ก
ก บทสรุปผบู้ รหิ าร ความเป็นมาของการจัดทำ “การจัดการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการ Active leanning”เป็น กิจกรรมท่ี ครู กศน.ตำบลคลองเจด็ ได้มีบทบาทในการส่งเสริมการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน นักศึกษา กศน.อำเภอคลองหลวง ให้มคี วามรู้ความเข้าใจในการตระหนักถึงความสำคัญในการเรียนรู้ ในกระบวนการเรียน การสอน โดยใช้กระบวนการ Active leanning ไปใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างเหมาะสม โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ นกั ศึกษา กศน.ตำบลคลองเจด็ จำนวน 52 คน มีวธิ กี ารดำเนินการ โดยครผู ้สู อนได้สังเกตพฤติกรรม และปรบั เปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนการสอน กำหนดวิธีการเรียนรู้ กำหนดสื่อการเรยี นรู้ การกำหนดเนื้อหาการเรียนรู้ กำหนดระยะเวลาในการทำคลิปวีดีโอ การออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับแผนการเรยี นร้แู ละถา่ ยทำคลปิ วดี ีโอตามแผนการเรียนรู้ เพ่ือให้ได้สือ่ การ เรยี นการสอนที่มคี ณุ ภาพ ผลการปฏิบตั งิ านทด่ี ีBest Practice “การจดั การเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการ Active leanning” ผรู้ ับผิดชอบโครงการ ได้ดำเนนิ การตามระบบคณุ ภาพ PDCA มผี ลการดำเนนิ การ ดังน้ี 1. วางแผนการดำเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ 2. กำหนดแผนการจัดการเรียนของผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหา โดยผ่าน GooGleFoorm จำนวน 53 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 3. ผูเ้ รยี นมคี วามคิดเหน็ ตอ่ การเรียน โดยใช้กระบวนการ Active leanning โดยแยกเป็นเน้อหารายวิชา , ระยะเวลา, ความนา่ สนใจของคลิปวดี โี อ
ข คำนำ เอกสารฉบับนี้ ผู้จัดทำ จัดทำขึ้นเพ่ือ รายงาน Best practice “การจัดการเรียนการสอน โดยใช้ กระบวนการ Active leanning” ของนักศึกษา กศน.ตำบลคลองเจ็ด โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตร์ และ จุดเน้น การดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจำปี 2565 ตลอดจนบริบท ความ ตอ้ งการ กลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ี เพ่ือกำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินงาน กศน.ตำบลคลองเจ็ด ให้เป็นไปตาม เปา้ หมายทวี่ างไว้อย่างมีประสทิ ธิภาพ การจัดทำรายงาน Best practice “การจัดการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการ Active leanning ” กศน.ตำบลคลองเจ็ดเล่มนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี โดยความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมของนักศกึ ษา กศน.อำเภอ คลองหลวง และผเู้ กี่ยวขอ้ งรว่ มกันระดมความคิดเห็น โดยนำสภาพปัญหา และผลการดำเนินงานมาปรบั ปรงุ เพื่อ เพ่มิ ประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ของตำบลคลองหกเพ่ือสนองต่อความ ตอ้ งการของนกั ศึกษา กศน.อำเภอคลองหลวง ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงาน Best practice “การจัดการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการ Active leanning” กศน.ตำบลคลองเจ็ดเล่มนี้ จะเป็นแนวทางการดำเนินงานของบุคลากรและผู้ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และมีคุณภาพตาม เป้าหมาย ตลอดจนเปน็ ประโยชน์ต่อผ้เู กย่ี วข้องต่อไป นายไชยพฒั น์ นัยเนตร ครู กศน.ตำบลคลองเจ็ด
ค สารบญั หน้า คำนำ………………………………………………........................………...………………………...............…………. ก สารบัญ……………………………………………………....................................................……………………..... ข บทสรุปสำหรับผู้บริหาร.................................................................................................................. ค ความสอดคล้อง ความเป็นมาและความสำคัญ............................................................................... 1 วตั ถุประสงค์....................................................................................................................................2 ข้นั ตอนการดำเนินงาน................................................................................................................... 3 บทเรยี นทีไ่ ด้รับ....................................................................………………………………..........……….... 4 ปัจจยั แห่งความสำเรจ็ ..........................................................………………………………..........……….... 4
1 รายงานผลการปฏิบตั งิ านท่ีดี (Best Practice) ชื่อผลงาน .............การจัดกระบวนการเรยี นรู้ Active learning ที่เหมาะสมกับนกั ศึกษา........................ ผูเ้ สนอผลงาน ..............นายไชยพัฒน์ นยั เนตร....................................................... ตำแหนง่ ..............ครู กศน.ตำบลคลองเจด็ ...................................... สถานศึกษา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอคลองหลวง.................................. สังกัด สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ปทมุ ธานี................. 1. ความสอดคล้อง (ระบคุ วามสอดคลอ้ งท่ีเกย่ี วข้อง เช่น ยุทธศาสตร์และจุดเน้น การดำเนนิ งาน กศน. วิสยั ทัศน/์ พันธกิจ ระบบ ประกนั คุณภาพสถานศึกษา ฯลฯ) 3. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 3.3 ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรู้ที่ทันสมัยและมีประสทิ ธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับทุกคน สามารถ เรียนไดท้ ุกท่ี ทุกเวลา มีกิจกรรมทีห่ ลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพอ่ื พัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชน ในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ เชอ่ื มโยงความสมั พนั ธข์ องคนในชมุ ชน ไปสู่การจดั การความร้ขู องชมุ ชนอยา่ งย่งั ยืน 2. ความเป็นมาและความสำคัญ (ระบุเหตผุ ล ความจำเป็น ปญั หา หรือความตอ้ งการ แนวคดิ หลกั การสำคัญ ในการออกแบบผลงาน หรอื นวตั กรรมทน่ี ำเสนอ) การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นการกำหนดแนวทางยุทธศาสตรใ์ นการจัดการเรยี นรู้ โดยร่วมกันสร้าง รูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นท่ีองค์ ความรู้ ทักษะ ความเช่ียวชาญและสมรรถนะท่ีเกิดกับตัวผู้เรียน เพ่ือใช้ในการดำรงชีวิตในสังคมแห่งความ เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ท่ีพัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพ่ือทกั ษะ แห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ท่ีมีช่ือย่อว่า เครอื ข่าย P21 ซงึ่ ได้พัฒนากรอบแนวคิดเพ่ือการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะ ด้าน ความชำนาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพ่ือความสำเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทำงาน และการดำเนินชวี ิต กศน.ตำบลคลองเจ็ด จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา เพื่อผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและพฤติกรรมการแสดงออก จึงได้นำกะบวนการเรียนรูแบบ Active learning เพื่อนำมา ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับนักศึกษา จึงได้นำเอากระบวนการเรียนแบบ Active learning มาเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้
2 3. วัตถุประสงค์ (ระบวุ ัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดำเนินงานอยา่ งชัดเจน สอดคลอ้ งกับปญั หา ความต้องการ หรอื ความจำเป็น) 1. เพอ่ื วดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั ศกึ ษา รายนายมฮู มั หมดั ตะมี ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 2. เพ่อื ปรบั พฤติกรรมการในการแสดงออกของนักศกึ ษา 4. เป้าหมาย (ระบุตวั ช้ีวดั เชิงปรมิ าณ และ/หรอื เชิงคณุ ภาพ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากผลงานหรอื นวตั กรรม) เปา้ หมายเชิงปริมาณ นกั ศึกษารายนายมูฮัมหมัด ตะมี จำนวน 1 ราย เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ การจัดการบวรการเรยี นรูท้ เี่ หมาะสมกบั นกั ศึกษา สามารถพฒั นาความคิด และการกล้าแสดงออกได้ ซึง่ จะมีผลต่อผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นทดี่ ีขึน้ 5. ขั้นตอนการดำเนนิ งาน (ระบุกระบวนการ หรือวิธีการดำเนินงาน การนำไปใช้ โดยมีขนั้ ตอนตอ่ เน่ืองสมั พันธ์กันและสอดคล้อง กบั วตั ถปุ ระสงค์ โดยให้เห็นถงึ กระบวนการ PDCA) ส่วนแรกเขยี นเปน็ ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน กระบวนการพัฒนา บรรยายเปน็ ความเรยี ง แนวปฏบิ ัตทิ ีด่ ดี ้าน...................................................... เรื่อง....................................................................... มขี ้ันตอนการดำเนนิ การดังนี้ 1. ศกึ ษาสงั เกตพฤติกรรม ทกั ษะและการกระทำต่าง ๆ ทน่ี ักศกึ ษาแสดงออก ขอรายนายมูฮมั หมัด ตะ มี นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลคลองเจ็ด เป็นคนขยัน จิตอาสา ขี้อาย ไม่กล้า ตัดสินใจ และไมไ่ ว้ใจเพอ่ื นร่วมชน้ั เรยี น บอกทคี ่อยทำที 2. ครู กศน. สงั กตุ และพูดคยุ กับนักศึกษา สอบถามประวัตสิ ่วนตวั การเรยี นและการแสดงออก 3. ครู กศน.ตำบล จัดหากระบวนการท่ีเหมาะสมให้กับนักศึกษา เช่น การให้ทำร่วมกับเพ่ือนในชั้น เรยี น การใหเ้ ข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มของโครงการตา่ ง ๆ 4. ดำเนินการสง่ เสริมด้านการเรยี นรู้ และดา้ นการแสดงออก การมอบหมายงานในหน้าท่ีตา่ ง ๆ ของ กลุ่ม และต้องปฏบิ ตั ิตามกล่มุ การมอบหมายงาน การเป็นตวั แทนเพอ่ื น ๆ ในชั้นเรียน .................................................................................................................................................................................
3 ส่วนทีส่ องเขยี นลำดับข้นั ตอนการพฒั นา (Flow Chart) หรือรูปแบบ (Model) เพอ่ื ความชดั เจน P วางแผนหาวธิ กี ารและกิจกรรมท่ีเหมาะสมให้กับนักศกึ ษา เพื่อพฒั นาผลการเรยี นและ พฤติกรรมของนกั ศกึ ษา - สังเกตพฤตกิ รรม และการปฏิบตั ิตนของนกั ศกึ ษา - วางแผนในการจัดกระบวนการเรียนรูด้ ว้ ยวธิ ีการ Active Leaening D ครู กศน.ตำบล ดำเนินการจัดกจิ กรรมใหก้ บั นกั ศึกษาด้วยกระบวนการและวธิ ีการตา่ ง ๆ เพอ่ื ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น และการแสดงออกของนักศกึ ษา - การมอบหมายงาน หนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบ - การทำงานเป็นทมี - การสง่ นกั ศกึ ษาเข้าร่วมอบรมโครงการต่าง ๆ C จดั ทำเปน็ สรุปผลรายงานการจดั โครงการ/กิจกรรม นำเสนอผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาเห็นชอบและ เผยแพร่ตอ่ ไป A นำผลการสรุปโครงการมาปรบั ปรุงแกไ้ ข เพอ่ื เปน็ แนวทางการดำเนินงานครัง้ ตอ่ ไป
4 6. ผลการดำเนนิ งาน (ระบุผลสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวช้ีวัด หรือผลที่เกิดจากการนำไปใช้ คุณค่าของผลงานหรือ นวัตกรรมท่ีส่งผลต่อการพัฒนากับนักศึกษา สถานศึกษา ชุมชน หรือประสิทธิภาพในการทำงาน เป็นต้น และ ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับจากผลงานหรอื นวัตกรรม) จากการที่ ครูกศน.ตำบลคลองเจด็ ได้จดั กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมความรู้ในดา้ นตา่ ง ๆ ให้กบั นักศกึ ษา ราย นายมูฮัมหมัด ตะมี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ ปรับพฤติกรรมการ แสดงออกของนักศึกษา 7. บทเรยี นที่ไดร้ ับ (ระบุข้อสรปุ ข้อสงั เกต ข้อเสนอแนะ และขอ้ ระมัดระวงั ท่ีเปน็ แนวทางในการนำผลงานไปใช้ การพฒั นา ต่อหรือการดำเนนิ การใหป้ ระสบความสำเรจ็ มากยิง่ ขน้ึ ตอ่ ไป) จากการการจัดกระบวนการเรียนรู้ Active learning ที่เหมาะสมกับนักศึกษารายนายมูฮัมหมัด ตะมี นักศึกษาพัฒนาทางการเรียนที่ดีข้ึน และสามารถปรับพฤติกรรมการแสดงออกมาได้ดีข้ึน กล้าถาม กล้าเสนอ ความคดิ และผลการเรียนดขี ้นึ จากภาคเรียนท่ีผ่านมา 8. ปัจจยั แห่งความสำเรจ็ (ระบบุ ุคคล/หนว่ ยงาน/องคก์ ร/หรอื วธิ ีการ ที่ช่วยให้งานประสบความสำเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ มีประสทิ ธภิ าพ ส่งผลตอ่ คุณภาพของผลงานหรือนวัตกรรม) ปัจจัยแห่งความสำเร็จของนายมฮู ัมหมดั ตะมี เปน็ คนท่ีมจี ิตอาสา ชอบช่วยเหลือสังคมในช้ันเรียนและ กล่มุ นกั ศึกษาตามโครงการต่าง ๆ เป็นคนท่ชี อบเขา้ ร่วมกิจกรรม ครผู ู้สอน แนะนำและบอกล่าวเสมอ และนำเสนอในการคิดและการปฏิบัติ เพื่อให้นักศึกษาได้คิดและ ปฏิบัติตวั ด้วยตนเอง สถานศกึ ษา สถานศึกษาจัดโครงการ/กิจกรรมท่ีหลากหลาย การลงมือปฏิบัติ การทำกิจกรรมรว่ มของ กลุม่ ซงึ่ สามารถพฒั นาความคดิ การแสดงออกของนกั ศกึ ษา ทำให้นักศึกษากลา้ คิด กล้าทำ 9. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการพัฒนา (ให้ระบุแนวทางการนำแนวปฏิบตั ิที่ดีไปใช้ในการพัฒนางาน หรอื พฒั นากระบวนการทำงาน ควรเขยี น ในลักษณะเสนอแนะวธิ ีการปรบั ปรงุ /พฒั นางาน หรอื พฒั นากระบวนการทำงานใหด้ ขี ึ้น) การจัดกิจกรรมของสถานศกึ ษา ท่ีจัดโครงการ/กิจกรรมที่หลากหลาย การอ่าน การฟัง การดู และการ ลงมอื ปฏิบตั ิ สามารถพัฒนาความคิด การแสดงออกของนกั ศกึ ษา ทำให้ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนดีข้นึ 10. การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรบั /รางวัลท่ีได้รับ (ระบขุ ้อมลู ท่ที ำใหเ้ ห็นร่องรอย หลกั ฐานการเผยแพรผ่ ลงานหรอื นวัตกรรม และการยกยอ่ งชมเชย) ไม่มี
5 11. เอกสารอา้ งอิง (ระบุรายการอ้างองิ ทีป่ รากฏอยใู่ นเลม่ รายงาน) ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................ 12. ภาคผนวก (ร่องรอย หลกั ฐาน ภาพถ่าย ช้ินงาน ฯลฯ เพื่อให้เหน็ ความสมบรู ณ์ของข้อมูล) Active Learning คอื กระบวนการจัดการเรียนร้ทู ่ผี เู้ รยี นได้ลงมือกระทำและไดใ้ ช้กระบวนการคิด เกี่ยวกับส่ิงที่เขาได้กระทำลงไป เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้สมมติฐานพ้ืนฐาน 2 ประการคือ 1) การเรยี นรู้เปน็ ความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์, และ 2) แต่ละบคุ คลมีแนวทางในการเรียนรู้ทแ่ี ตกต่าง กัน โดยผู้เรียนจะถูกเปล่ียนบทบาทจากผู้รับความรู้ (receive) ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ (co- creators) Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนอย่างหนึ่ง แปลตามตัวก็คือเป็นการเรียนรู้ผ่านการ ปฏิบัติ หรือการลงมือทำซ่ึง ”ความรู้“ ท่ีเกิดข้ึนก็เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ กระบวนการในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ทผี่ ู้เรยี นต้องได้มีโอกาสลงมือกระทำมากกว่าการฟงั เพียงอย่างเดยี ว ต้องจัดกิจกรรมใหผ้ เู้ รยี น ได้การเรยี นรโู้ ดยการอา่ น, การเขียน, การโตต้ อบ, และการวเิ คราะห์ปัญหา อีกท้ังให้ผูเ้ รียนได้ใชก้ ระบวนการคิด ข้นั สงู ได้แก่ การวิเคราะห์, การสังเคราะห์, และการประเมนิ คา่ ดังกล่าวนั่นเองหรือพูดให้ง่ายข้ึนมาหน่อยก็คือ หากเปรียบความรู้เป็น ” กับข้าว ” อย่างหน่ึงแล้ว Active learning ก็คือ ” วิธีการปรุง ” กับข้าวชนิดนั้น ดังน้ันเพื่อให้ได้กับข้าวดังกล่าว เราก็ต้องใช้วิธกี ารปรุง อันนี้แหละแต่ว่ารสชาติจะออกมาอย่างไรก็ขึ้นกับประสบการณ์ความชำนาญ ของผู้ปรุงน่ันเอง ( ส่วนหน่ึงจาก ผูส้ อนใหป้ รุงดว้ ย ) “เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนร้อู ย่างมีความหมาย โดยการรว่ มมือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ในการน้ี ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความรู้แก่ผู้เรียนโดยตรงลง แต่ไปเพ่ิมกระบวนการและ กิจกรรมทจ่ี ะทำให้ผู้เรยี นเกดิ ความกระตือรือร้นในการจะทำกิจกรรมต่างๆ มากข้นึ และอย่างหลากหลาย ไม่ว่า จะเปน็ การแลกเปลยี่ นประสบการณ์ โดยการพูด การเขยี น การอภปิ รายกับเพอ่ื นๆ” กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทำให้ผู้เรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้มากและ นานกว่ากระบวนการเรยี นรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรยี นรู้ Active Learning สอดคลอ้ งกบั การ ทำงานของสมองท่ีเกี่ยวขอ้ งกับความจำ โดยสามารถเก็บและจำสิ่งท่ีผู้เรียนเรยี นรู้อย่างมีส่วนร่วม มีปฏิสมั พันธ์ กับเพ่ือน ผู้สอน ส่ิงแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บจำในระบบความจำระยะยาว (Long Term Memory) ทำใหผ้ ลการเรยี นรู้ ยงั คงอย่ไู ดใ้ นปรมิ าณทม่ี ากกว่า ระยะยาวกวา่ ซึ่งอธบิ ายไว้ ดังรูป กระบวนการเรียนรู้ Passive Learning
6 - กระบวนการเรยี นรู้โดยการอา่ นท่องจำผู้เรยี นจะจำไดใ้ นสิง่ ที่เรียนได้เพียง 10% - การเรียนร้โู ดยการฟังบรรยายเพียงอยา่ งเดียวโดยท่ผี ู้เรยี นไม่มโี อกาสได้มีส่วนรว่ มในการเรยี นรดู้ ว้ ย กิจกรรมอืน่ ในขณะทีอ่ าจารย์สอนเมอ่ื เวลาผ่านไปผ้เู รยี นจะจำไดเ้ พยี ง 20% - หากในการเรยี นการสอนผู้เรียนมโี อกาสไดเ้ ห็นภาพประกอบดว้ ยก็จะทำให้ผลการเรยี นรูค้ งอยู่ได้ เพ่ิมขึ้นเป็น 30% - กระบวนการเรยี นรู้ท่ผี ู้สอนจดั ประสบการณ์ให้กับผูเ้ รียนเพ่ิมขนึ้ เชน่ การใหด้ ูภาพยนตร์ การสาธติ จดั นทิ รรศการให้ผู้เรียนได้ดู รวมทัง้ การนำผเู้ รียนไปทัศนศึกษา หรือดูงาน กท็ ำใหผ้ ลการเรยี นรู้ เพิม่ ขน้ึ เปน็ 50% หนึ่งในเทคนิคสำคัญท่ีนำมาใชส้ อดแทรกไปกับเน้ือหาการเรียน คือ 5 เสต็ปส์พัฒนาการเรียนการสอน เร่มิ จาก 1. การต้ังคำถาม 2. การแสวงหาความรู้สารสนเทศ 3. สร้างองค์ความรู้ 4. เรียนรเู้ พ่ือการสื่อสาร และ 5. การ ตอบแทนสังคม นำความรไู้ ปเผยแพร่
1
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: