Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore journal_section3

journal_section3

Published by natthaya8220, 2021-03-25 08:03:01

Description: journal_section3

Search

Read the Text Version

บทที่ 3 เอกสารประกอบการสอนและเอกสารคําสอน เอกสารประกอบการสอนและเอกสารคําสอนเปนเอกสารบังคับที่ใชประกอบการพิจารณา ขอกําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารยและรองศาสตราจารย ซ่ึงเปนผลงานทางวิชาการท่ีใชใน การสอนวชิ าใดวชิ าหนึ่งตามหลกั สูตรของสถาบันทส่ี ะทอ นใหเห็นเนอื้ หาวชิ าและวิธีการสอนอยางเปน ระบบ จัดเปนเครอ่ื งมือสาํ คัญของผสู อนในการใชป ระกอบการสอน ผปู ระสงคจะขอกําหนดตําแหนง ทางวิชาการตองศึกษารูปแบบและรายละเอียดการเขียนใหเขาใจ เพ่ือใหสามารถเขียนเอกสาร ประกอบการสอนหรอื เอกสารคาํ สอนไดอยางถกู ตอง มีคําแนะนําในการเขยี นดังน้ี สว นปก 1. ปกนอก การเขยี นปกนอก ดังตวั อยางที่ 3.1 รายละเอยี ดดังนี้ 1.1 สวนบนสดุ ใหระบุชอื่ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 1.2 สว นกลาง ใหระบุชื่อ-สกุลผูเ ขียน ใหใ สช ื่อยศ ตําแหนงทางวิชาการ (ถาม)ี 1.3 สวนลาง ใหระบุคณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี และเลข พ.ศ. (ไมตองใสคําวา พ.ศ.) ตัวอยา งท่ี 3.1 ปกนอก ตวั หนา ขนาด 28 พอยต เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ชือ่ วิชา ช่อื – สกุล คณะ………………………… มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี 2556

2. สันปก การเขียนสันปก ใหระบุช่ือวิชา (ไมตองใสคําวา เอกสารประกอบการสอน) ชอ่ื ผูเขียน (ไมต องระบุคํานําหนา) ดังตัวอยางท่ี 3.2 ตวั อยา งที่ 3.2 สนั ปก หลักการอานการเขยี นคาํ ไทย ชือ่ – สกลุ 3. ปกใน การเขียนปกใน ใหเขียนเหมือนปกนอก โดยเพิ่มวุฒิการศึกษาตอทายชื่อผูเขียน ดังตวั อยางที่ 3.3 มีรายละเอยี ดดังนี้ 3.1 สวนบนสดุ ใหระบชุ ื่อเอกสารประกอบการสอนรายวชิ า 3.2 สวนกลาง ใหระบุช่ือผูเขียน โดยไมตองระบุคํานําหนาชื่อแตใหระบุคุณวุฒิสูงสุด ของผูเขียน 3.3 สว นลา ง ใหระบุคณะ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี และเลข พ.ศ. (ไมต องใสค าํ วา พ.ศ.) ตัวอยา งที่ 3.3 ปกใน ตัวหนา ขนาด 28 พอยต เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ……………………………….. ……………………………. (วุฒกิ ารศกึ ษา) คณะ…………………………………….. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี 2556 24

คํานาํ การเขยี นคาํ นาํ เปนการกลา วนําถึงความสําคัญ ความจาํ เปน จุดมงุ หมายในการเรียนการสอน รายวชิ าทีเ่ ขยี น สาระสําคัญของรายวิชา และประโยชนท่ีไดรับ เนื้อความควรมีประมาณ 3 ยอหนา ดงั ตวั อยา งท่ี 3.4 มีรายละเอยี ดดังนี้ 1. ยอหนาแรก กลาวถึง รายวิชา รหัสวิชาและหลักสูตร ความสําคัญ ความจําเปน จุดมุงหมายในการเรียนการสอน สาระสําคัญ และประโยชนท่ีไดจากการจัดทําเอกสารประกอบ การสอน 2. ยอหนาที่สอง ควรเขียนสวนประกอบของเอกสารวาแบงเปนกี่บท ชื่อบท และ สาระสําคญั โดยสรุป 3. ยอหนา ทสี่ าม กลาวถึงประโยชนทไี่ ดร ับและกลาวขอบคณุ ผูท ่ีมสี ว นเกี่ยวขอ ง ตวั อยางที่ 3.4 การเขียนคํานาํ ขนาด 16 พอยต คํานาํ ตวั หนา ขนาด 20 พอยต เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับงานธุรกิจ รหัสวิชา 3441303 เปนเอกสารประกอบการสอนท่ีเรียบเรียงขึ้น ตามหลักสูตรคอมพิวเตอรธุรกิจ ซ่ึงเนื้อหาได ครอบคลุมรายวชิ าทางดานการเขยี นโปรแกรมทางธุรกิจ และยงั สามารถใชเปนเอกสารประกอบการสอน ในรายวิชาอน่ื ๆ ท่มี สี าระเกีย่ วขอ งกับการเขียนโปรแกรมทางธุรกจิ ได เนอื้ หาในเอกสารจะประกอบดว ยเน้อื หา 8 บท โดยเริม่ ตัง้ แตแนวทางการเขยี นโปรแกรมสําหรับ งานธุรกิจ การวิเคราะหโปรแกรมสําหรับงานธุรกิจ การออกแบบโปรแกรมสําหรับงานธุรกิจ ชนิดของ ขอมลู และตัวแปร ตวั ดําเนนิ การและนิพจน การควบคุมทิศทางการทํางานของโปรแกรมแบบทางเลือก การควบคุมทิศทางการทํางานของโปรแกรมแบบวนซ้ํา และการเขียนโปรแกรมเพ่ือประยุกตใชสําหรับ งานธรุ กิจ ดังนน้ั ผเู ขยี นหวังเปน อยา งย่ิงวาเอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร สําหรับงานธุรกิจเลมน้ี จะเปนประโยชนตออาจารยและนักศึกษาที่ใชประกอบการเรียนการสอนใน รายวิชาดังกลาว และยังเปนประโยชนตอบุคคลที่สนใจดานการเขียนโปรแกรมทางธุรกิจ นอกจากนี้ ยังไดรับความอนุเคราะหจากผูทรงคุณวุฒิที่คอยใหคําปรึกษาในการเรียบเรียงและปรับปรุงเนื้อหา จงึ ขอขอบพระคณุ ทกุ ทานเปน อยา งยิง่ มา ณ โอกาสนี้ ………………… พฤศจกิ ายน 2559 25

การเขยี นคาํ นํา ควรคาํ นงึ ถงึ รายละเอียดตอ ไปนี้ 1. ควรเขียนใหก ระชบั รัดกมุ และใชถอยคําที่สละสลวย 2. ไมควรเขยี นถอ มตนจนเกนิ ไป เชน อางวาไมมีความรหู รือความรูน อ ย 3. ไมค วรออกตวั โดยไมเกิดประโยชน เชน อา งวา มีเวลานอ ยหรือเรง รบี ทํา 4. ไมร ะบุขอ ผดิ พลาด ขอบกพรองตางๆ ในเอกสารประกอบการสอน 5. ไมระบคุ วามชว ยเหลอื จากผอู น่ื ทแี่ สดงวาผเู ขียนไมมคี วามสามารถเขยี นเอง 6. ความยาวไมควรเกนิ 1 หนา กระดาษ สารบัญ สารบัญเปนสวนที่แสดงรายการหรือหัวขอตาง ๆ ของเอกสารประกอบการสอนที่ปรากฏ ในเลมและมีเลขหนากํากับ โดยมีการจัดเรียงตามลาํ ดบั ดังตวั อยางที่ 3.5 – 3.7 ตวั อยางท่ี 3.5 สารบญั สารบัญ ตวั หนา ขนาด 20 พอยต (เวน 1 บรรทัด) ตัวหนา ขนาด 18 พอยต หนา (1) คํานาํ (3) (5) สารบัญ ตัวหนา ขนาด 16 พอยต (7) สารบญั ภาพ (9) 1 สารบัญตาราง 2 8 แผนบริหารการสอนประจําวชิ า 32 35 แผนบริหารการสอนประจําบทท่ี 1 35 38 บทท่ี 1 แนวทางการเขยี นโปรแกรมสําหรบั งานธุรกจิ 40 43 …………………………………………………………….. 52 52 สรปุ 53 54 คําถามทบทวน 250 255 เอกสารอางองิ ขนาด 16 พอยต แผนบริหารการสอนประจาํ บทที่ 2 บทท่ี 2 การวิเคราะหโ ปรแกรมสาํ หรับงานธุรกจิ …………………………………………………………….. สรปุ คําถามทบทวน เอกสารอางองิ แผนบรหิ ารการสอนประจําบทท่ี 3 บรรณานกุ รม ภาคผนวก 26

ตัวอยางที่ 3.6 สารบัญภาพ สารบัญภาพ ตวั หนา ขนาด 20 พอยต (เวน 1 บรรทัด) ตัวหนา ขนาด 18 พอยต หนา ภาพที่ 28 34 1.1 ขัน้ ตอนการพัฒนาโปรแกรม 40 42 1.2 กรอบแนวคิดขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 43 44 2.1 ขั้นตอนการวิเคราะหโ ปรแกรม ขนาด 16 พอยต 45 2.2 ผงั งานการรบั ขอ มลู เขาทลี ะรายการ 2.3 ผงั งานการรบั ขอ มูลเขาพรอ มกันทง้ั หมดในคร้งั เดยี ว 2.4 รูปแบบผลลัพธโปรแกรมคาํ นวณภาษมี ลู คา เพมิ่ 2.5 รูปแบบผลลัพธโปรแกรมคาํ นวณสว นลด ตัวอยา งท่ี 3.7 สารบญั ตาราง สารบญั ภาพ ตวั หนา ขนาด 20 พอยต (เวน 1 บรรทดั ) ตารางที่ ตัวหนา ขนาด 18 พอยต หนา 26 1.3 ตวั อยา งภาษาคอมพิวเตอรท ่ีนาํ มาใชในงานดา นธรุ กิจ 24 1.4 ความแตกตา งระหวา งการเขยี นโปรแกรมโดยใชภาษาโปรแกรมเชงิ โครงสรา ง 59 95 และภาษาโปรแกรมภาษาเชิงวัตถุ 96 97 3.1 แสดงสญั ลกั ษณของผงั งาน ขนาด 16 พอยต 4.1 แสดงชนดิ ขอมูลแบบจาํ นวนเต็ม 4.2 แสดงชนดิ ขอ มูลแบบเลขทศนยิ ม 4.3 แสดงชนดิ ขอมูลตวั เลขพเิ ศษ Decimal แผนบรหิ ารการสอนประจําวชิ า แผนบริหารการสอนประจาํ วชิ า มีรายละเอียดดงั นี้ 1. ช่ือวิชา รหัสวชิ า จํานวน หนวยกติ -ชว่ั โมง และเวลาเรยี นท้ังหมด 16 สัปดาห (ไมร วมการ วัดผล ประเมินผล) 2. คาํ อธิบายรายวิชา 3. วตั ถปุ ระสงคท ่วั ไป (พทุ ธิพสิ ยั จติ พิสยั และทักษะพสิ ัย) 4. เนื้อหา นําเน้ือหาจากคําอธิบายรายวิชามากําหนดเปนหัวขอใหญ หัวขอรอง และ กําหนดเวลาใชส อนแตล ะหัวขอ หรอื แตละเรื่องวาใชเวลาในการสอนก่ีชั่วโมง โดยยึดจํานวนชั่วโมงที่ รายวชิ ากาํ หนด 27

5. วธิ ีสอนและกิจกรรม โดยใหกาํ หนดรูปแบบการสอน กระบวนการจัดการเรียน การสอน และกิจกรรมเสนอแนะทหี่ ลากหลายเพ่ือใหผเู รยี นเกดิ การเรยี นรตู ามเนอื้ หาทก่ี ําหนด 6. ส่ือการเรียนการสอน กําหนดสื่อและนวัตกรรมที่จะใชในการเรียนรูเน้ือหา สาระของ รายวชิ าท่ีเดนและทนั สมัย 7. การวัดผลและประเมินผล ใหเสนอวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรายวิชา เชน การทดสอบการประเมินจากสภาพท่ีเปนจริง ฯลฯ การกําหนดคะแนนระหวางภาคและ ปลายภาคเรยี น เปน ตน ตวั อยางที่ 3.8 แผนบรหิ ารการสอนประจาํ วชิ าของเอกสารประกอบการสอน (เวน 1 บรรทดั ) แผนบริหารการสอนประจําวชิ า ตัวหนา ขนาด 20 พอยต 3(2-2-5) รหัสวชิ า 3441303 รายวิชา การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรสาํ หรบั งานธุรกจิ Business Programming คาํ อธิบายรายวิชา ตวั หนา ขนาด 18 พอยต วเิ คราะห ออกแบบ และเขียนโปรแกรมโดยใชภาษาโปรแกรมท่ีเหมาะสม ศึกษาตัวอยางโปรแกรมและเขียน โปรแกรมเพ่ือประยุกตใชกับงานธุรกจิ วตั ถปุ ระสงคทว่ั ไป ขนาด 16 พอยต 1. เพื่อใหผ ศู ึกษามคี วามรู ความเขา ใจเก่ียวกบั การวเิ คราะห และออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร สําหรบั งานธุรกจิ 2. เพอื่ ใหผ ูศกึ ษามีความรู ความเขา ใจเกย่ี วกับการเขยี นโปรแกรมดวยภาษาโปรแกรมทเี่ หมาะสม 3. เพือ่ ใหผ ูศึกษาสามารถเลือกใชภ าษาโปรแกรมท่ีเหมาะสมในการพัฒนาโปรแกรมทางธุรกจิ 4. เพื่อใหผ ศู กึ ษาสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อประยุกตใชก ับงานธุรกจิ เนื้อหา บทที่ 1 แนวทางการเขยี นโปรแกรมสําหรบั งานธรุ กจิ 4 ชว่ั โมง การนาํ คอมพวิ เตอรไ ปใชใ นงานธุรกจิ ภาษาคอมพวิ เตอร ข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรมสําหรับงานธุรกิจ สรุป คาํ ถามทบทวน เอกสารอา งองิ ฯลฯ 28

ตวั อยา งท่ี 3.8 แผนบรหิ ารการสอนประจําวชิ าของเอกสารประกอบการสอน (ตอ) วธิ ีการสอนและกิจกรรม 1. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน การเขียนโปรแกรมสําหรับงานธุรกจิ 2. ศึกษาผงั งาน เวบ็ ไซตท่เี กย่ี วขอ ง และบทเรียนออนไลน เร่ือง การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรบั งาน ธุรกิจ 3. แบง กลุมศึกษาเนือ้ หา กรณีศกึ ษาตวั อยา งโปรแกรม และการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 4. ทําคาํ ถามทบทวน และกรณีศกึ ษาตวั อยางโปรแกรม 5. สรุปเนื้อหาเพ่ิมเตมิ 6. มอบหมายคําถามทบทวนในแตละบทเรยี น 7. ใชโปรแกรมคอมพวิ เตอรชวยในการเขียนโปรแกรม ส่ือการเรียนการสอน 1. ผงั งาน 3. PowerPoint 4. บทเรียนออนไลน 5. กรณีศึกษาตัวอยา งโปรแกรม 6. โปรแกรมคอมพวิ เตอร 7. เครอื่ งคอมพวิ เตอร การวดั ผลและประเมินผล 60% การวัดผล 10% 20% 1. คะแนนระหวา งภาคเรยี น 30% 1.1 ความสนใจในการเรยี น 40% 1.2 ทําคาํ ถามทบทวน 1.3 ทดสอบกลางภาค 2. คะแนนปลายภาคเรียน การประเมินผล ไดระดบั A ไดร ะดบั B+ คะแนนระหวา ง 80-100 ไดระดบั B คะแนนระหวา ง 75-79 ไดระดับ C+ คะแนนระหวาง 70-74 ไดร ะดับ C คะแนนระหวา ง 65-69 ไดระดับ D+ คะแนนระหวา ง 60-64 ไดร ะดับ D คะแนนระหวา ง 55-59 ไดร ะดับ F คะแนนระหวาง 50-54 คะแนนระหวาง 0-49 29

แผนบริหารการสอนประจาํ บท แผนบริหารการสอนประจําบท เปน การกาํ หนดรายละเอยี ดของเน้อื หาสาระของบทน้ันใหมี ความชัดเจนท้ังวัตถุประสงค เนื้อหา วิธีสอนและกิจกรรม ส่ือ และการประเมินผล ดังตัวอยาง ที่ 3.9 ประกอบดวยรายละเอยี ดดงั นี้ 1. แผนบรหิ ารการสอนประจําบทท่ี 2. หวั ขอ เนอื้ หาประจาํ บท 3. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ควรเขียนใหสามารถวัดพฤติกรรมของผูเรียนได เชน อธิบาย บอกประเภท จาํ แนก แสดง บรรยาย และยกตวั อยา ง เปนตน 4. วิธสี อนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจาํ บท 5. สอื่ การเรยี นการสอน 6. การวดั ผลและการประเมนิ ผล ตัวอยา งที่ 3.9 แผนบรหิ ารการสอนประจําบทของเอกสารประกอบการสอน แผนบรหิ ารการสอนประจําบทท่ี 1 ตวั หนา ขนาด 20 พอยต (เวน 1 บรรทัด) หัวขอเนือ้ หาประจําบท ตวั หนา ขนาด 18 พอยต 1. การนําคอมพิวเตอรไปใชในงานธุรกจิ 2. ภาษาคอมพวิ เตอร 3. ขั้นตอนการพฒั นาโปรแกรมสําหรบั งานธุรกจิ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ขนาด 16 พอยต เม่ือเรยี นจบบทน้ี นกั ศึกษาสามารถทําสิ่งตอไปน้ีได 1. สามารถอธบิ ายการนาํ คอมพิวเตอรมาใชใ นงานธุรกิจได 2. สามารถอธิบายรายละเอียดของภาษาคอมพิวเตอรได 3. สามารถบรรยายข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรมสําหรับงานธุรกจิ ได วธิ ีการสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจาํ บท 1. ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน การเขยี นโปรแกรมสาํ หรับงานธุรกิจ 2. ศึกษาผังงาน เวบ็ ไซตท ี่เกยี่ วขอ ง และบทเรียนออนไลน เรอ่ื ง การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร สําหรับงานธรุ กจิ 3. ทาํ คําถามทบทวน และตัวอยา งโปรแกรมสาํ หรับงานธรุ กิจ 4. สรุปเนอื้ หาเพิม่ เติม 5. มอบหมายคาํ ถามทบทวนทา ยบท 6. ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชว ยในการเขยี นโปรแกรม 30

ตัวอยา งที่ 3.9 แผนบรหิ ารการสอนประจาํ บทของเอกสารประกอบการสอน (ตอ) ส่ือการเรียนการสอน 1. ผงั งาน 3. PowerPoint 4. บทเรียนออนไลน 5. กรณีศกึ ษาตัวอยา งโปรแกรม 6. โปรแกรมคอมพวิ เตอร 7. เครอื่ งคอมพวิ เตอร การวัดผลและการประเมินผล 1. การสงั เกตความสนใจของผศู กึ ษา และการมีสวนรวมในกจิ กรรม 2. การประเมินจากการทผี่ ศู ึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคําถามทบทวน 4. การประเมนิ จากผลงานของผศู ึกษา เน้อื หา เนอ้ื หาในแตล ะบท เขียนเรยี งลําดับตามโครงเรื่องท่ีไดวางไว อธบิ ายรายละเอยี ดแตละหัวขอ อยางชัดเจน ใชภาษาที่กระชับ เขาใจงายและอาจมีการยกตัวอยางเพ่ือใหเห็นภาพไดชัดเจนขึ้น จํานวนบทจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับเน้ือหาของรายวิชา นําเนื้อหามาแบงเปนบท โดยเขียนใหมี ปริมาณที่ใกลเคียงกันในแตละบท เนื้อหาแตละบทตองสอดคลองและครอบคลุมรายวิชา เน้ือหา แบงออกเปน 3 สวน ดงั น้ี 1. บทนาํ เขาสเู นือ้ หา การเขยี นบทนําเขาสูเน้ือหาเปนการเขยี นเพอื่ ปูพน้ื ฐานเก่ียวกับเน้ือหา ในบท อาจเขียนเกี่ยวกับรายละเอียดของหัวขอหลักภายในบท ความยาวประมาณ 1 ยอ หนา 2. เน้ือหา ผูเขียนตองเรียบเรียงใหเปนไปตามลําดับ ประกอบดวย หัวขอหลัก หัวขอรอง และหัวขอยอย พรอมท้ังรายละเอียดตางๆ ไดแก ขอมูล ขอเท็จจริง ทฤษฎี สถิติ ตัวอยางงานวิจัย ตาราง และภาพประกอบ 3. สรุป คือสวนปดทายของเน้ือหาในแตละบทที่ผูเขียนตองสรุปใจความสําคัญหรือ สาระสําคัญของบทนน้ั ๆ ใหเขา ใจอยา งกระชับ การจัดรปู แบบเอกสารในแตละบทของเอกสารประกอบการสอน การข้ึนตนบทใหม ไดแก บทท่ี 1 บทที่ 2 ฯลฯ ตองจัดไวหนา คีซ่ งึ่ อยูด านขวามอื เสมอ ไมต องใสเลขหนาที่หนาตนบทแตใหนับ หนาดวย) ดงั ตวั อยางท่ี 3.10 – 3.11 31

ตัวอยางท่ี 3.10 การจดั รปู แบบเนอ้ื หาหนาแรกของบท เวน ระยะ 2 นวิ้ เวนระยะ 1.5 นว้ิ เวนระยะ 1 นิ้ว บทท่ี 1 (ตัวหนา ขนาด 20 พอยต) ชอ่ื บท (ตวั หนา ขนาด 22 พอยต) (เวน 1 บรรทัด ยอ หนา 1 แท็บ เขียนบทนําเขาสเู นื้อหา ตัวปกติ ขนาด 16 พอยต) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (เวน 1 บรรทัด) หัวขอหลัก (ตัวหนา ขนาด 18 พอยต ชดิ ริมดา นซา ย) (เวน 1 บรรทัด) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (เวน 1 บรรทัด) 1.//หัวขอรอง (ตัวหนา ขนาด 16 พอยต ยอ หนา 1 แทบ็ ) 1.1// หวั ขอยอย (ตวั ปกติ ขนาด 16 พอยต) ……..……….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.1.1//หัวขอ ยอ ย (ตวั ปกติ ขนาด 16 พอยต) …………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1)//หัวขอยอย (ตัวปกติ ขนาด 16 พอยต) ……………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. เวน ระยะ 1 น้วิ 32

ตวั อยางท่ี 3.11 การจดั รูปแบบเอกสารหนา อ่นื ๆ ในแตล ะบท เวนระยะ 1.5 น้ิว เวน ระยะ 1.5 นว้ิ เวน ระยะ 1 นิ้ว เวน ระยะ 1 นิ้ว คาํ ถามทบทวน เพ่ือใหผเู รยี นฝกทําและเปน การทบทวนบทเรยี นอีกท้งั เพ่อื ทดสอบและประเมนิ ความรูความ เขาใจของผูเรยี น ดงั ตวั อยางที่ 3.12 ตัวอยา งที่ 3.12 คําถามทบทวน คําถามทบทวน ตัวหนา ขนาด 18 พอยต (เวน 1 บรรทัด) จงตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. จงอธบิ ายระดบั และประเภทของภาษาคอมพิวเตอร 2. จงอธิบายหลักการเลือกใชภาษาคอมพวิ เตอรในงานธุรกจิ 3. จงอธิบายตวั แปลภาษาแตละประเภท ขนาด 16 พอยต 4. จงอธบิ ายขัน้ ตอนการพัฒนาโปรแกรม 5. จงบอกความแตกตางระหวาง Syntax Error, Logic Errors และ Run Time Error 6. จงบอกความแตกตางระหวา งเอกสารประกอบโปรแกรม และเอกสารการบาํ รุงรกั ษาโปรแกรม 7. จงยกตวั อยา งการนําคอมพวิ เตอรม าใชในงานธุรกิจ จํานวน 2 ธุรกจิ 33

เอกสารอางองิ การเขียนเอกสารอางองิ ใชหลกั เกณฑตามทป่ี รากฏในบทที่ 7 ดังตัวอยา งท่ี เอกสารอางอิง ตวั หนา ขนาด 18 พอยต (เวน 1 บรรทัด) กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และพนิดา พานิชกุล. (2546). คัมภรี ก ารวิเคราะหและออกแบบระบบ: System. analysis and design. กรุงเทพฯ : เคทพี ี แอนด คอนซลั ท. ชรินทรญ า กลาแข็ง. (2553). เอกสารประกอบการสอน วิชาการจดั การธุรกิจดว ยคอมพวิ เตอร. คณะวิทยาการจัดการ: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. บรรณานุกรม บรรณานุกรม คือ สว นรายการอางอิงท่ีเอกสารประกอบการสอนเลมน้ัน ๆ อางถึง ผูเขียน ตองจดั เรียงรายการอางอิงทุกรายการท่ปี รากฏในเลมเอกสารลงไวใ นบรรณานุกรม โดยเรยี งลาํ ดบั ตาม ตัวอักษร ก-ฮ แลวตามดวย A-Z และใชหลักเกณฑการเขียนบรรณานุกรมท่ีถูกตอง (ใชหลักเกณฑ ตามทปี่ รากฏในบทที่ 7) ดงั ตัวอยางที่ 3.13 ตวั อยางที่ 3.13 การเขียนบรรณานุกรม บรรณานกุ รม ตัวหนา ขนาด 20 พอยต กําจดั เกตุสวุ รรณ. (2538). ความรูพื้นฐานเกยี่ วกบั การวิจยั . ลพบรุ :ี คณะครศุ าสตร สถาบนั ราชภัฏเทพสตร.ี การศกึ ษานอกโรงเรียน, กรม. (2538). ชุดวชิ าวจิ ยั ทางการศึกษานอกโรงเรยี น เลมท่ี 9 การออกแบบการวจิ ัย. กรุงเทพฯ: ประชาชน. เกษม สาหรายทิพย. (2540). ระเบยี บวธิ วี ิจยั . กรุงเทพฯ: นิวเสรนี คร. คณะกรรมการการวิจยั แหงชาต,ิ สํานักงาน. (2542). แนวทางการปฏิบตั ิจรรยาบรรณนักวิจัย. ม.ป.ท. จันทรพ ร พรหมมาศ. (2541). ผลการใชวิธีวงจรการเรียนรใู นการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรทีม่ ตี อ สัมฤทธ์ิผลและพฤติกรรมการเรียนวิทยาศาสตรข องนกั เรยี นมัธยมศึกษาตอนตน. วิทยานิพนธป รญิ ญาดษุ ฎีบัณฑติ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั . ชํานาญ รอดเหตุภัย. (2553). การวิจยั ทางภาษาไทย. พิมพคร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ: ส. เอเชยี เพรส. ชัยพร วิชชาวุธ. (2530). “บทนาํ สกู ารวจิ ยั การศึกษา” ใน ไพฑูรย สินลารัตนและสําลี ทองธวิ , บรรณาธิการ. การวิจัยทางการศกึ ษา : หลักและวธิ กี ารสาํ หรบั นกั วจิ ยั . หนา 1-25. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. 34

ภาคผนวก ภาคผนวก คอื สวนเพิม่ เตมิ ที่ไมเ กี่ยวเนอ่ื งกบั เน้ือหาโดยตรง แตผูเขียนพิจารณาแลววาจะมี ประโยชนต อ ผอู าน ท้งั น้จี ะมีหรือไมมีก็ได ความแตกตา งของเอกสารประกอบการสอนและเอกสารคาํ สอน จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั (มปป) อธิบายถงึ ความแตกตางของเอกสารประกอบการสอนและ เอกสารคําสอนวา เอกสารประกอบการสอน หมายถึง เอกสารหรือส่งิ อ่ืนๆ ทีใ่ ชประกอบการสอนวิชา ใดวิชาหนึง่ ตามหลักสตู รของมหาวิทยาลยั ที่สะทอ นใหเ ห็นเนื้อหาวิชาและวิธกี ารสอนอยางเปน ระบบ เอกสารคาํ สอน หมายถงึ เอกสารคาํ บรรยายหรือส่ิงอ่ืนๆ ที่ใชสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของ มหาวิทยาลัย ท่ีสะทอนใหเห็นเน้ือหาวิชาและวิธีการสอนอยางเปนระบบ และมีความสมบูรณกวา เอกสารประกอบการสอน ดังนั้นขอแตกตางจึงอยูท่ีเอกสารคําสอนมีความสมบูรณกวาเอกสาร ประกอบการสอน มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร (2553) มีขอ บงั คับมหาวิทยาลัยวาดวยการพิจารณาเอกสาร ประกอบการสอน เอกสารคําสอน โดยอธิบายคํานิยาม รูปแบบและการเผยแพรที่มีเน้ือความ เชน เดยี วกับประกาศคณะกรรมการขา ราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) เรอ่ื งหลกั เกณฑ และวิธีการพิจารณาแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา : 2560 หนา 51-67) แตไดเพิ่มเติมลักษณะคุณภาพของเอกสารประกอบการสอนและเอกสารคําสอนเปน 3 ระดบั ดงั ตอ ไปนี้ ลกั ษณะคุณภาพของเอกสารประกอบการสอน ระดับดี เปน เอกสารท่ีมีเนือ้ หาสาระทางวิชาการถูกตองสมบรู ณและทันสมัย มีแนวคิด การนําเสนอที่ชดั เจนเปนประโยชนตอ การเรียนการสอนในระดบั อุดมศึกษา ระดบั ดมี าก ใชเ กณฑเ ดยี วกบั ระดบั ดี และตอ ง 1. เสนอความรหู รือวิธกี ารทที่ ันสมัยตอ ความกา วหนา ทางวิชาการและเปน ประโยชนต อ วงวชิ าการ 2. สามารถนําไปใชอา งองิ หรอื นาํ ไปปฏิบัติได ระดบั ดเี ดน ใชเ กณฑเ ดียวกับระดบั ดีมาก และตอง 1. มีการกระตนุ ใหเกดิ ความคดิ และคนควา ตอเนื่อง 2. เปน ท่เี ชือ่ ถอื และยอมรับในวงวิชาการหรอื วิชาชีพ 35

ลักษณะคุณภาพของเอกสารคําสอน ระดับดี เปน เอกสารคําสอนที่มเี นอ้ื หาสาระทางวชิ าการถูกตองสมบูรณ เสนอความรูและ วชิ าการที่ทันสมัยตอ ความกา วหนาทางวิชาการ เปน ประโยชนตอการเรยี นการสอนใน ระดบั อดุ มศกึ ษา ระดบั ดีมาก ใชเกณฑเดยี วกบั ระดับดี และตอ ง 1. มีการวิเคราะห สอดแทรกความคดิ รเิ ริ่มและประสบการณห รือผลการวจิ ัยของ ผูเขยี นทเี่ ปน การแสดงใหเ หน็ ถงึ ความรทู เี่ ปน ประโยชนต อ การเรียนการสอน 2. สามารถนําไปใชอ า งอิงหรือนาํ ไปปฏบิ ัตไิ ด ระดับดเี ดน ใชเ กณฑเดียวกับระดบั ดมี าก และตอง 1. มีการกระตนุ ใหเ กิดความคดิ และคนควาตอเน่อื ง 2. เปน ทเ่ี ชือ่ ถือและยอมรบั ในวงวิชาการหรอื วชิ าชพี จากขอ บังคบั ของมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร (2553) เก่ียวกับลักษณะคุณภาพของเอกสาร ประกอบการสอนและเอกสารคาํ สอนขางตน จะเห็นความแตกตางท่ีชัดเจนในลักษณะคุณภาพระดับ ดีมากท่ีเอกสารคําสอนจะมีการวิเคราะห สอดแทรกความคิดริเริ่มและประสบการณหรือผลการวิจัย ของผูเขียนที่เปนการแสดงใหเห็นถึงความรูที่เปนประโยชนตอการเรียนการสอน ลักษณะคุณภาพ ดังกลาวอาจใชเปน แนวทางในการสรา งผลงานได แตอยา งไรกด็ สี าํ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ยงั ไมไ ดมปี ระกาศระบุลกั ษณะคุณภาพของเอกสารคาํ สอนทเ่ี ครง ครดั แตอ ยา งใด รูปแบบการเขียนเอกสารคาํ สอน เอกสารคําสอน คือผลงานทางวิชาการที่ใชสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของสถาบันท่ี สะทอนใหเห็นเนื้อหาวิชาท่ีสอน และวิธีการสอนอยางเปนระบบ โดยอาจพัฒนาขึ้นจากเอกสาร ประกอบการสอนจนมคี วามสมบูรณกวา เอกสารประกอบการสอน จดั เปน เครอ่ื งมือสําคญั ของผูเรียน ท่ีนาํ ไปศกึ ษาดว ยตนเองหรอื เพิ่มเติมขึน้ จากการเรยี นในวชิ านัน้ ๆ การกําหนดโครงรา งของรูปเลม เหมอื นเอกสารประกอบการสอน ยกเวน ขอความจากคําวา “เอกสารประกอบการสอน” ใหเ ปลย่ี นเปน “เอกสารคําสอน” และใหมีเน้อื หาละเอยี ดลกึ ซง้ึ มากกวา เอกสารประกอบการสอน 36

ตัวอยา งท่ี 3.14 ปกนอก เอกสารคําสอน รายวิชา .............................. ชื่อ สกุลผเู ขียน คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี 2556 ตัวอยางท่ี 3.15 ปกใน เอกสารคําสอน รายวิชา ......................... ชอื่ สกลุ ผูเ ขียน ……………………………. (วุฒกิ ารศกึ ษา) คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี 2556 37

ตัวอยางที่ 3.16 คาํ นาํ คํานาํ เอกสารคําสอนรายวชิ า การวิจยั ทางการศกึ ษา (1042401) นจ้ี ดั ทาํ ข้ึนเพ่ือประกอบการเรียนการสอนในรายวชิ า การวิจัยทางการศึกษา ซงึ่ เปนรายวิชาบังคบั ในหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี กําหนดใหเรียน 4 คาบตอ สัปดาห ไดแบง เน้ือหาในการเรียนการสอนออกเปน 15 บท มงุ เนน ใหนกั ศึกษามีความรูความสามารถในการวจิ ยั ทางการศึกษา การเรียบเรยี งเอกสารคําสอนเลมน้ี ผเู ขียนไดอาศยั ความรทู ไี่ ดเ รียนมาในสาขาน้โี ดยตรง ประสบการณใ นการสอน รวมท้ังการเปนวิทยากรบรรยายในสถานศึกษา การศกึ ษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสาร และตําราที่เก่ยี วของ เพ่อื ใหนักศึกษาไดม เี อกสารคําสอนท่ีเขยี นขึ้นตรงตามหลักสตู รไวใชอา นประกอบ รวมถึง การศึกษาดว ยตนเอง หากทา นทีน่ ําไปใชมขี อเสนอแนะ ผูเ ขียนยินดรี ับฟงและขอขอบคุณในความอนเุ คราะห นงเยาว อุทมุ พร ตัวอยา งที่ 3.17 แผนบริหารการสอนประจําวชิ าของเอกสารคําสอน แผนบริหารการสอนประจําวิชา รายวิชา การวิจัยทางการศึกษา (Educational research) รหสั วชิ า 1042401 จาํ นวนหนวยกิต 3 (2-2-5) คําอธิบายรายวิชา ความหมาย แนวคดิ และทฤษฎีที่เก่ยี วของ รูปแบบการวิจัย กระบวนการวิจัย การออกแบบการวิจัย การเขยี นโครงการวิจัย การคนควา ศึกษาเอกสารและงานวิจัยในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู เทคนิค และวธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมูล สถิติเพ่ือการวิจัย การวิเคราะหขอมูล การแปลผล และการสรุปผลงานการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การนําเสนอผลการวิจัย และการใชกระบวนการวิจัยในการแกปญหา การวิจัยใน ชนั้ เรยี น 38

ตัวอยางที่ 3.17 แผนบริหารการสอนประจาํ วิชาของเอกสารคาํ สอน (ตอ ) วัตถุประสงคทั่วไป 1. นักศกึ ษาสามารถอธิบายความรเู บื้องตนเกย่ี วกับการวิจัย จุดมุงหมายและประโยชนของการวิจัยได อยา งถูกตอง 2. นักศึกษาสามารถอธิบายรูปแบบของการวิจัยทางการศึกษา ขั้นตอนการดําเนินการวิจัยและ จรรยาบรรณของนักวจิ ยั ไดอ ยางถูกตอ ง 3. นกั ศึกษาสามารถกําหนดประเดน็ ปญ หา และวัตถุประสงคของการวจิ ยั ไดถูกตอง 4. นกั ศึกษาสามารถอธบิ ายจดุ มุง หมายและประโยชนของการทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ไดอ ยา งเหมาะสม 5. นักศึกษาเขาใจและสามารถกําหนดตัวแปร และเขียนสมมตฐิ านของการวจิ ัยไดอ ยางถูกตอ ง 6. นกั ศกึ ษาสามารถกําหนดประชากรและใชเ ทคนิคในการสมุ ตวั อยา งในการวิจยั ไดอยา งเหมาะสม 7. นกั ศึกษาสามารถบอกความหมาย หลักการ ขนั้ ตอนและเทคนิคการออกแบบการวจิ ัยไดถกู ตอง 8. นักศกึ ษาสามารถอธิบายวธิ กี ารวจิ ยั เชงิ ประวัตศิ าสตร การวิจัยเชิงบรรยาย และการวิจัยเชิงทดลอง ไดอยางถูกตอ ง 9. นักศกึ ษาสามารถเขยี นโครงการวิจัยและประเมนิ โครงการวิจยั ได 10. นักศกึ ษาสามารถอธิบายลกั ษณะของเครอื่ งมือ และเลือกใชเคร่อื งมอื ท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดอ ยางเหมาะสม 11. นกั ศึกษาสามารถใชสถติ บิ รรยายและสถติ อิ นุมานในการวจิ ยั ทางการศึกษาไดอ ยางถกู ตอง 12. นกั ศกึ ษาสามารถอธบิ ายสวนประกอบของรายงานการวิจยั และเขยี นรายงานการวิจยั ได 13. นกั ศกึ ษาสามารถจัดทาํ รายงานการวจิ ยั ทางการศึกษาได 14. นกั ศึกษาสามารถอธบิ ายแนวการประเมนิ การวิจัย ประเมินงานวิจัยและนําผลงานวิจัยไปใชอยาง ถกู ตอง 15. นักศึกษาเขา ใจและสามารถทําการวจิ ัยในช้นั เรียนไดอ ยา งถกู ตอ ง เนอ้ื หา 4 ชว่ั โมง 4 ชัว่ โมง บทที่ 1 ความรูพนื้ ฐานเกยี่ วกับการวจิ ยั ทางการศึกษา ความหมายของการวิจยั ทางการศกึ ษา วิธีการคนควาหาความรูค วามจริงของมนุษย จดุ มงุ หมายของการวจิ ัยทางการศกึ ษา ธรรมชาตขิ องการวจิ ยั ทางการศึกษา ประโยชนของการวิจยั ทางการศกึ ษา เนื้อหาของการวจิ ยั ทางการศึกษา ข้ันตอนการดําเนินการวจิ ัย จรรยาบรรณของนกั วจิ ยั สรุป บทท่ี 2 ประเภทของการวจิ ัย ประเภทของการวจิ ยั ที่นาํ มาใชทางการศึกษา 39

ตัวอยางที่ 3.17 แผนบริหารการสอนประจําวิชาของเอกสารคําสอน (ตอ ) การวจิ ยั เชิงบรรยาย/พรรณนา การวิจัยเชิงทดลอง สรุป บทที่ 3 การกําหนดประเด็นปญหาการวจิ ยั ทางการศึกษา 4 ชว่ั โมง 2 ช่ัวโมง ความหมายของปญ หาการวจิ ัย 2 ช่วั โมง 4 ชั่วโมง แหลง ท่ีมาของปญหาในการทําวิจัย องคป ระกอบของปญหาการวจิ ยั ที่ดี การเลอื กประเดน็ ปญ หาในการทาํ วจิ ยั ขอ บกพรองในการเลือกประเดน็ ปญหาในการทําวิจัย การต้งั ชอ่ื เรือ่ งในการวิจยั การเขยี นความเปนมาและความสาํ คัญของปญหา การเขยี นวัตถปุ ระสงคของการวิจัย สรุป บทท่ี 4 การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ นั ทเี่ กี่ยวขอ ง ความหมายของเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ ง จุดมงุ หมายของการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วของ ประโยชนของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขอ ง แหลงทีม่ าของเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ ง ขน้ั ตอนการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วของ หลักการเขียนเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ ง การนําเสนอกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ประโยชนของกรอบแนวคิดในการวจิ ยั สรุป บทที่ 5 ตัวแปรและสมมตฐิ านการวิจัย ความหมายของตัวแปร ประเภทของตัวแปร ความสัมพันธของตัวแปร การนยิ ามตัวแปร สมมตฐิ านการวิจัย สรุป บทที่ 6 ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง ความหมายของประชากรและกลุมตวั อยาง ลกั ษณะของกลุมตัวอยา งท่ีดี ประโยชนของการเลือกกลุมตัวอยา ง ขนั้ ตอนการสุม ตวั อยา ง เทคนคิ การสุมตัวอยา ง 40

ตวั อยางท่ี 3.18 แผนบรหิ ารการสอนประจําบทที่ 1 แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 1 ความรพู ืน้ ฐานเกีย่ วกับการวิจัยทางการศึกษา หัวขอเน้ือหาประจาํ บท 1. ความหมายของการวิจัยทางการศึกษา 2. วิธีการคน ควา หาความรคู วามจริงของมนุษย 3. จดุ มงุ หมายของการวิจัยทางการศึกษา 4. ธรรมชาติของการวิจยั ทางการศึกษา 5. ประโยชนข องการวิจยั ทางการศกึ ษา 6. เนอื้ หาของการวจิ ยั ทางการศกึ ษา 7. ข้นั ตอนการดําเนนิ การวจิ ัย 8. จรรยาบรรณของนกั วจิ ยั วัตถุประสงค 1. บอกความหมายของการวจิ ยั ทางการศึกษาได 2. อธบิ ายถงึ วิธกี ารคน ควาหาความรูค วามจริงของมนษุ ยไ ด 3. บอกจดุ มงุ หมายของการวิจยั ทางการศกึ ษาไดอยางถูกตอ ง 4. อธบิ ายถงึ ธรรมชาติของการวจิ ัยทางการศึกษาไดอยางถกู ตอ ง 5. บอกประโยชนของการวจิ ยั ทางการศกึ ษาไดอ ยางถกู ตอ ง 6. บอกเนื้อหาของการวจิ ัยทางการศกึ ษาได 7. บอกขนั้ ตอนการดาํ เนินการวิจัยไดอยา งถูกตองและรวู าขัน้ ตอนแตละขั้นตอนสาํ คญั อยา งไร 8. บอกจรรยาบรรณของนกั วจิ ัยไดอ ยางถกู ตอ ง กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. อาจารยอ ธบิ ายถงึ ความหมายของการวิจัยทางการศึกษา และวิธีการคนควาหาความรูความจริงของ มนุษยโ ดยใช Powerpoint 2. อาจารยอธิบายจุดมุงหมายของการวิจัย ธรรมชาติของการวิจัย และประโยชนของการวิจัยทาง การศึกษาโดยใช Powerpoint 3. แบงกลมุ นักศึกษาออกเปน 6 กลุมๆ ละเทาๆ กัน โดยปฏิบัตติ ามใบงานที่ 1 ดงั นี้ 3.1 ใหนกั ศึกษานาํ เสนอเก่ยี วกับกรอบของเน้ือหาของการวิจัยทางการศึกษา วาควรมีเนื้อหา เกี่ยวกับอะไรบาง 3.2 ใหแตละกลุมสง ตวั แทนออกมารายงานผลการปฏบิ ตั ิตามใบงานและรว มกันอภิปราย 3.3 อาจารยสรุป ซกั ถาม 4. ใหนักศึกษาศกึ ษาจรรยาบรรณของนกั วิจัย จากเอกสารคําสอนและตอบคําถามทบทวน 5. อาจารยสรุปความรูเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา และซักถามนักศึกษา รวมท้ังใหนักศึกษาตอบ คาํ ถามทบทวนใหห มดทุกขอ 41

ตัวอยางที่ 3.18 แผนบรหิ ารการสอนประจําบทที่ 1 (ตอ ) สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารคาํ สอน 2. Powerpoint 3. ใบงานที่ 1 การวดั และการประเมินผล 1. สงั เกตการณปฏิบตั ิงานกลุม 2. สังเกตการณอภิปรายและการนําเสนอในช้ันเรยี น 3. การซักถาม 4. ตรวจงานจากใบงาน 5. ตรวจแบบฝกหัด 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook