่าสัตว์ป่าสงวนหรือ สัตว์ป่าคุ้มครอง เว้นแต่เป็นการกระทำโดย ทางราชการเพื่อประโยชน์ในการสำรวจ การศึกษาและการวิจัยทางวิชาการ การคุ้มครองสัตว์ป่า การเพาะพันธุ์ ซึ่ง ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดีกรมป่าไม้ ผู้ใดล่าสัตว์ป่าโดยฝ่าฝืนต่อกฎหมายนี้ด้วยความจำเป็น ผู้นั้นไม่ ต้องรับโทษ ถ้าเป็นการทำเพื่อ ให้ตนเองและผู้อื่นพ้นจากอันตราย หรือเพื่อเป็นการรักษาทรัพย์สินของตนหรือผู้ อื่น โดยการล่านั้นได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ และกรณีเป็นสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครอง ต้องมิได้นำสัตว์ป่า หรือซากสัตว์เคลื่อนที่ และได้แจ้งเหตุ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบทันที ให้สัตว์ป่าหรือซากของสัตว์ป่าที่ถูกล่าตาม วรรคหนึ่งตกเป็นของแผ่นดิน การเพาะพันธุ์สัตว์ป่า ห้ามมิให้ผู้ใดเพาะพันธุ์สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง ยกเว้น เป็นการเพาะพันธุ์สัตว์ ป่าคุ้มครองบางชนิดที่ได้รับใบอนุญาตให้เพาะพันธุ์จากอธิบดี หรือเป็นการเพาะพันธุ์สัตว์ป่าสงวน หรือสัตว์ป่า คุ้มครองของผู้ได้รับใบอนุญาตในกิจการสวนสัตว์สาธารณะ ซึ่งได้รับอนุญาตจากอธิบดีให้เพาะพันธุ์สัตว์ป่าสงวน หรือสัตว์ป่าคุ้มครองที่อยู่ในการครอบครอง การครอบครองสัตว์ป่า หรือซากของสัตว์ป่า ห้ามมิให้ผู้ใดครอบครองสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง ซากสัตว์ ป่าสงวน หรือซากสัตว์ป่าคุ้มครอง เว้นแต่จะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่กำหนดให้เพาะพันธุ์ได้ตามกฎหมาย ที่ได้ มาจากการเพาะพันธุ์หรือซากของสัตว์ป่าดังกล่าว และต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดี แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึง การครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองของผู้ได้รับใบอนุญาตเพาะพันธุ์ หรือได้มาจากการเพาะพันธุ์ หรือซากของสัตว์ป่าดังกล่าว หรือการครอบครองสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครองหรือซากของสัตว์ป่าดังกล่าว ของ ผู้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งและดำเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะ การค้าสัตว์หรือซากของสัตว์ป่า และผลิตภัณฑ์ที่ทำจากซากของสัตว์ป่าห้ามมิให้ผู้ใดค้าสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่า คุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าสงวน ซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากซากของสัตว์ป่าดังกล่าว ยกเว้น เป็นการค้าสัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ ซากของสัตว์ป่าที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ และได้รับ อนุญาตจากอธิบดี 23
การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า บทกำหนดโทษตามลักษณะของความผิด 1.โทษจำคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ สำหรับความผิดดังต่อไปนี้ 1.1 ล่า หรือพยายามล่าสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครอง โดยที่ไม่เป็นข้อยกเว้น 1.2 มีสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าสงวน หรือสัตว์ป่าคุ้มครองไว้ในครอบครอง ยกเว้น เป็นสัตว์ป่าชนิดที่ได้รับอนุญาตให้เพาะพันธุ์ได้ตามกฎหมาย 1.3 ค้าสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าสงวน หรือสัตว์ป่าคุ้มครอง หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจาก ซากของสัตว์ป่าดังกล่าว ยกเว้น เป็นสัตว์ป่าชนิดที่ได้รับอนุญาตให้เพาะพันธุ์ได้ตามกฎหมายนำเข้าหรือ ส่งออกสัตว์ป่า หรือซากของสัตว์ป่า หรือนำผ่านสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง หรือซากของสัตว์ป่าดังกล่าว โดยไม่ได้รับอนุญาตจากอธิบดี 2. โทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ สำหรับความผิดดังต่อไปนี้ 2.1 เพาะพันธุ์สัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครองโดยไม่ได้รับอนุญาต 2.2 นำเข้าหรือส่งออกสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง หรือซากของสัตว์ป่าดังกล่าว โดยมิใช่กรณีการนำเข้าหรือส่ง ออกสัตว์ป่าคุ้มครองที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ และได้รับอนุญาตจากอธิบดี 2.3 จัดตั้งและดำเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะโดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี 3. โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท สำหรับความผิดดังต่อไปนี้ มีไว้ในครอบครอง สัตว์ป่าคุ้มครอง ที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ หรือซากของสัตว์ป่าที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ โดยไม่ได้รับอนุญาต 4. โทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ สำหรับความผิดดังต่อไปนี้ ทำการค้าสัตว์ป่า คุ้มครองที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ ซากของสัตว์ป่าที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากซากสัตว์ดังกล่าว โดยมิได้รับอนุญาต 5. โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ สำหรับความผิดดังต่อไปนี้ 5.1 เก็บ ทำอันตราย มีรังของสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครองไว้ในครอบครอง 5.2 ยิงสัตว์นอกเวลาอาทิตย์ตกและพระอาทิตย์ขึ้น 5.3 ล่าสัตว์ป่าสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครองหรือสัตว์ป่าอื่นๆ หรือเก็บ หรือทำอันตรายแก่รังของสัตว์ป่า ใน บริเวณวัดหรือในบริเวณสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา 24
การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า บทกำหนดโทษตามลักษณะของความผิด 6. โทษปรับไม่เกินห้าพันบาท สำหรับความผิดดังต่อไปนี้ นำสัตว์ป่าคุ้มครอง หรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครองเคลื่อนที่เพื่อ การค้า โดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี นำสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง หรือซากสัตว์ป่าดังกล่าวเคลื่อนที่ผ่านด่าน ตรวจสัตว์ป่า โดยไม่แจ้งหรือแสดงใบอนุญาตต่อเจ้าหน้าที่ประจำด่านตรวจสัตว์ป่า 7. โทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ สำหรับความผิดดังต่อไปนี้ ล่าสัตว์ป่าใดๆ เก็บ หรือทำอันตรายแก่รังของสัตว์ป่า ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 8. โทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ สำหรับความผิดดังต่อไปนี้ 8.1 ยึดถือ ครอบครองที่ดิน ปลูกสร้างสิ่งใด แผ้วถาง ทำลายต้นไม้ พรรณพืช ฯลฯ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 8.2 ล่าสัตว์ เก็บรัง ยึดถือครอบครองที่ดิน ทำลายต้นไม้ พันธุ์พืช ฯลฯ ในเขตกำหนดห้ามล่าสัตว์ป่า 9. โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ สำหรับความผิดดังต่อไปนี้ \"ช่วยซ่อนเร้น ช่วยจำหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจำนำ หรือรับสัตว์ป่าหรือซากของสัตว์ป่าที่ได้มาจากการกระทำความผิดตาม กฎหมายนี้\" 10. กรณีนิติบุคคลเป็นผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ กรรมการผู้จัดการ หรือผู้แทนนิติบุคคลนั้นต้องรับโทษ ตามความผิดนั้นๆ ด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าการกระทำนั้นตน มิได้มีส่วนรู้เห็นหรือยินยอมด้วย 25
การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า บัญชีสัตว์ป่าสงวน พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวง เรื่องการกำหนดชนิดสัตว์ป่าคุ้มครองที่ให้เพาะพันธุ์ได้ พ.ศ 2546 ย้อนไปเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2544 กรมป่าไม้ได้มีประกาศ เรื่อง การตรวจสอบและทำเครื่องหมายสัตว์ป่าสงวน สัตว์ ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าสงวน และซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง ซึ่งประกาศดังกล่าว กำหนดให้ผู้ครองครองมาแจ้งการ ครอบครองต่อกรมป่าไม้เพื่อตรวจสอบ และทำเครื่องหมายประจำตัวสัตว์ป่า หรือซากของสัตว์ป่าและจะออกใบอนุญาตให้ ครองครองสัตว์ป่าคุ้มครองชั่วคราว (สป.2) หรือใบรับรองให้ครอบครองซากสัตว์ป่าคุ้มครองชั่วคราว (สป.3) และหนังสือ มอบให้คุ้มครองซากสัตว์ป่าสงวนหรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครองชั่คราวแทนกรมป่าไม้ (อญ./สป.1) แต่คนทั่วไปยังไม่เข้าใจ รายละเอียดดีพอ จึงมิได้ไปดำเนินการแจ้งตามแบบและวิธีการของกรมป่าไม้ เพื่อแก้ไขปัญหานี้ ทางราชการจึงได้ออกพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2546 ด้วยเหตุผล ที่ในปัจจุบันมีผู้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายจำนวนมาก ที่ไม่ได้นำสัตว์ป่าคุ้มครองมามอบให้แก่ พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือไม่ได้มาแจ้งรายการเกี่ยวกับชนิดและจำนวนของสัตว์ป่าคุ้มครอง ทำให้เจ้าหน้าที่ไม่สามารถควบคุม ดูแล ให้ผู้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขของการครอบครองสัตว์ป่า คุ้มครองได้ สมควรกำหนดให้ผู้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครอง โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายมาแจ้ง การครอบครองและขออนุญาตมี ไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์ป่าคุ้มครองดังกล่าว ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยไม่ต้องรับโทษ ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซึ่งสัตว์ป่าคุ้มครองโดยยังไม่ได้รับอนุญาตโดยชอบด้วยกฎหมาย หากมาแจ้งรายการเกี่ยวกับชนิด และจำนวนของสัตว์ป่าคุ้มครองที่อยู่ในความครอบครองของตนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ให้บังคับ ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ หากผู้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองนั้น ต้องการจะเลี้ยงดูสัตว์ป่าคุ้มครองนั้นต่อไป ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสภาพการเลี้ยงดู สัตว์ป่าคุ้มครองของผู้นั้น ว่าอยู่ในสภาพที่ดีและปลอดภัยเพียงใด หากเห็นว่าสัตว์ป่าคุ้มครองนั้นได้รับการเลี้ยงดูด้วยความ เอาใจใส่ และปลอดภัย ให้อธิบดีอนุญาตให้ผู้นั้นครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองนั้นต่อไปได้ โดยออกใบอนุญาตครอบครองสัตว์ ป่าคุ้มครองชั่วคราวไว้ให้แก่เจ้าของหรือผู้ครอบครอง ใบอนุญาตดังกล่าวให้มีอายุเพียงเท่าอายุของสัตว์ป่าคุ้มครองนั้น และ เมื่อสัตว์ป่าคุ้มครองนั้นตายหรือเพิ่มจำนวนขึ้นโดยการสืบพันธุ์ ผู้รับใบอนุญาตต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่มีการเพิ่มจำนวนหรือตาย หากผู้เป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองนั้น ไม่ต้องการจะเลี้ยงดูสัตว์ป่าคุ้มครองนั้นต่อไป หรือเมื่อเจ้าหน้าที่ ได้ตรวจสอบเห็นว่าสัตว์ป่าคุ้มครองนั้น ได้รับการเลี้ยงดูที่ไม่ดีพอและไม่ปลอดภัย ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองจำหน่ายสัตว์ ป่าคุ้มครองนั้นให้แก่ผู้รับใบอนุญาต ดำเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะ หรือจำหน่ายสัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่ต้องได้รับอนุญาต ให้แก่ผู้รับใบอนุญาตเพาะพันธุ์ ให้เสร็จสิ้นภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ได้แจ้งต่อเจ้าหน้าที่ หรือวันที่ได้รับแจ้งคำสั่งไม่ อนุญาต แล้วแต่กรณี และเมื่อสิ้นระยะเวลาดังกล่าวแล้ว ยังมีสัตว์ป่าคุ้มครองเหลืออยู่เท่าใดให้สัตว์ป่าคุ้มครองนั้นตกเป็น ของแผ่นดิน 26
การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า สัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่ให้เพาะพันธุ์ได้ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2546 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ออก กฎกระทรวงกำหนด ชนิดของสัตว์ป่าคุ้มครองให้เป็นสัตว์ป่าชนิดที่เพาะพันธุ์ได้ พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยให้เหตุผลว่าควรส่งเสริมให้มีการเพาะพันธุ์ เพิ่มเติม เพื่อป้องกันมิให้สูญพันธุ์ และเพื่ออนุญาตให้บุคคลมีไว้ในครอบครอง ค้า และเพาะพันธุ์ได้โดยชอบด้วยกฎหมาย จึงควรที่จะกำหนดสัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่เพาะพันธุ์ได้ตามบัญชีข้างท้ายนี้ บัญชีสัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่เพาะพันธุ์ได้ สัตว์ป่าจำพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม กระจงเล็ก กวางป่า ชะมดเช็ดหรือชะมดเชียง ทรายหรือเนื้อทรายหรือตามะแน ลิง กัง ลิงวอก ลิงแสม อีเก้งหรือ เก้งหรือฟาน สัตว์ป่าจำพวกนก ไก่จุก ไก่ป่า ไก่ฟ้าพญาลอ ไก่ฟ้าหน้าเขียว ไก่ฟ้าหลังขาว ไก่ฟ้าหลังเทา ไก่ฟ้าหางลายขวาง นก กระทาดงแข้งเขียว นกกระทาดงคอสีแสด นกกระทาดงจันทบูรณ์ นกกระทาดงปักษ์ใต้ นกกระทาดงอกสีน้ำตาล นกกระทา ทุ่งนกกะรางคอดำหรือนกซอฮู้ นกกะรางสร้อยคอเล็ก นกกะรางสร้อยคอใหญ่ นกกะรางหัวหงอก นกกะรางอกสีน้ำตาลไหม้ นกกะลิงหรือนกกะแล นกกางเขนดง หรือ นกบินหลาดง หรือ นกบินหลาควน หรือ นกจิงปุ๊ย นกกางเขนบ้าน หรือ นกบิน หลาบ้าน หรือนกอีแจ้บ หรือนกจีจู๊ นกกิ้งโครงคอดำ นกแก้วโม่ง นกแก้วหัวแพร นกขุนทอง นกแขกเต้า นกปรอดหัวโขน หรือ นกกรงหัวจุก นกยูง นกแว่นสีเทา หรือ นกแว่นเหนือ นกแว่นสีน้ำตาล หรือ นกแว่นใต้ นกหกเล็กปากดำ นกหกเล็ก ปากแดง นกหกใหญ่ นกหว้า นกเอี้ยงสาริกา หรือ นกเอี้ยงสาลิกา นกเอี้ยงหงอน เป็ดคับแค เป็ดแดง เป็ดเทา เป็ดลาย เป็ดหงส์ เป็ดหางแหลม สัตว์ป่าจำพวกสัตว์เลื้อยคลาน งูสิง งูสิงหางลาย หรือ งูสิงลาย งูหลาม งูเหลือม จระเข้น้ำเค็ม จระเข้น้ำจืด สัตว์ป่าจำพวกสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กบทูด หรือ เขียดแลว สัตว์ป่าจำพวกปลา ปลาตะพัด หรือ ปลาอโรวาน่า ปลาเสือตอ ปลาเสือ หรือปลาลาด เป็นอันว่าจบเรื่องของการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ซึ่งอันที่จริงเรื่องราวของสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครอง ยังมีอีก มากมาย แต่ทางราชการเองก็ให้ข้อมูลในเรื่องข้อห้าม ข้อควรปฏิบัติแก่ประชาชนน้อยมาก จึงเป็นเหตุทำให้เกิดปัญหาในการ เลี้ยงดูหรือมีไว้ในครอบครอง ต่อไปหากมีการแก้ไข เปลี่ยนแปลงกฎ ระเบียบใดๆ ที่น่าสนใจ ผมจะนำมาเล่าสู่กันฟังใน โอกาสต่อไป 27
บรรณานุกรม สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 (ชลบุรี). (2561). สัตว์ป่าสงวนในประเทศไทย (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.mnre.go.th/reo13/th/news/detail/9455 [11 กุมภาพันธ์ 2565] การอนุรักษ์ธรรมชาติ/ที่ดิน. (2563). สัตว์สงวนไทย 19 ชนิดของประเทศไทย ในวันสัตว์ป่าและพืชป่าโลก World Wildlife Day (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://thaifarmer.lib.ku.ac.th/news/5e5ddfe4d2e37f4099534adc [11 กุมภาพันธ์ 2565] นฤดม พิมพ์ศรี. (2564). นกชนหิน สัตว์ป่าสงวน ลำดับที่ 20 ของไทย(ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://rspg.kku.ac.th/?p=5307 [11 กุมภาพันธ์ 2565] บ้านจอมยุทธ. ควายป่า (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-1/bubalus_bubalis_linnaeus/index.html [11 กุมภาพันธ์ 2565] กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ข้อมูลทั่วไปของพะยูน (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://km.dmcr.go.th/c_10 [11 กุมภาพันธ์ 2565] องค์การสวนสัตว์. แมวลายหินอ่อน/Marbled Cat (Parfo felis marmorata) (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://www.zoothailand.org/animal_view.php?detail_id=26&c_id= [11 กุมภาพันธ์ 2565] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2564). ละองละมั่ง (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E [11 กุมภาพันธ์ 2565] กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่ 5 (นครศรีธรรมราช). วาฬบรูด้า (Bryde’s whale) (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://academicparo5.dnp.go.th/brydes-whale/ [11 กุมภาพันธ์ 2565] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2565). วาฬบรูด้า (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E [11 กุมภาพันธ์ 2565] กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่ 5 (นครศรีธรรมราช). วาฬโอมูระ (Omura’s whale) (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://academicparo5.dnp.go.th-omuras-whale/ [11 กุมภาพันธ์ 2565] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2565). ปลาวาฬของ Omura (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://hmong.in.th/wiki/Omura's_whale [11 กุมภาพันธ์ 2565] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2564). นกชนหิน (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E [11 กุมภาพันธ์ 2565] กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. เต่ามะเฟือง(ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://km.dmcr.go.th/c_258 [11 กุมภาพันธ์ 2565] นางสาวปัณฑารีย์ สุวรรณลาภเจริญ. มาทำความรู้จักเต่ามะเฟืองกันเถอะ!! (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://www.nsm.or.th/other-service/680-online-science/knowledge-inventory/science-news/science-news- natural-history-museum/4137-get-to-know-the-leatherback-turtle.html [11 กุมภาพันธ์ 2565] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2564). ฉลามวาฬ (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E [11 กุมภาพันธ์ 2565] Unknown. (2560). สัตว์ป่าสงวน (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://reservedwildanimals603.blogspot.com/p/blog-page_4.html [11 กุมภาพันธ์ 2565] พิทยา ลำยอง. การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.thailaws.com/aboutthailaw/knowledge_63.htm [11 กุมภาพันธ์ 2565]
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: