Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดำเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน กศน.

คู่มือการดำเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน กศน.

Published by KruChaiwat, 2022-11-11 09:41:58

Description: คู่มือการดำเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน กศน.

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ตามพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 มาตรา ๙ กาหนดให้กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าท่ีส่งเสริมและสนับสนุนงานของคณะลูกเสือแห่งชาติ รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินการ ของสานักงานลูกเสือแห่งชาติ สานักงานลูกเสือจังหวัด สานักงานลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษา และหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง และมาตรา 15 ให้ผู้อานวยการสานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน (เลขาธิการ กศน.) เป็นคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ โดยตาแหน่ง รวมทั้งกาหนดให้ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด (สานักงาน กศน.จังหวัด) เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการสานักงาน ลูกเสอื จังหวดั สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้เล็งเห็นความสาคัญ ในการจัดกิจการลูกเสือ จึงจัดทาคู่มือการดาเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. ซึ่งเป็น กิจกรรมสาคญั ในการพัฒนาคนใหม้ ีระเบียบวนิ ัย ความเสยี สละ ความรับผิดชอบ ความอดทน ความซื่อสัตย์ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีของบ้านเมือง โดยมีสาระสาคัญ ในการบริหารกิจการลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. ซ่ึงแสดงให้เห็นกระบวนการจัดการเรียน การสอนวิชาลูกเสือ การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมท้ัง การจัดการสถานที่ ส่อื อุปกรณท์ จี่ าเป็นต่อการดาเนินงาน สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวงั เป็นอย่างยิ่งว่าค่มู ือ เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. ทั้งนี้ขอขอบคุณ คณะทางานและผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง ทีไ่ ดร้ ่วมกันจดั ทาคู่มอื เลม่ นใี้ ห้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ข คำชแ้ี จง คูม่ ือการดาเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. เล่มน้ี เป็นเอกสารท่จี ัดทาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. ได้นาไปใช้ในการบริหารกิจการ ลูกเสือและจัดกระบวนการลูกเสือในสถานศึกษา โดยเน้อื หาสาระของคู่มือเล่มนี้ได้แบ่งสาระสาคัญออกเป็น 4 สว่ น ประกอบด้วย ส่วนท่ี 1 กิจการและนโยบายของงานลูกเสือ มีเนื้อหาเกี่ยวกับสาระสาคัญของการลูกเสือ และนโยบายของงานลกู เสอื ส่วนที่ 2 การบริหารและการดาเนินงานลูกเสือ มีเน้ือหาเก่ียวกับโครงสร้าง คณะกรรมการบริหารลูกเสือ การบริหารงานลูกเสือในหน่วยงานและสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. การพัฒนาบุคลากรทางการลกู เสือ ส่วนที่ 3 การจัดกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. มีเนื้อหาเก่ียวกับ รายวิชาลูกเสือ กศน. การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยกระบวนการลูกเสือ รูปแบบค่าย และการบูรณาการลูกเสอื กบั การพฒั นาคุณภาพชวี ติ (กพช.) ส่วนที่ 4 การส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ปฏิบัติกิจกรรมลูกเสือ และบทกาหนดโทษ นอกจากน้ีสามารถเข้าถึงข้อมูลอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยผ่านระบบ QR - CODE เช่น พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 ระเบียบ/ข้อบังคับ/ประกาศคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ หลกั เกณฑ์ การเบิกจ่ายเงินอดุ หนนุ ของสานักงาน กศน. เป็นตน้ ....................................................................

สำรบญั เร่อื ง หนำ้ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 ก คานา ข คาชแ้ี จง 1 สว่ นที่ 1 กิจกำรและนโยบำยของงำนลูกเสอื 1 1 1. องค์การลูกเสือโลก 3 2. สาระสาคญั ของการลูกเสือ 4 3. ประโยชนข์ องการลูกเสอื 5 4. สานกั งานลูกเสือภาคพืน้ เอเชีย-แปซิฟิก 6 5. นโยบายรัฐบาล 7 6. นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 8 7. นโยบายสานักงานลูกเสือแห่งชาติ 8. นโยบายสานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในการดาเนินงานลกู เสอื ในสถานศึกษา สงั กัดสานกั งาน กศน. ส่วนที่ 2 กำรบริหำรและกำรดำเนนิ งำนลกู เสือ 9 1. โครงสร้างคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ (แผนภูมโิ ครงสรา้ ง) 9 2. โครงสร้างคณะกรรมการบริหารลกู เสือจังหวัด (แผนภูมโิ ครงสร้าง) 10 3. โครงสรา้ งคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือเขตพน้ื ที่การศึกษา (แผนภมู ิโครงสรา้ ง) 11 4. โครงสร้างการบริหารงานลกู เสือ กศน. (แผนภูมิโครงสร้าง) 12 5. การบรหิ ารกิจการลกู เสือในสถานศกึ ษา สงั กัดสานักงาน กศน. 12 6. การบริหารงานลกู เสือในสถานศึกษา สงั กัดสานักงาน กศน. 14 6.1 โครงสร้างการจดั ตั้งกองลูกเสือในสถานศกึ ษา สังกดั สานักงาน กศน. 14 6.2 การจัดตั้งกองลกู เสอื ในสถานศกึ ษา สังกัดสานกั งาน กศน. 15 6.3 แบบฟอรม์ ทีใ่ ช้ในกองลกู เสอื ในสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงาน กศน. 15 6.4 การแตง่ เครอ่ื งแบบลกู เสือ กศน. 16 7. โครงสรา้ งการพฒั นาบคุ ลากรทางการลูกเสือ 21 7.1 การฝึกอบรมบคุ ลากรทางการลูกเสือ 21 7.2 การเพ่ิมศกั ยภาพการบรหิ ารจัดการและการดาเนินงานในกิจการลูกเสือ กศน. 22

สำรบัญ (ตอ่ ) เรือ่ ง หนำ้ สว่ นที่ 3 กำรจัดกจิ กรรมลูกเสือในสถำนศึกษำ สงั กัดสำนักงำน กศน. 23 กิจกรรมลูกเสือในสถานศกึ ษา สังกัดสานักงาน กศน. 23 1. การลงทะเบียนเรยี นชดุ วิชาลกู เสือ กศน. รายวชิ าเลอื กบงั คับ 24 1.1 รายวิชาลูกเสือ กศน. ระดับประถมศกึ ษา 24 1.2 รายวิชาลกู เสือ กศน. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 26 1.3 รายวิชาลกู เสือ กศน. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 28 2. การจัดกจิ กรรมลูกเสอื กับการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 31 2.1 รปู แบบการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นด้วยกระบวนการลูกเสือ 31 2.2 การเตรยี มการจัดกจิ กรรมค่ายลูกเสือ 34 2.3 การดาเนนิ การระหวา่ งจดั ค่ายฝกึ อบรม 42 2.4 การดาเนนิ การหลงั เสร็จสิน้ ค่ายฝกึ อบรม 43 2.5 รายละเอยี ดการจัดกจิ กรรมค่ายลกู เสอื 43 3. การจัดกจิ กรรมลกู เสือกบั การพฒั นาคุณภาพชวี ติ (กพช.) 61 3.1 หลักการทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ติ (กพช.) 62 3.2 องค์ประกอบกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต 62 3.3 การจัดกิจกรรมตอ่ เน่อื ง 63 ส่วนที่ 4 การสง่ เสรมิ และยกย่องเชดิ ชูเกยี รติผูป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมลูกเสือ 65 1. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 65 2. เข็มลกู เสือ 67 3. การคดั เลือกผู้บรหิ าร ผสู้ อน และผ้สู นบั สนนุ กิจการลูกเสือดีเดน่ 68 4. เขม็ ลกู เสอื เสมาเชิดชเู กียรติ 69 5. บทกาหนดโทษ 69 บรรณำนุกรม ภำคผนวก QR – Code รายละเอียดการจัดกิจกรรมลกู เสอื ในวิชาต่าง ๆ กรอบการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น แนวทางการจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น สงั กัดสานกั งาน กศน. (เพมิ่ เติม) หลักเกณฑ์การเบิกจา่ ยเงนิ อุดหนุนของสานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั คาสัง่ คณะทางาน ผู้รับผดิ ชอบ

ส่วนที่ 1 สว่ นที่ 1 กิจกำรและนโยบำยของงำนลกู เสอื 11. อ. งอคงก์ คำก์รลำูกรเลสูกอื เโสลอืกโลก องค์การลูกเสือโลก (World Organization of the Scout Movement : WOSM) เป็นองคก์ าร นานาชาติที่ไม่ใช่องค์การรัฐบาลใด เป็นองค์การอาสาสมัคร กอ่ ตั้งในปี พ.ศ. 2463 มีสานักงานลูกเสือโลก (World Scout Bureau) ต้งั อยทู่ เ่ี มอื งเจนวี า ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประกอบด้วย 3 องคก์ รหลัก คือ 1) สมัชชำลูกเสือโลก คือ ทปี่ ระชุมใหญ่ ประกอบดว้ ยผู้แทนของประเทศสมาชกิ มาร่วม ประชุมกันทกุ ๆ 3 ปีตอ่ ครงั้ 2) คณะกรรมกำรลูกเสอื โลก คือ คณะกรรมการทีท่ าหน้าท่บี รหิ ารองคก์ ารลกู เสือโลก 3) สำนักงำนลูกเสือโลก คือ สานักงานเลขาธิการลูกเสือโลก เป็นศูนย์ประสานงาน ระหว่างองค์การลกู เสอื สมาชกิ ท่ัวโลก 22. ส.ำสรำะรสะำสคญัำคขัญองขกอำรงลกกูำเรสลือูกเสือ องค์การลูกเสือโลก สามารถดารงอยู่ได้ด้วยความมีเอกภาพ (Unity) และเป็นแกนกลาง ให้องค์การสมาชิกฯ ท่ัวโลก ได้พัฒนากิจการลูกเสือของตนให้มีความก้าวหน้า เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน ของชาติ เป็นพลเมืองดีที่มคี วามรับผดิ ชอบต่อตนเอง และประเทศชาติได้ โดยอาศัยสาระสาคัญของกิจการ ลกู เสือ ซง่ึ ประกอบดว้ ย 2.1 วตั ถุประสงค์ สานักงานลูกเสือโลก ได้กาหนดวัตถุประสงค์ของขบวนการลูกเสือไว้ในธรรมนูญ ของการลูกเสือ คือ การช่วยให้เยาวชนได้รับการพัฒนาศักยภาพทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ และสังคม ให้สมบูรณ์อย่างเต็มท่ีและเป็นรายบุคคล เพ่ือให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และเป็นสมาชิกที่ดี ของทอ้ งถนิ่ ของชาติ และของชุมชนระหว่างประเทศ 2.2 วิธีกำรลูกเสือ สานักงานลูกเสอื โลก เสนอแนะไวใ้ นธรรมนูญของการลูกเสือ ใหป้ ระเทศสมาชิกใช้วิธีการ ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของการลูกเสือ (Scout Method) เป็นเคร่ืองมือในการให้ความรู้และพัฒนาเด็ก และเยาวชนอย่างตอ่ เน่ือง เพ่ือให้เป็นพลเมืองดีตามวถิ ีลูกเสอื ประกอบด้วยองคป์ ระกอบ ดงั น้ี 1) คำปฏิญำณและกฎ (Promise and Law) การจัดกิจกรรมฝึกอบรมลูกเสือทุกประเภทให้ยึดคาปฏิญาณและกฎของลูกเสื อ เปน็ หลักการสาคญั ในการจดั กจิ กรรมเพอ่ื สรา้ งความเปน็ พลเมืองดีตามวถิ ีลกู เสือ 2) เรียนรดู้ ้วยกำรกระทำ (Learning by Doing) การเรียนรู้โดยการทา หมายถึง การจัดกิจกรรมให้ลูกเสือได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ จริง เป็นประจา 3) ธรรมชำติและกิจกรรมกลำงแจ้ง (Nature and the Outdoors) การใช้ธรรมชาติและกิจกรรมกลางแจ้งเป็นสื่อในการจัดกิจกรรมจะช่วยส่งเสริม การเรียนรู้ และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและโลกธรรมชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด คมู่ อื การดาเนินงานลกู เสือในสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งาน กศน. 1

กองลูกเสือจึงควรให้ความสาคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรมให้ลูกเสือสัมผัสกับธรรม ชาติและกิจกรรม กลางแจ้ง 4) ระบบหมู่ (Patrol System) ระบบหมู่เป็นวิธีในการพัฒนาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความเป็นผู้นา ใหเ้ ดก็ และเยาวชนไดท้ างานเป็นทีม พัฒนาความรับผิดชอบ และเกดิ ผลสาเรจ็ ในการทางานรว่ มกัน 5) กิจกรรมสญั ลักษณ์ (Symbolic Framework) กิจกรรมสัญลักษณ์ลูกเสือ เป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ีช่วยเสริมสร้างความภาคภูมิใจ และประสานความสมั พันธ์ความเปน็ หม่พู วกให้บรรลเุ ป้าหมายได้อย่างมีคุณภาพ 6) กำรสนับสนุนของผ้ใู หญ่ (Youth Leading, Adults Supporting) การพัฒนาเด็กและเยาวชนให้สัมฤทธ์ิผล ต้องได้รับการสนับสนุนและชี้นา จากบุคลากรทางการลูกเสือทุกระดับ และผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญที่สุดคือผู้กากับกองลูกเสือที่ต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทกั ษะและเจตคติท่ดี ี เพอื่ ชนี้ าใหล้ กู เสือในกองของตนเองสามารถจดั การตนเองได้ และพฒั นา ตนเองในทุกดา้ น 7) กำรฝกึ อบรมทต่ี อ่ เนอ่ื งและกำ้ วหน้ำ (Personal Progression) ลูกเสือแต่ละคนพึงได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างต่อเนื่องและก้าวหน้า ตามความถนัด ความสนใจ การจัดกิจกรรมผ่านประสบการณ์ที่หลากหลาย และมุ่งเน้นไปที่ความท้าทาย ของแตล่ ะบคุ คลจะทาให้ลูกเสอื ม่นั ใจและมานะพยายามอย่างเตม็ ที่เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายท่ดี ีทีส่ ดุ 8) กำรมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน (Community Involvement) การมีส่วนร่วมของชุมชนจะเป็นปัจจัยสาคัญที่สนับสนุนให้ลูกเสือเห็นความสาคัญ ของชมุ ชน และช่วยสง่ เสริมให้ลกู เสอื มีความมุ่งมั่นและสานึกความรับผิดชอบในการอุทิศตนเพ่ือการบริการ และเป็นสมาชิกท่ดี ีของชุมชน 2.3 กำรจดั กจิ กรรมลกู เสือ สานกั งานลูกเสือโลก เสนอแนะวิธีจดั กิจกรรมลูกเสือไว้ 10 วธิ ี ดังน้ี 1) การอภิปรายกลมุ่ 2) การประชมุ กล่มุ ยอ่ ย 3) การระดมสมอง 4) การอภิปรายเปน็ คณะ 5) การบรรยาย 6) การสอนแบบฐาน 7) การสาธิต 8) การศกึ ษารายกรณี ๙) การสวมบทบาท 10) การแบง่ กล่มุ ปฏบิ ตั ิงานตามโครงการ 2.4 หลกั กำรสำคญั ของกำรลูกเสือ ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ (B.P.) ไดก้ าหนดหลกั การสาคญั ของการลกู เสอื ไว้ 8 ประการ ดงั นี้ 1) ลูกเสือเป็นผู้มีศาสนา 2) ลกู เสอื มคี วามมคี วามจงรักภักดีตอ่ ชาตบิ า้ นเมือง 3) ลกู เสอื มีความเชอื่ มน่ั ในมติ รภาพและความเป็นภราดรภาพของโลก 4) ลูกเสือเป็นผู้บาเพ็ญประโยชนต์ ่อผ้อู ื่น 5) ลูกเสอื เป็นผู้ยดึ มนั่ และปฏบิ ตั ิตามคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ 6) ลกู เสือเป็นผ้อู าสาสมัคร คมู่ ือ การดาเนนิ งานลูกเสอื ในสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งาน กศน. 2

7) ลูกเสือยอ่ มไมเ่ กยี่ วข้องกับการเมือง 8) มีกาหนดการพิเศษสาหรบั การฝึกอบรมโดยอาศยั วธิ ีการ - ระบบหมู่ ระบบกลุม่ - มีการทดสอบเปน็ ข้ัน ๆ ตามระดบั ของหลักสตู ร - เครอื่ งหมายวชิ าพิเศษ - กิจกรรมกลางแจ้ง วิธีการลูกเสือท่ีจะบรรลุถึงจุดหมาย หรืออุดมการณ์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ คือ การจัด ให้มีการฝึกอบรมท่ีก้าวหน้า สนุกสนาน ดึงดูดใจ โดยอาศัยคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือเป็นบรรทัดฐาน มผี ใู้ หญเ่ ป็นผคู้ อยใหค้ าแนะนา 3.3ป. รปะรโยะชโยนช์ขนองข์ กอำงรกลกูำเรสลือูกเสอื การลูกเสือได้กาหนดไว้เพ่ือหวังที่จะพัฒนาเยาวชนให้เป็นลูกเสือท่ีมีการศึกษานอกแบบ ช่วยเสริมการศึกษานอกโรงเรียนในด้านความประพฤติ นิสัยใจคอ สติปัญญา ความมีระเบียบวินัย สุขภาพ และพลัง การมีฝมี ือและทกั ษะ หน้าทพ่ี ลเมือง และการบาเพ็ญประโยชน์ตอ่ ผู้อ่ืน โดยกาหนดไว้ในวิสัยทัศน์ แผนกลยทุ ธข์ องลกู เสอื โลก ดงั นี้ 3.1 วิสัยทศั น์ ในปี 2566 เกิดข้ึนในงานประชุมสมัชชาลูกเสือโลก ครั้งที่ 40 ณ เมืองลูบลิยานา ประเทศสโลวีเนีย ปี 2557 ดังนี้ “ภายในปี 2566 กิจการลูกเสือจะเป็นส่วนสาคัญของโลกในการขับเคลื่อนการศึกษา ของเยาวชน สร้างเยาวชนกว่า 1 ล้านคน ให้เป็นพลเมืองที่มีประสิทธิภาพ ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลง ทีม่ ีประโยชนต์ ่อชุมชนและโลก โดยมพี ื้นฐานจากคา่ นิยมรว่ มกัน” 3.2 แผนกลยทุ ธ์ ประกอบดว้ ย 6 ขอ้ ดังนี้ 3.2.1 การมีสว่ นร่วมของเยาวชน ควรเปิดโอกาสให้เยาวชนได้พัฒนาทักษะ ความรู้ และเพิ่มขีดความสามารถ ของตนเอง เพื่อให้เป็นส่วนหน่ึงในการขับเคล่ือนชุมชน อีกท้ัง การได้มีส่วนร่วม ได้รับรู้ และได้แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันระหว่างวัยนั้น จะเป็นส่วนสาคัญในการนามาทากรอบแนวทางให้กับสมาชิกเยาวชน ทงั้ หลาย 3.2.2 แนวทางการศกึ ษา ควรจดั โครงการสาหรบั เยาวชน ใหม้ สี ภาพแวดลอ้ มในการเรยี นรูท้ ่ีไมเ่ ปน็ ทางการ มากนัก เสริมสร้างขีดความสามารถของตนเองให้สามารถเผชิญกับอุปสรรค และความท้าทายในอนาคตได้ ท้ังนี้ กิจการลูกเสือควรสร้างให้เยาวชนรู้สึกสนใจในกิจการลูกเสือ จัดให้มีการฝึกอบรมอย่างสม่าเสมอ และรกั ษาคณุ ภาพของอาสาสมัครผูใ้ หญ่ เพื่อจัดโครงการเยาวชนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป 3.2.3 ความหลากหลายและการยอมรบั ความแตกตา่ ง ควรสะท้อนให้เห็นถึงสังคมที่เป็นอยู่ และทางานอย่างตั้งใจ เพ่ือต้อนรับทุกคน อย่างเท่าเทียม กล่าวคือ ความแตกต่างทางสังคมนี้ ไม่เพียงแต่สะท้อนให้เห็นผลลัพธ์ของการจัดการ ของสมาชกิ ลกู เสอื แตย่ งั สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ วธิ ีการและแผนงานทเี่ ลือกมาใช้ในการขบั เคล่ือนอีกด้วย 3.2.4 ผลลัพธ์ทางสงั คม ลูกเสือทุกคน ควรมีส่วนร่วมในการบริการชุมชน และแบ่งปันประสบการณ์ ระหว่างกัน เพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้อื่นผ่านทางกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน ทั้งน้ี ลูกเสือ ไดช้ ว่ ยเหลอื ชมุ ชนของตนเอง และกลายเป็นผนู้ าในการเปลีย่ นแปลงที่มีประโยชนต์ ่อชมุ ชน คมู่ อื การดาเนนิ งานลูกเสอื ในสถานศึกษา สงั กัดสานกั งาน กศน. 3

3.2.5 การสือ่ สาร และความสมั พันธภ์ ายนอก ผลงานของกิจการลูกเสือ ควรแสดงให้เห็นภาพท่ีชัดเจนในส่ิงที่ทา และมีเหตุผล ที่ทา เพ่ือสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมร่วมกัน ผ่านทางการใช้วิธีการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพท่ีสุด และสร้างเครือข่ายพันธมิตรท่ีเหมาะสม อีกทั้ง กิจการลูกเสือควรได้รับการขนานนามว่าเป็นส่วนสาคัญ ในการขับเคล่อื นเยาวชน 3.2.6 ธรรมมาภบิ าล ธรรมมาภิบาลของสานักงานลูกเสือโลก ควรโปร่งใส มีความรับผิดชอบ มีประสิทธิภาพ และชัดเจน เชื่อมโยงกับกลยุทธ์ทั้งหมดท่ีต้ังไว้ และมุ่งเน้นให้เห็นถึงผลที่ได้รับ จากความสาเร็จของภารกจิ และวสิ ัยทัศน์ บทบาทและความรบั ผดิ ชอบในระดับต่าง ๆ ของสานักงาน ควรมี การกาหนด และทาความเข้าใจในแผนการต่าง ๆ อย่างชัดเจน เพื่อให้ม่ันใจว่าสามารถตอบโจทย์ กลุ่มเปา้ หมายได้ ซงึ่ การกระทาดังกล่าวจะไดร้ ับความร่วมมือจากทกุ ระดับในสานักงานลกู เสือโลก พร้อมกับ อัตราสว่ นของ \"ผลตอบแทนจากการลงทุน\" ที่สงู อีกด้วย 44. ส. ำสนำกั นงักำนงำลนกู เลสูกือเภสำือคภพำื้นคเอพเชน้ื ียเอ–เชแียปซ-ฟิ แกิ ปซิฟิก กิจการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก เป็นส่วนงานหน่ึงในสานักงานลูกเสือโลก ภายใต้องค์การลูกเสือโลก ซ่ึงมีสานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองมาคาติ ประเทศฟิลิปปินส์ โดยมีสานักงานย่อย ในประเทศออสเตรเลีย และประเทศญี่ปุ่น ทั้งน้ี กิจการลูกเสือภาคพ้ืนเอเชีย – แปซิฟิก ครอบคลุมพ้ืนที่ ตง้ั แต่เอเชยี ใต้ของไซบีเรีย ไปจนถึงตะวนั ออกของเอเชียกลาง และพ้ืนทส่ี ว่ นใหญใ่ นแอ่งน้าแปซฟิ ิก กิจการลูกเสอื ภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก ก่อตั้งข้ึนในปี พ.ศ. 24๙๙ โดยเร่ิมตน้ จากการมีสมาชิก จานวนเพียง 10 คน จนได้กาเนิดสานักงานลูกเสือแห่งชาติในประเทศต่าง ๆ ในภาคพ้ืนเอเชีย – แปซิฟิก จานวน 2๙ ประเทศสมาชิก โดย 15 แห่ง เป็นสานักงานลกู เสือท่ีมขี นาดใหญ่ของโลก ประเทศอินโดนีเซีย มีสมาชิกจานวนถึง 17 ล้านคน ในปี 2551 จึงทาให้มีสมาชิกลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก มีจานวน มากกว่า 30 ลา้ นคน ถึงแม้ในแต่ละประเทศจะมีความแตกต่างด้านทรัพยากร ด้านวัฒนธรรม ด้านเชื้อชาติ และด้านทรัพยากรทางเทคโนโลยี กิจการลกู เสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก ยังคงเคารพสิทธิของทุกประเทศ และทกุ คน พร้อมสนับสนนุ และช่วยเหลือทุกประเทศ เพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องกิจการฯ ผู้ดารงตาแหนง่ ประธานลูกเสือภาคพืน้ เอเชยี – แปซิฟิก ในปัจจุบัน ได้แก่ นาย Ahmad Rusdi ประเทศอินโดนีเซีย และผู้อานวยการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก ได้แก่ นาย Jose Rizal Pangilinan ประเทศฟิลปิ ปินส์ ท้ังนี้ กิจการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก ยังคงเติบโตอย่างต่อเน่ือง และมีศักยภาพ ในการขยายจานวนสมาชิกลูกเสือต่อไปในอนาคต ซ่ึงภาคพ้ืนเอเชีย – แปซิฟิกนั้น ครอบคลุมพ้ืนที่ท้ังหมด 21 ล้านตารางกิโลเมตร โดยวัดจากทางเหนือของประเทศมองโกเลีย ถึงทางใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ และทางตะวนั ตกของประเทศปากีสถาน ถงึ ทางตะวันออกของประเทศเฟรนช์โปลินเี ซีย 4.1 หลกั ธรรมมำภิบำล กิจการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก มีกลยุทธ์ในการบริหารงาน โดยคณะกรรมการ ลกู เสือภาคพ้ืนเอเชีย – แปซิฟิก ที่ได้รับการเลือกตั้งจากการประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพื้นเอเชีย - แปซิฟิก ซ่ึงมีผู้เข้าร่วมประชุมดังกล่าวน้ี เป็นผู้นาจากสานักงานลูกเสือประเทศต่าง ๆ ท่ีเป็นสมาชิก จานวนทั้งหมด 2๙ ประเทศ คูม่ ือ การดาเนนิ งานลกู เสือในสถานศึกษา สงั กดั สานกั งาน กศน. 4

4.2 ธรรมนญู ของลกู เสอื ภำคพ้ืนเอเชยี – แปซิฟิก การดาเนินงานของกิจการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิกน้ัน อยู่ภายใต้ธรรมนูญ และกฎหมายของลูกเสือภาคพนื้ เอเชีย – แปซฟิ กิ โดยมีพน้ื ฐานมาจากธรรมนญู ขององคก์ ารลกู เสือโลก 4.3 กำรประชมุ สมัชชำลกู เสือภำคพื้นเอเชยี – แปซิฟกิ การประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพื้นเอเชีย - แปซิฟิกน้ัน เป็นการประชุมเกี่ยวกับกิจการ ลูกเสือโลก ซึ่งจัดข้ึนทุก ๆ 3 ปี มีวัตถุประสงค์เพ่ือหารือ และรายงานผลเกี่ยวกับการดาเนินงาน ในช่วงปี ก่อนหน้านี้ เพื่อประเมินผลลัพธ์ของวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ อีกท้ัง ในที่ประชุมได้จัดการเลือกตั้ง 6 คณะกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย - แปซิฟิก สนับสนุนและช่วยเหลือด้านการประสานงานต่าง ๆ พร้อมท้งั สง่ เสรมิ ดา้ นความสามคั ครี ะหว่างสานักงานลกู เสือแต่ละประเทศ 4.4 ข้อกำหนดในธรรมนูญ และกฎหมำยของภำคพ้นื เอเชยี - แปซิฟิก โดยมีบทบาทดงั นี้ 1) เพ่ือส่งเสริมกิจการลูกเสือภาคพ้ืนเอเชีย – แปซิฟิก โดยการส่งเสริมให้เกิด ความสามัคคี ความเป็นเอกภาพ ความร่วมมือกัน และการช่วยเหลือซ่ึงกันและกันระหว่างสานักงานลูกเสือ ในแต่ละประเทศ 2) เพื่อดาเนินงานตามบทบาทหน้าท่ี ท่ีกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน ๆ ทีใ่ ชค้ วบคมุ กิจการลกู เสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก 3) เพื่อให้ม่ันใจว่ามีการดาเนินงานตามหลักการ และนโยบายท่ีเหมาะสม โดยองค์การ ลูกเสือโลกเป็นผ้กู าหนด มีผลบงั คับใช้ในกจิ การลูกเสือภาคพน้ื เอเชีย – แปซฟิ ิก 4) เพื่อทาหน้าที่เป็นคณะที่ปรึกษาของคณะกรรมการลูกเสือโลกในเรื่องของนโยบาย ศีลธรรมหรอื หลักการที่มผี ลกระทบต่อกิจการลูกเสือภาคพืน้ เอเชยี – แปซิฟิก 4.5 คณะผปู้ ระสำนงำนลูกเสือเยำวชน (YAMG) การประชุมอภิปรายลูกเสือเยาวชนภาคพื้นเอเชีย - แปซิฟิก มีลูกเสือเยาวชน จานวน 6 คน ได้รับการคัดเลือกเป็นคณะผู้ประสานงานลูกเสือเยาวชน เป็นระยะเวลา 3 ปี โดยมีหน้าท่ี เป็นท่ีปรึกษาเยาวชนให้กับคณะกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก ประธานของคณะ จะได้ดารง ตาแหน่งเป็นหนึ่งในคณะกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก และสมาชิกที่เหลือจะได้รับการแต่งตั้ง ให้เป็นคณะอนุกรรมการภาคพ้ืนเอเชยี – แปซิฟิก ฝ่ายต่างๆ ซ่ึงเยาวชนเหล่าน้ี มีอายุระหวา่ ง 18 - 26 ปี ในวันท่ีไดร้ บั การเลือกต้ัง และเป็นตัวแทนจากประเทศตา่ ง ๆ ท่ีไม่ซา้ กัน 55. .นนโยโยบบำยำรยัฐรบฐั ำบลำล ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) มีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรมฐาน ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัยให้เปน็ คนดี เก่ง และมีคณุ ภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเตบิ โต บนคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง 2) ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั 3) ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 4) ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม คมู่ ือ การดาเนินงานลกู เสอื ในสถานศึกษา สงั กัดสานกั งาน กศน. 5

5) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม 6) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ซ่ึงประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ 4.1 การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยมวัฒนธรรม ที่พึงประสงค์ โดยบูรณาการร่วมกันระหว่าง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา และส่ือ” ในการหล่อหลอมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม ในลักษณะท่ีเป็น “วิถี” การดาเนินชีวิต และ ข้อ 4.1.2 การบูรณาการเร่ืองความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา โดยให้สถานศึกษาสอดแทรกการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และการมีจิตสาธารณะเข้าไปในทุกสาระวิชา และในทุกกิจกรรม รวมทั้งปรับสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาให้เอ้ือต่อการมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ รวมถึงการรกั ษาขนบธรรมเนยี มและประเพณีอันดีงาม 66. .นนโยโยบบำยำกยรกะรทะรทวงรศวกึ งษศำกึ ธษกิ ำรธิกำร ตามพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 มาตรา ๙ กาหนดให้กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าท่ี ส่งเสริมและสนับสนุนงานของคณะลูกเสือแห่งชาติ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินการของสานักงานลูกเสือแห่งชาติ สานักงานลูกเสือจังหวัด สานักงานลูกเสอื เขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษาและหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือให้การจัดกิจกรรมลูกเสือ เป็นไปอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และตามมาตรา 15 ให้มีคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรบริหารของคณะลูกเสือแห่งชาติ ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปน็ ประธานกรรมการ โดยมีอานาจหน้าที่ ตามมาตรา 17 ดังนี้ 1) ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ และตามนโยบายของสภา ลูกเสือไทย 2) สง่ เสรมิ ความสมั พนั ธก์ บั คณะลกู เสอื นานาชาติ 3) สนับสนนุ และสง่ เสริมให้มีการพัฒนาบคุ ลากรทางการลูกเสือ 4) สนับสนนุ ใหม้ กี ารจดั กิจกรรมอยา่ งตอ่ เน่ือง 5) จัดการทรัพยส์ ินของสานักงานลกู เสอื 6) ใหค้ วามเหน็ ชอบในการลงทุนเพ่อื ประโยชนข์ องสานกั งานลูกเสอื แห่งชาติ 7) ออกข้อบังคับของคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติตาม ที่ระบุไว้ใน พระราชบญั ญตั นิ ีโ้ ดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา 8) วางระเบยี บและแนวทางปฏิบัตเิ กย่ี วกับกจิ การลูกเสือ ๙) จัดทารายงานประจาปเี สนอสภาลูกเสอื ไทยพิจารณาตามมาตรา 12 (3) 10) แต่งตงั้ ท่ีปรกึ ษาคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแหง่ ชาติ 11) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการบริหาร ลูกเสือแห่งชาตมิ อบหมาย 12) กากับดแู ล สนบั สนุน และสง่ เสรมิ กจิ การลกู เสอื ชาวบ้าน 13) จดั ต้งั ตาแหนง่ กิตติมศกั ดิ์ และตาแหน่งอืน่ ใดทมี่ ิไดร้ ะบุไว้ในพระราชบัญญัตนิ ้ี 14) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ การบริหารลกู เสอื แหง่ ชาติหรือตามทีค่ ณะรฐั มนตรีมอบหมาย คมู่ อื การดาเนินงานลกู เสือในสถานศึกษา สังกดั สานักงาน กศน. 6

77. .นนโยโยบบำยำสยำสนำักนงำกั นงลำูกนเลสูกือแเสหือ่งแชำหตง่ ิ ชำติ สานักงานลูกเสือแห่งชาติ เป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบกิจการลูกเสือของชาติ มีฐานะ เป็นนิติบุคคล อยู่ในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 เม่ือวันท่ี 5 มีนาคม 2551 มีหน้าที่อานาจ ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ และตามนโยบายของสภาลกู เสอื ไทย รวมทัง้ มีอานาจหน้าทีด่ ังตอ่ ไปน้ี 1) ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของคณะลกู เสือแห่งชาตแิ ละตามนโยบายของสภาลูกเสือไทย 2) ถือกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในทรัพย์สินของคณะลูกเสือแห่งชาติ หรอื ดาเนนิ การใด ๆ เกย่ี วกบั ทรพั ยส์ ิน 3) ทานติ กิ รรมสัญญาหรือข้อตกลงอืน่ 4) รับผดิ ชอบการดาเนินงานของคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แห่งชาติ 5) ควบคุมดูแลกิจการลูกเสือไทยให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบของทาง ราชการ และคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แห่งชาติรวมท้งั ถูกต้องตามแบบธรรมเนียมของลกู เสือ 6) จดั ให้มกี ารฝกึ อบรมหรือการชุมนมุ ลกู เสือ ผู้บงั คบั บญั ชาลูกเสือและเจา้ หน้าทล่ี กู เสือ 7) จัดทารายงานประจาปีพรอ้ มงบดุลเสนอคณะกรรมการบริหารลูกเสอื แห่งชาติ 8) จัดให้มที ะเบียนและสถติ ิต่าง ๆ เกย่ี วกับลูกเสือ ๙) ประสานและส่งเสริมสานักงานลูกเสือจังหวัดและสานักงานลูกเสือเขตพื้นที่ การศึกษา 10) ปฏิบัติตามที่กาหนดไว้ในข้อบังคับและตามมติของคณะกรรมการบริหารลูกเสือ แหง่ ชาติ 7.1 วิสยั ทัศน์ มุ่งพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดี มีคณุ ภาพ 7.2 ค่ำนยิ มองค์กร : SCOUT Sincerity ความจริงใจ Courtesy ความสุภาพออ่ นโยน Obedience ความเชอ่ื ฟัง การปฏบิ ตั ติ นตามกฎ ระเบยี บ Unity ความเปน็ นา้ หน่ึงใจเดยี วกัน ความเปน็ เอกภาพ Thrifty ความประหยัด การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินงาน และชวี ิตสว่ นตวั 7.3 พนั ธกจิ 1) พัฒนาหลักสูตรและกจิ กรรมการฝึกอบรมลกู เสือ 2) ปรับปรงุ พัฒนาค่ายลูกเสอื และกจิ การลูกเสือ 3) บรหิ ารจดั การทรพั ย์สนิ และสิทธปิ ระโยชนข์ องลกู เสอื 4) พฒั นามาตรฐานบคุ ลากรทางการลูกเสือและเครอื ขา่ ย 5) ปรับปรงุ และพัฒนาการบริหารจดั การ QR Code พ.ร.บ. ลูกเสอื พ.ศ. 2551 คมู่ อื การดาเนินงานลูกเสอื ในสถานศึกษา สังกดั สานกั งาน กศน. 7

88. .นนโยโยบบำยำสยำสนำกั นงำกั นงสำง่นเสร่งิมเสกรำมิรศกึกำษรำศนึกอษกำรนะบอบกแรละะบกบำรแศลึกะษกำำตรำศมกึ อษัธยำำตศำยั มอธั ยำศยั ในในกกำรำดรำดเนำเนิ นงนิำนงำลนูกเลสกูือเใสนือสใถนำนสศถกึำษนำศกกึ ศษนำ. สังกดั สำนกั งำน กศน. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้กาหนดหลักสูตร วิชาลูกเสือ กศน. เป็นวิชาบังคับเลือกในสถานศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย และได้กาหนดให้การจัดกิจกรรมลูกเสือเป็นกจิ กรรมหนึ่งของกรอบการจัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จดุ ประสงค์ของการฝึกอบรมวชิ าลกู เสอื วิสามัญ ในพระราชบัญญัติลกู เสือ พ.ศ. 2528 ได้กาหนดไว้ ในมาตราท่ี 35 ว่า ลูกเสือท่ีเป็นหญิงอาจจะใช้ช่ือเรียกว่า เนตรนารี ซึ่งได้ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ และบรรดาคาว่า \"ลูกเสือ\" ในพระราชบัญญัตินี้ ให้หมายถึงลูกเสือ ทเ่ี ปน็ หญิงดว้ ย ลกู เสอื และเนตรนารีมีธรรมเนยี มและกิจกรรมเหมอื นกนั การฝึกอบรมลูกเสือวิสามัญ เป็นการจัดให้เยาวชนที่กาลังศึกษาอยู่ในมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา เพ่ือเป็นการชักจูงให้คนวัยหนุ่มสาวได้ประพฤติปฏิบัติตน อยู่ในขบวนการลกู เสอื โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ดังนี้ 1) เพือ่ เปน็ การส่งเสริมความเปน็ พลเมอื งดขี องเยาวชน 2) เพ่ือให้คนวัยหนุ่มสาวได้บรกิ ารชุมชนและบรกิ ารคณะลกู เสือแหง่ ชาติ 3) เพื่อเปน็ การจดั ประสบการณต์ า่ ง ๆ ทมี่ ปี ระโยชน์และทา้ ทายความสามารถ 4) เพ่อื เปิดโอกาสให้เยาวชนไดม้ กี ารพฒั นาศกั ยภาพของตนเอง 5) เพ่อื ใหเ้ ยาวชนสามารถดารงชวี ิตอยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ และมปี ระสิทธิภาพ 6) เพื่อให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการพัฒนาชุมชน สังคม ประเทศชาติ ตามอุดมการณข์ องคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ อุดมการณ์ของลูกเสือวิสามัญ คือ \"บริการ\" ลกู เสอื วสิ ามัญจงึ ตอ้ งพฒั นาตนเองใหไ้ ปสอู่ ดุ มการณ์ เพ่ือจะได้เป็นพลเมืองดี มีคุณภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ ท่ีได้ตราไว้ ในพระราชบัญญัติลกู เสอื (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2528 มาตรา 7 ซงึ่ ระบวุ ่า \"คณะลูกเสอื แหง่ ชาติมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรมให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ ช่วยสร้างสรรค์สังคมให้มีความเจริญก้าวหน้า เพื่อความสงบสุขและม่ันคงของประเทศชาติ\" ตามแนวทาง ต่อไปนี้ 1) ให้มีนิสัยในการสังเกต จดจา เชือ่ ฟงั และพง่ึ ตนเอง 2) ให้ซอ่ื สัตย์สุจริต มรี ะเบียบวินยั และเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ น่ื 3) ให้ร้จู ักบาเพญ็ ตนเพ่อื สาธารณประโยชน์ 4) ให้ร้จู กั ทาการฝีมือและฝกึ ฝนให้ทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 5) ให้รู้จักรักษา และส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และความม่ันคงของ ประเทศชาติ ท้งั นโ้ี ดยไม่เกี่ยวข้องกบั ลัทธิการเมอื งใด ๆ คู่มอื การดาเนินงานลูกเสอื ในสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งาน กศน. 8

ส่วนท่ี 2 สว่ นที่ 2 กำรบริหำรและกำรดำเนนิ งำนลูกเสอื 1.1โ.คโรคงสรงร้ำสงรค้ำณงคะกณระรมกกรำรรมบกรำิหรำบรลรหิูกเำสรอื ลแกู หเ่งสชอื ำแติห(แง่ ชผนำตภิูม(โิ แคผรงนสภรูม้ำงิโ)ครงสรำ้ ง) คณะกรรมกำรลกู เสอื แห่งชำติ ประธำน รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ รองประธำน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมกำรโดยตำแหนง่ กรรมกำรผ้ทู รงคุณวุฒิ 1. เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา จานวน ไมเ่ กนิ 15 คน (วาระ 4 ปี) 2. เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 3. เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรรมกำรและเลขำนุกำร 4. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เลขาธกิ ารสานกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ 5. เลขาธกิ ารสภากาชาดไทย 6. ผู้อานวยการสานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรยี น* (รองปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ) 7. ผู้อานวยการสานักบรหิ ารงานการศึกษาเอกชน 8. ผ้อู านวยการศนู ย์ปฏบิ ัติการลกู เสอื ชาวบ้าน ผชู้ ว่ ยเลขำนกุ ำร *ข้อ 6 ยังเปน็ ชือ่ ตามพระราชบญั ญตั ิลูกเสอื พ.ศ. 2551 รองเลขาธกิ ารและผชู้ ่วยเลขาธกิ าร ที่ยังไม่ได้มีการปรับปรุงแก้ไข สานักงานลกู เสือแหง่ ชาติ คมู่ อื การดาเนนิ งานลูกเสือในสถานศึกษา สังกดั สานักงาน กศน. 9

22. โ.คโรคงรสงรส้ำรงคำ้ งณคะณกระรกมรกรำมรบกรำหิรำบรรลหิ ูกำเสรือลจูกงั เหสวือัดจัง(แหผวนัดภูม(แิโคผรนงสภรมู ำ้ ิโงค)รงสรำ้ ง) คณะกรรมกำรลกู เสอื จังหวดั ประธำน ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั รองประธำน รองผวู้ ่าราชการจังหวดั กรรมกำรโดยตำแหน่ง กรรมกำรประเภทผู้แทน 1. ปลดั จังหวัด 1. ผแู้ ทนสถาบนั อดุ มศึกษา 2. นายกเหล่ากาชาดจงั หวดั 2. ผู้แทนสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 3. ผบู้ ังคบั การตารวจภูธรจงั หวดั 3. ผแู้ ทนคา่ ยลูกเสือจงั หวดั 4. นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั 4. ผู้แทนสมาคมหรือสโมสรลูกเสือ 5. นายอาเภอ 5. ผแู้ ทนจากลกู เสือชาวบา้ น 6. นายกเทศมนตรี 7. นายกสมาคมการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั กรรมกำรและเลขำนกุ ำร 8. ผู้อานวยการสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาเขต 1 กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมกำรและผ้ชู ่วยเลขำนุกำร จานวนไมเ่ กิน 10 คน (วาระ 4 ปี) ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวัด* *ยังเป็นชอื่ ตามพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 ที่ยังไม่ไดม้ ีการปรับปรุงแก้ไข หมำยเหตุ เอกสารอา้ งองิ พระราชบัญญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2551 หมวด 2 การปกครองสว่ นท่ี 2 คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ และสานักงานลูกเสือแหง่ ชาติ QR Code พ.ร.บ. ลกู เสือ พ.ศ. 2551 คูม่ อื การดาเนินงานลูกเสอื ในสถานศึกษา สังกดั สานกั งาน กศน. 10

33. โ.คโรคงรสงรส้ำรงค้ำงณคะณกระรกมรกรำมรบกรำหิรำบรรลิหกู ำเสรอืลเูกขเตสพอื น้ื เขทีก่ตำพรื้นศึกทษก่ี ำำร(แศผึกนษภำมู ิโ(คแรผงนสรภ้ำมู งโิ)ครงสรำ้ ง) คณะกรรมกำรลูกเสอื เขตพื้นที่กำรศกึ ษำ ประธำน ผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา กรรมกำรโดยตำแหน่ง กรรมกำรประเภทผู้แทน ผู้กากับการสถานีตารวจภูธรของทุกอาเภอ 1. ผู้แทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือผู้กากับการสถานีตารวจ 2. ผแู้ ทนสถานศึกษาในสงั กดั เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา นครบาลของทุกสถานีในเขตพื้นที่การศึกษาของ 3. ผู้แทนสถานศึกษาเอกชน กรงุ เทพมหานคร 4. ผู้แทนสถานศึกษาอาชวี ศึกษา 5. ผแู้ ทนสถาบันอดุ มศกึ ษา กรรมกำรและเลขำนกุ ำร 6. ผู้แทนศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอ* รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา 7. ผแู้ ทนค่ายลูกเสอื 8. ผแู้ ทนสมาคมหรือสโมสรลกู เสือ ท่ีได้รับมอบหมาย *ข้อ 6 ยังเป็นชอ่ื ตามพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 ทย่ี งั ไมไ่ ด้มกี ารปรบั ปรุงแก้ไข ผชู้ ่วยเลขำนกุ ำร ให้ผู้อานว ยการสานักงานเขตพื้นที่ กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสานักงานเขตพื้นที่ จานวนไม่เกิน 7 คน (วาระ 4 ปี) การศกึ ษาอีกไม่เกินสองคน หมำยเหตุ เอกสารอา้ งอิง พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 หมวด 2 การปกครองส่วนที่ 2 คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ และสานกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ QR Code พ.ร.บ. ลกู เสอื พ.ศ. 2551 คมู่ ือ การดาเนนิ งานลกู เสือในสถานศึกษา สงั กดั สานกั งาน กศน. 11

44. โ.คโรคงรสงรส้ำรงก้ำำงรกบำรริหบำรริหงำำนรลงำูกนเสลอื กู กเสศนือ. ก(แศผนน.ภ(ูมแโิ ผคนรงภสูมรโิำ้ คง)รงสรำ้ ง) เลขำธกิ ำร กศน. กล่มุ ส่งเสริมกจิ กำรกำรศกึ ษำ กลมุ่ งำนส่งเสริม และเครอื ข่ำย กจิ กำรนักศึกษำ สำนักงำน กศน.จงั หวัด/กทม. กลุ่มงำนสง่ เสริมปฏิบตั กิ ำร กศน.อำเภอ/เขต กลุ่ม/กองลกู เสือ กศน.อำเภอ/เขต 5๕. ก. ำกรำบรรบิหรำหิรกำิจรกกำิจรกลำูกรเสลือูกใเนสสอื ถใำนนสศถกึ ำษนำศสึกังษกัดำสสำนงั กั งัดำสนำกนศักนง.ำน กศน. สานักงาน กศน. โดยเลขาธิการ กศน. ซึ่งเป็นคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ มอบหมาย ให้กลุ่มส่งเสริมกิจการการศึกษาและเครือข่าย โดยกลุ่มงานส่งเสริมกิจการนักศึกษา มีภารกิจดาเนินการ เกี่ยวกับกิจการลูกเสือ เพื่อให้การจัดกิจกรรมลูกเสือของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. ดาเนินไปด้วย ความเรยี บรอ้ ย จงึ ได้กาหนดบทบาทหน้าท่ใี นการดาเนินกจิ กรรมลกู เสือ กศน. ดังน้ี 1) ส่วนกลำง ประกอบด้วย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยกลุ่มส่งเสริมกิจการการศึกษาและเครือข่าย มีหน้าท่ีในการสนับสนุน ส่งเสริม กาหนด นโยบาย การขับเคลื่อนงานลูกเสือ กศน. ตลอดจนกากับดูแล ติดตาม และรายงานผลการดาเนินงาน ใหส้ านกั งาน กศน. ทราบ 2) ส่วนภูมิภำค ประกอบด้วย สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. และ กศน.อาเภอ/เขต มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน กากับดูแล ติดตามการดาเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา และรายงานผลการดาเนนิ งานมายังสว่ นกลางท่ีกลุ่มสง่ เสรมิ กิจการการศึกษาและเครอื ขา่ ย 5.1 บทบำทหน้ำทีข่ องสำนกั งำน กศน. 1) กาหนดนโยบาย 2) สง่ เสริม สนบั สนนุ การพัฒนาบุคลากรทางการลูกเสือ 3) สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การกจิ การลกู เสอื กศน. 4) สง่ เสริม สนบั สนุน การจดั งานชุมนมุ ลูกเสือ กศน. ระดบั จงั หวัด ระดบั ภาค 5) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การเข้าร่วมงานชมุ นมุ ลูกเสอื ทกุ ระดับ 6) จดั ทาขอ้ มูลระบบสารสนเทศ กิจการลกู เสอื กศน. 7) นเิ ทศ ติดตามผล ประเมนิ ผล รายงานผลการดาเนินงาน 8) สร้างขวัญ กาลงั ใจ และยกยอ่ งเชิดชเู กียรตใิ หก้ ับลกู เสอื และบคุ ลากรทางการลูกเสือ ค่มู อื การดาเนินงานลูกเสือในสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งาน กศน. 12

5.2 บทบำทหน้ำที่ของสำนกั งำน กศน.จังหวดั /กทม. ตามพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 มาตรา 33 กาหนดให้ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด (ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด) เป็นคณะกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ สานักงานลกู เสือจงั หวัด มหี น้าที่ 1) นานโยบายสู่การปฏบิ ัติ ท้งั ระดบั จงั หวดั และสถานศึกษา 2) จัดหรอื สง่ เสริม สนับสนนุ การพัฒนาบคุ ลากรทางการลูกเสอื 3) สง่ เสริม สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการกจิ การลูกเสอื กศน. 4) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีกองลูกเสือ กศน. ตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือ แห่งชาติ 5) ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดงานชุมนุมลูกเสือทกุ ระดบั 6) จดั ทาข้อมลู ระบบสารสนเทศ กจิ การลูกเสือ กศน. 7) รายงานผลการดาเนนิ งาน 8) สร้างขวัญ กาลงั ใจ และยกยอ่ งเชิดชูเกียรตใิ ห้กบั ลูกเสือและบคุ ลากรทางการลูกเสือ 5.3 บทบำทหนำ้ ทขี่ อง กศน. อำเภอ/เขต 1) จัดทาแผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื ใหส้ อดคล้องกับนโยบายที่กาหนด 2) ดาเนนิ การตามแผน ดังนี้ 2.1) จัดให้มกี องลกู เสือในสถานศกึ ษา 2.2) จัดฝึกอบรมลูกเสือ ตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสตู รและวิชาพเิ ศษลูกเสอื แตล่ ะประเภท 2.3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 2.4) สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรม ที่นากระบวนการลูกเสือไปใช้ต่อการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ซ่ึงเป็นกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของสถานศึกษา และเป็นกิจกรรม พฒั นาคุณภาพชวี ติ 2.5) นาลูกเสือเขา้ ร่วมงานชุมนุมลูกเสือทกุ ระดับ 2.6) จัดทาขอ้ มูลระบบสารสนเทศ กจิ การลกู เสือ กศน. 2.7) ติดตาม ประเมนิ ผล 2.8) สรปุ และรายงานผลการดาเนินการจดั กจิ กรรมตามลาดับ 2.๙) สร้างขวัญ กาลังใจ และยกย่องเชิดชูเกียรติให้กับลูกเสือและบุคลากร ทางการลูกเสือ คมู่ อื การดาเนนิ งานลกู เสือในสถานศึกษา สงั กัดสานกั งาน กศน. 13

6๖. ก. ำกรำบรรบหิ รำิหรงำำรนงลำกูนเลสกูอื ใเสนอืสถในำนสศถกึ ำษนำศสกึ ังษกำดั สสำังนกักดั งำสนำกนศักนง.ำน กศน. 6.1 โครงสร้ำงกำรจดั ตงั้ กองลูกเสือในสถำนศกึ ษำ สงั กดั สำนกั งำน กศน. ผู้อำนวยกำรลูกเสือโรงเรยี น คุณวฒุ ิ W.B./A.T.C. ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ กลมุ่ ลกู เสอื คุณวฒุ ิ W.B./A.T.C. ผ้กู ำกับกลมุ่ ลกู เสือ อำยไุ ม่นอ้ ยกว่ำ 25 ปี รองผกู้ ำกับกล่มุ ลูกเสอื กองลกู เสือ กองลกู เสือ กองลกู เสือ กองลกู เสือ ผ้กู ำกับกองลูกเสือ คณุ วุฒิ B.T.C รองผูก้ ำกบั กองลกู เสอื อำยไุ ม่น้อยกว่ำ 25 ปี นำยหมู่ รองนำยหมู่ ลกู เสอื หมู่ หมู่ หมู่ หมู่ จำนวนลูกเสอื ตำมประเภทของลูกเสือ หมำยเหตุ 1. กองลกู เสือ ประกอบดว้ ยสมาชกิ จานวน 2 - 6 หมู่ 2. กลมุ่ ลูกเสือ จานวน 1 กลุ่ม ประกอบด้วย กองลกู เสือ จานวน 4 กอง 3. เอกสารอ้างอิง ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการแต่งต้ัง ผ้บู งั คับบญั ชาลกู เสอื (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2563 QR Code ระเบียบข้อบงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแหง่ ชาติ ว่าดว้ ยการแต่งต้ังผูบ้ ังคับบญั ชาลกู เสอื (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2563 คมู่ อื การดาเนนิ งานลกู เสือในสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงาน กศน. 14

6.2 กำรจัดต้งั กองลกู เสอื ในสถำนศกึ ษำ สังกัดสำนักงำน กศน. การจัดตั้งกองลูกเสอื ในสถานศกึ ษา สังกัดสานกั งาน กศน. ดาเนินการตามพระราชบัญญัติ ลูกเสือ พ.ศ. 2551 หมวด 3 การจัดกลุ่ม ประเภท และตาแหน่งลูกเสือ ตามมาตรา 43 และมาตรา 64 ดังนี้ มาตรา 43 การตั้ง การยุบ การจัดหน่วยลูกเสอื เหล่าลูกเสือ และประเภทลูกเสือทงั้ ปวง ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทกี่ าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 44 การเข้าเป็นลูกเสือ การออกจากลูกเสือ การจัดประเภท ช้ัน เหล่า และการฝึกอบรมลูกเสือในสถานศึกษา หรือนอกสถานศึกษา ให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร ลกู เสือแห่งชาติ ในการจดั ตงั้ หนว่ ยลูกเสอื ในสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงาน กศน. ดาเนินการ ดังนี้ 1) รับสมคั รนักศึกษา กศน. เขา้ เป็นลูกเสือ โดยใช้แบบ ลส. 3 2) การจัดตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือ ตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือ แหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลกู เสือวิสามญั (ฉบบั ท่ี 15) พ.ศ. 252๙ กองลูกเสือวิสามัญ ประกอบด้วยลูกเสืออย่างน้อย 10 คน ไม่เกิน 40 คน อายุระหว่าง 16 – 25 ปี หรือกาลังเรียนอย่ใู นชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื ระดบั อาชวี ศึกษา หรือระดับอดุ มศึกษา บุคลากรทางการลูกเสือในสถานศกึ ษา สังกัดสานักงาน กศน. ประกอบดว้ ย 1) ผู้อานวยการลูกเสือสถานศกึ ษา จานวน 1 คน 2) ผู้กากบั กลุ่มลกู เสือ จานวนกลมุ่ ละ 1 คน 3) รองผู้กากับกลมุ่ ลกู เสือ จานวนกล่มุ ละอยา่ งน้อย 1 คน 4) ผู้กากับกองลกู เสือ จานวนกองละ 1 คน 5) รองผกู้ ากับกองลกู เสือ จานวนกองละอยา่ งน้อย 1 คน 6.3 แบบฟอรม์ ทใ่ี ช้ในกองลกู เสือในสถำนศกึ ษำ สังกดั สำนักงำน กศน. 6.3.1 การขอจัดต้ังกองลูกเสือ (ลส. 1, 2, 3) มีเอกสารประกอบการขอจัดตั้ง กองลกู เสอื ดงั นี้ - แบบ ลส. 1 คือ คาร้องขอจัดตง้ั กลมุ่ ลูกเสือ หรอื กองลูกเสือ - แบบ ลส. 2 คือ ใบสมัครเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการ ลกู เสือ และเจ้าหน้าทล่ี ูกเสือ - แบบ ลส. 3 คอื ใบสมคั รเขา้ เปน็ ลกู เสอื 6.3.2 การจัดทาทะเบยี นลูกเสอื แต่ละประเภท (ลส. 6, 7, 8, ๙) 6.3.3 ใบจัดตง้ั กลมุ่ ลกู เสอื กองลกู เสอื (ลส. 11, 12) 6.3.4 ใบแต่งตั้งบคุ ลากรทางการลูกเสอื (ลส. 13) 6.3.5 การจัดทารายงานการเงินลูกเสอื (ลส. 10) 6.3.6 การรายงานการลูกเสือประจาปี (ลส. 5) 6.3.7 การโอนกองลกู เสือ (ลส. 4) 6.3.8 ใบสาคญั คูก่ ับเข็มลูกเสอื สมนาคุณ (ลส. 14) 6.3.๙ การจัดทาบตั รลูกเสือแต่ละประเภท (ลส. 15, 16, 17, 18) 6.3.10 การออกใบเสร็จรับเงินค่าบารงุ ลูกเสือ (ลส. 1๙) QR – Code แบบฟอร์มทใ่ี ชใ้ นกองลูกเสือในสถานศึกษา สงั กัดสานกั งาน กศน. คู่มอื การดาเนนิ งานลูกเสือในสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งาน กศน. 15

6.4 กำรแต่งเครอ่ื งแบบลูกเสอื กศน. คุณสมบัติของลูกเสือ กศน. คือ เป็นนักศึกษา กศน. ท่ีสมัครเข้าเป็นลูกเสือวิสามัญ โดยมีอายุ 16 ปีขึ้นไปหรือเป็นนักศึกษา กศน. ที่เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือระดับ ปวช. ข้ึนไป ดงั นั้น สถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. จึงจัดกิจกรรมลูกเสอื ในประเภทลกู เสือวิสามัญ ซงึ่ มีรายละเอียด การแตง่ เคร่อื งแบบลูกเสอื วิสามญั ดงั นี้ ผูบ้ งั คผับบู้ บังัญคบัชบำลัญูกชเสำลือกู กเสศือน.กแศตนง่ .เคแรตอ่ื ง่ งเคแรบือ่ บงตแำบมบกตฎำกมรกะฎทกรรวะงทวร่ำวดง้ววย่ำเคดร้วอื่ยงเคแรบอ่ื บงลแกู บเบสือลวกู สิเสำือมวญั สิ ำมญั รูปที่ 1 การแตง่ กายผู้บังคบั บัญชา ลูกเสือ กศน. คูม่ ือ การดาเนินงานลกู เสอื ในสถานศึกษา สังกดั สานกั งาน กศน. 16

ลกู เสือ กศน.ลแกู ตเส่งอืเคกรศอื่ นงแ. บแบตตง่ เำคมรกือ่ ฎงกแรบะบทตรำวมงกวฎำ่ ดกว้ระยทเครรวอ่ื งงวแำ่ บดบ้วยลเูกคเรสือ่ องวแิสบำบมลัญกู เสือวิสำมญั รูปที่ 2 การแตง่ กายผูบ้ งั คบั บัญชาลูกเสือ ครชู าย คมู่ ือ การดาเนินงานลกู เสอื ในสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งาน กศน. 17

รูปท่ี 3 การแต่งกายผู้บังคบั บญั ชาลกู เสอื ครูหญงิ ค่มู ือ การดาเนินงานลูกเสือในสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งาน กศน. 18

รปู ที่ 4 การแต่งกายนักศึกษา ลกู เสอื ชาย ค่มู อื การดาเนินงานลูกเสือในสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งาน กศน. 19

รปู ที่ 5 การแต่งกายนกั ศึกษา ลูกเสอื หญงิ QR – Code ตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยเคร่อื งแบบลูกเสอื กฎกระทรวงฉบบั ที่ 1 (พ.ศ. 2510) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิลกู เสอื พ.ศ. 2507 คู่มือ การดาเนนิ งานลกู เสอื ในสถานศึกษา สงั กดั สานักงาน กศน. 20

7๗. โ.คโรคงรสงรส้ำรง้ำกงำกรพำรัฒพนัฒำบนคุ ำลบำุคกรลทำำกงรกทำรำลงูกเำสรอื ลูกเสอื ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากร ต้องได้รับการพัฒนาตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร ลกู เสือแหง่ ชาติ ว่าด้วยการแต่งตั้งผูบ้ ังคับบญั ชาลูกเสอื (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2553 ดังนี้ 1) ผู้อานวยการสถานศึกษา ต้องได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ กรณียังไม่ได้รับ เครอ่ื งหมายวูดแบดจ์ ให้รกั ษาการตาแหนง่ ผู้อานวยการลูกเสือสถานศึกษา 2) ผกู้ ากับกลมุ่ ลูกเสือ มอี ายไุ ม่นอ้ ยกว่า 28 ปี บริบูรณ์ ต้องไดร้ ับเคร่อื งหมายวูดแบดจ์ 3) รองผู้กากับกลุ่มลูกเสือ มีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปี บริบูรณ์ ต้องได้รับเครื่องหมาย วดู แบดจ์ 4) ผู้กากับกองลูกเสือวิสามัญ มีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปี บริบูรณ์ ต้องได้รับเครื่องหมาย วูดแบดจ์ ประเภทลูกเสือวสิ ามัญ 5) รองผู้กากับกองลูกเสือวิสามัญ มีอายุไม่น้อยกว่า 23 ปี บริบูรณ์ ต้องได้รับวุฒิบัตร การฝึกอบรมวิชาผู้กากับลูกเสือวสิ ามญั ขั้นความรูเ้ บื้องตน้ 7.1 กำรฝกึ อบรมบคุ ลำกรทำงกำรลูกเสือ คู่มือ การดาเนนิ งานลูกเสือในสถานศึกษา สงั กัดสานักงาน กศน. 21

QR – Code ระเบียบคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ วา่ ด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลกู เสอื พ.ศ. 2556 7.2 กำรเพิม่ ศกั ยภำพกำรบรหิ ำรจดั กำรและกำรดำเนนิ งำนในกจิ กำรลูกเสอื กศน. หน่วยงาน/สถานศึกษาสามารถดาเนินการจัดหรือร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดในรูปแบบ ตา่ ง ๆ เช่น - การฝึกอบรม - การอบรมทบทวน - การประชุมปฏบิ ัติการ - การประชุมสมั มนา - การเข้าร่วมชมุ นุมผู้บังคบั บญั ชาลกู เสือ ประเภทตา่ ง ๆ - การเข้าร่วมงานชมุ นมุ ลูกเสือ ระดับท้องถนิ่ ระดับชาติ ระดับนานาชาติ คมู่ ือ การดาเนินงานลูกเสือในสถานศกึ ษา สังกดั สานักงาน กศน. 22

สว่ นท่ี ส่วนที่ 3 3 กำรจดั กจิ กรรมลกู เสือในสถำนศึกษำ สังกดั สำนักงำน กศน. การจัดกิจกรรมลูกเสือ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และช่วยสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสามัคคี และมีความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้ เพื่อความสงบสุขและความมั่นคงของประเทศชาติตามอุดมการณ์ ของการลูกเสือให้สมบูรณ์อย่างเต็มที่และเป็นรายบุคคล เพื่อให้เป็นพลเมืองดีมีความรับผิดชอบ และเป็นสมาชิกท่ีดีของท้องถิ่น ของชาติ และของชุมชน ผู้ดาเนินการจาเป็นต้องศึกษาขั้นตอน และวิธีการ ดาเนินงาน กิจกรรมลูกเสือที่จัดต้องเหมาะสมกับวัยในแต่ละประเภท และมีความหลากหลาย สามารถ ปฏิบัติได้จริง เหมาะสมกับยุคสมัย และตรงตามความต้องการของลูกเสือ ท้ังน้ีต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ และวิธีการของลูกเสือ และควรมุ่งเน้นให้ลูกเสือเป็นผู้มีจิตอาสา มีวินัย และรู้จักหน้าท่ีของตน ดว้ ยการปฏิบตั จิ รงิ ภารกิจของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. สามารถดาเนินการจัดกิจกรรมเก่ียวกับลูกเสือ ไดใ้ นลักษณะดงั ตอ่ ไปนี้ กจิกกิจรกรรมรลมูกลเสกู อื เใสนอื สใถนำสนถศำกึ นษศำึกสษังกำดั สงัำกนัดกงสำำนนกั ศงนำน. กศน. การจัดกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. สามารถจัดกิจกรรม ได้หลายรูปแบบ ได้แก่ การเรียนรู้ในรายวิชาบังคับเลือก การจัดกิจกรรมลูกเสือกับการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน การจัดกิจกรรมลูกเสือกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต และอื่น ๆ มีรูปแบบและการจัดกิจกรรม ดังตอ่ ไปนี้ คู่มอื การดาเนินงานลูกเสอื ในสถานศึกษา สังกดั สานกั งาน กศน. 23

1๑. ก. ำกรำลรงลทงะทเบะียเนบเยีรียนนเรยีำยนวริชำำยลวกู ิชเสำอืลกู เศสนอื . รกำศยนวชิ. ำรเำลยอื วกิชบงัำคเลับอื กบังคับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาเลือกบังคับ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 1.1 รำยวชิ ำลูกเสือ กศน. ระดับประถมศึกษำ ผงั มโนทศั น์ รำยวชิ ำลกู เสือ กศน. รหัสวิชำ สค12025 ระดับประถมศึกษำ ตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศกึ ษำข้ันพนื้ ฐำน พทุ ธศักรำช 2551 หนว่ ยที่ ๑๓ หนว่ ยที่ ๑ หน่วยท่ี ๒ การฝึกปฏบิ ตั กิ ารเดิน ลกู เสอื กับการพัฒนา การลูกเสือไทย ทางไกล อยู่ค่ายพักแรม รำยวชิ ำลูกเสือ กศน. หน่วยที่ ๓ และชีวิตชาวค่าย รหัสวิชำ สค๑๒๐๒๕ การลกู เสือโลก ระดับประถมศึกษำ หนว่ ยท่ี ๑๒ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง หน่วยที่ ๔ การเดินทางไกล อยู่ค่าย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม พักแรม และชวี ติ ชาวคา่ ย ของลกู เสือ 00 หน่วยท่ี ๕ หน่วยที่ ๑๑ วนิ ัย และความเปน็ การปฐมพยาบาล ระเบียบเรยี บรอ้ ย หน่วยท่ี ๑๐ หน่วยที่ ๖ ความปลอดภัยในการเข้า ลูกเสอื กศน. รว่ มกิจกรรมลกู เสือ หนว่ ยที่ ๗ กับการพฒั นา หน่วยที่ ๙ ทกั ษะลกู เสอื หนว่ ยที่ ๘ ลูกเสอื กศน. กบั จติ อาสา การเขียนโครงการเพอ่ื พัฒนาชมุ ชนและสังคม และการบริการ คมู่ ือ การดาเนินงานลกู เสอื ในสถานศึกษา สังกดั สานักงาน กศน. 24

คำอธบิ ำยรำยวิชำลูกเสือ กศน. รหัสวิชำ สค12025 ระดบั ประถมศกึ ษำ จำนวน 2 หนว่ ยกิต จำนวน 80 ชว่ั โมง มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในท้องถ่ิน ประเทศ นามาปรับใช้ในการดาเนินชีวิต และการประกอบอาชีพ เพ่ือความม่ันคง ของชาติ 2. มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถ่ิน และประเทศไทย 3. มีความรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย กฎหมายเบื้องต้น กฎระเบียบ ของชุมชน สังคม และประเทศ 4. มีความรู้ ความเข้าใจหลักการพัฒนาชุมชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมูลในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม ศกึ ษำและฝึกทกั ษะเกย่ี วกับเรื่องต่อไปน้ี ลูกเสือกับการพัฒนา การลูกเสือไทย การลูกเสือโลก คุณธรรม จริยธรรมของลูกเสือ วินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ลูกเสือ กศน. กับการพัฒนา ลูกเสือ กศน. กับจิตอาสาและการบริการ การเขียนโครงการเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ทักษะลูกเสือ ความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ การปฐมพยาบาล การเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม และชีวิตชาวค่าย และการฝึกปฏิบัติการเดินทางไกล อยูค่ ่ายพักแรม และชีวิตชาวคา่ ย กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้ ศึกษาค้นคว้าจากตาราเอกสาร แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน สื่อเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต และส่ือ ที่หลากหลาย วิทยากร ผู้รู้ ปราชญ์ชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิ จัดกลุ่มศึกษา ค้นคว้า อภิปราย แลกเปล่ียนเรียนรู้ ศึกษานอกสถานท่ี นิทรรศการ สาธิต ฝึกปฏิบัติจริงในพื้นที่/ชุมชน การฝึกปฏิบัติการเดินทางไกล อยู่ค่าย พักแรมและชีวิตชาวค่าย จัดทาโครงงาน วางแผนและร่วมกันศึกษาจัดทาโครงการ แก้ปัญหาจริงในชุมชน การฝกึ ปฏิบตั ิการเดินทางไกล อยู่ค่ายพกั แรมและชีวิตชาวค่าย กำรวดั และประเมินผล สังเกตพฤติกรรมในการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความสนใจ ความต้ังใจ ความรับผิดชอบ การปฏบิ ัติจริง การปฏิบัติงานกลุ่ม ความคิดเหน็ ของเพอื่ น ๆ ในกลมุ่ แฟ้มสะสมงาน ใบงาน ช้ินงาน ผลงาน แบบทดสอบ ผลการปฏบิ ัตกิ ารเดินทางไกล อยูค่ า่ ยพักแรม และชีวติ ชาวคา่ ย แบบประเมนิ พฤติกรรมกำรเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษำ พฤติกรรมผู้เรียน รำยกำรประเมิน/ตัวช้ีวดั ระดบั คณุ ภำพ ผำ่ น ไมผ่ ่ำน การจดั การตนเอง การตรงต่อเวลา การรบั ผดิ ชอบ ความสาเร็จของชิ้นงานที่ได้รับ มอบหมาย คู่มือ การดาเนนิ งานลูกเสือในสถานศึกษา สงั กดั สานักงาน กศน. 25

1.2 รำยวิชำลกู เสอื กศน. ระดบั มัธยมศึกษำตอนตน้ ผังมโนทศั น์ รำยวิชำลูกเสือ กศน. รหสั วิชำ สค22021 ระดบั มัธยมศึกษำตอนต้น ตำมหลักสตู รกำรศกึ ษำนอกระบบระดับกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน พุทธศกั รำช 2551 หนว่ ยท่ี ๑๓ หน่วยที่ ๑ หนว่ ยที่ ๒ การฝกึ ปฏิบตั กิ ารเดิน ลูกเสอื กบั การพัฒนา การลกู เสือไทย ทางไกล อยู่คา่ ยพักแรม รำยวิชำลูกเสือ กศน. หน่วยที่ ๓ และชีวิตชาวคา่ ย รหสั วิชำ สค๒202๑ การลูกเสือโลก ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนต้น หนว่ ยท่ี ๑๒ จำนวน ๑๒0 ช่วั โมง หนว่ ยที่ ๔ การเดนิ ทางไกล อยู่คา่ ย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม พกั แรม และชีวิตชาวค่าย ของลูกเสือ หนว่ ยท่ี ๑๑ การปฐมพยาบาล หน่วยที่ ๕ วนิ ัย และความเป็น หนว่ ยท่ี ๑๐ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ความปลอดภัยในการเข้า หน่วยท่ี ๖ ร่วมกจิ กรรมลูกเสือ ลูกเสอื กศน. หนว่ ยท่ี ๙ ทกั ษะลูกเสือ หน่วยที่ ๗ กับการพัฒนา หน่วยท่ี ๘ ลกู เสอื กศน. กบั จิตอาสา การเขียนโครงการเพื่อ พัฒนาชมุ ชนและสงั คม และการบรกิ าร คู่มอื การดาเนินงานลูกเสอื ในสถานศกึ ษา สังกัดสานกั งาน กศน. 26

คำอธิบำยรำยวิชำลูกเสือ กศน. รหสั วิชำ สค22021 ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนต้น จำนวน 3 หนว่ ยกติ จำนวน 120 ช่วั โมง มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดบั 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในทวปี เอเชีย และนามาปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวิต เพอื่ ความม่ันคงของชาติ 2. มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศ ในทวีปเอเชีย 3. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชวี ติ ตามวิถีประชาธิปไตย กฎระเบียบของประเทศเพือ่ นบา้ น 4. มีความรู้ ความเข้าใจหลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และกาหนด แนวทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ ปจั จบุ นั ศึกษำและฝึกทกั ษะในเรอ่ื งต่อไปน้ี ลูกเสือกับการพัฒนา การลูกเสือไทย การลูกเสือโลก คุณธรรม จริยธรรมของลูกเสือ วินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ลูกเสือ กศน. กับการพัฒนา ลูกเสือ กศน. กับจิตอาสาและการบริการ การเขียนโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชนและสังคม ทักษะลูกเสือ ความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ การปฐมพยาบาล การเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม และชีวิตชาวค่าย และการฝึกปฏิบัติการเดินทางไกล อยคู่ ่ายพักแรม และชีวิตชาวคา่ ย กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้ ศึกษาค้นคว้าจากตาราเอกสาร แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน สื่อเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต และสื่อ ท่ีหลากหลาย วิทยากร ผู้รู้ ปราชญ์ชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิ จัดกลุ่มศึกษา ค้นคว้า อภิปราย แลกเปล่ียนเรียนรู้ ศึกษานอกสถานท่ี นิทรรศการ สาธิต ฝึกปฏิบัติจริงในพื้นท่ี/ชุมชน การฝึกปฏิบัติการเดินทางไกล อยู่ค่าย พักแรมและชีวิตชาวค่าย จัดทาโครงงาน วางแผนและร่วมกันศึกษาจัดทาโครงการ แก้ปัญหาจริงในชุมชน การฝึกปฏิบตั กิ ารเดนิ ทางไกล อยคู่ ่ายพกั แรมและชีวติ ชาวค่าย กำรวดั และประเมินผล สังเกตพฤติกรรมในการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความสนใจ ความตั้งใจ ความรับผิดชอบ การปฏิบัตจิ ริง การปฏิบัตงิ านกลุ่ม ความคดิ เหน็ ของเพอ่ื น ๆ ในกลมุ่ แฟ้มสะสมงาน ใบงาน ชนิ้ งาน ผลงาน แบบทดสอบ ผลการฝึกปฏบิ ตั กิ ารเดนิ ทางไกล อยู่ค่ายพกั แรม และชีวติ ชาวคา่ ย แบบประเมินพฤติกรรมกำรเรยี นรู้ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนตน้ พฤติกรรมผู้เรียน รำยกำรประเมนิ /ตัวช้ีวัด ระดบั คุณภำพ ผำ่ น ไม่ผำ่ น 1. การจดั การตนเอง 1.1 การตรงตอ่ เวลา 1.2 การรับผดิ ชอบ 2. การทางานเป็นทีม 2.1 ใช้ระบบหมใู่ นการพฒั นา 2.2 การมีสว่ นร่วมในการทาโครงการ 2.3 การมสี ว่ นรว่ มในการทากจิ กรรม 2.4 ชิน้ งาน ค่มู ือ การดาเนนิ งานลูกเสอื ในสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงาน กศน. 27

1.3 รำยวิชำลูกเสอื กศน. ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย ผงั มโนทัศน์ รำยวชิ ำลกู เสือ กศน. รหสั วิชำ สค32035 ระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำย ตำมหลกั สตู รกำรศกึ ษำนอกระบบระดบั กำรศกึ ษำขัน้ พ้นื ฐำน พุทธศกั รำช 2551 หน่วยท่ี ๑๓ หน่วยที่ ๑ หน่วยที่ ๒ การฝึกปฏบิ ัตกิ ารเดนิ ลกู เสือกบั การพัฒนา การลกู เสอื ไทย ทางไกล อยู่คา่ ยพักแรม วิชำลูกเสือ กศน. หน่วยที่ ๓ และชวี ติ ชาวคา่ ย รหสั วชิ ำ สค๓๒๐๓๕ การลกู เสือโลก ระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย หนว่ ยที่ ๑๒ จำนวน ๑๒0 ช่วั โมง หน่วยที่ ๔ การเดินทางไกล อยู่ค่าย คุณธรรม จรยิ ธรรม พักแรม และชวี ติ ชาวคา่ ย ของลกู เสอื หนว่ ยที่ ๑๑ การปฐมพยาบาล หน่วยที่ ๕ วนิ ยั และความเปน็ หนว่ ยที่ ๑๐ ระเบยี บเรยี บร้อย ความปลอดภยั ในการเขา้ หนว่ ยที่ ๖ รว่ มกิจกรรมลกู เสอื ลูกเสือ กศน. หนว่ ยท่ี ๙ ทกั ษะลกู เสือ หน่วยที่ ๗ กับการพัฒนา หน่วยท่ี ๘ ลกู เสือ กศน. กับจิตอาสา การเขียนโครงการเพื่อ พัฒนาชุมชนและสังคม และการบริการ คมู่ อื การดาเนินงานลกู เสอื ในสถานศึกษา สงั กดั สานกั งาน กศน. 28

คำอธิบำยรำยวิชำลูกเสอื กศน. รหัสวชิ ำ สค32035 ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย จำนวน 3 หนว่ ยกติ จำนวน 120 ชัว่ โมง มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดับ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในโลก และนามาปรบั ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิตเพอื่ ความมน่ั คงของชาติ 2. มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศ ในสังคมโลก 3. มีความรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย กฎระเบียบของประเทศต่าง ๆ ในโลก 4. มีความรู้ ความเข้าใจหลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และเป็นผู้นา ผู้ตาม ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ ปจั จบุ นั ศกึ ษำและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องต่อไปน้ี ลูกเสือกับการพัฒนา การลูกเสือไทย การลูกเสือโลก คุณธรรม จริยธรรมของลูกเสือ วินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ลูกเสือ กศน. กับการพัฒนา ลูกเสือ กศน. กับจิตอาสาและการบริการ การเขียนโครงการเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ทักษะลูกเสือ ความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ การปฐมพยาบาล การเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรมและชีวิตชาวค่าย การฝึกปฏิบัติการเดินทางไกล อยู่ค่าย พักแรมและชีวิตชาวค่าย กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าจากตาราเอกสาร แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน ส่ือเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต และส่ือ ท่ีหลากหลาย วิทยากร ผู้รู้ ปราชญ์ชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิ จัดกลุ่มศึกษา ค้นคว้า อภิปราย แลกเปล่ียนเรียนรู้ ศึกษานอกสถานที่ นิทรรศการ สาธิต ฝึกปฏิบัติจริงในพื้นที่/ชุมชน การฝึกปฏิบัติการเดินทางไกล อยู่ค่าย พักแรมและชีวิตชาวค่าย จัดทาโครงงาน วางแผนและร่วมกันศึกษาจัดทาโครงการ แก้ปัญหาจริงในชุมชน การฝึกปฏบิ ตั ิการเดินทางไกล อยูค่ า่ ยพกั แรมและชีวติ ชาวคา่ ย กำรวดั และประเมินผล สังเกตพฤติกรรมในการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความสนใจ ความตั้งใจ ความรับผิดชอบ การปฏบิ ัติจรงิ การปฏิบัติงานกลุ่ม ความคิดเหน็ ของเพือ่ น ๆ ในกลมุ่ แฟม้ สะสมงาน ใบงาน ชนิ้ งาน ผลงาน แบบทดสอบ ผลการฝึกปฏบิ ตั กิ ารเดนิ ทางไกล อยู่ค่ายพกั แรมและชีวติ ชาวค่าย คมู่ ือ การดาเนินงานลูกเสอื ในสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งาน กศน. 29

แบบประเมินพฤติกรรมกำรเรยี นรู้ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย พฤติกรรมผู้เรียน รำยกำรประเมนิ /ตวั ชี้วดั ระดับคณุ ภำพ 1. การจดั การตนเอง ผ่ำน ไมผ่ ่ำน 2. การทางานเป็นทมี 1.1 การตรงต่อเวลา 1.2 การรบั ผิดชอบ 3. การเปน็ พลเมอื ง 2.1 มีความเป็นผนู้ าและผ้ตู ามทด่ี ี ทีเ่ ขม้ แขง็ 2.2 ใชร้ ะบบหมใู่ นการพฒั นา 2.3 การมีส่วนรว่ มในการทาโครงการ 2.4 การมสี ่วนร่วมในการทากิจกรรม 2.5 คุณภาพชิ้นงานท่ไี ด้รับมอบหมาย ในการทางานเปน็ ทีม 3.1 การเข้ารว่ มกิจกรรมท่เี กี่ยวขอ้ งกับสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 3.2 การทาโครงการจิตอาสาเพ่ือพฒั นาชุมชน 3.3 การทากิจกรรมทีม่ ีช้นิ งาน 3.4 การดาเนินงานตามโครงการทกี่ าหนดไว้ 3.5 การมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมกับชมุ ชน หมำยเหตุ ทุกระดบั จะตอ้ งผา่ นเกณฑไ์ ม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 50 (การจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นรายวชิ าลกู เสือ กศน. สถานศึกษาสามารถดูรายละเอียดจากเอกสาร ชดุ วชิ าลูกเสอื กศน. ของสานกั งาน กศน. เอกสารวิชาการลาดบั ท่ี 8/2561, ๙/2561, 10/2561) ค่มู อื การดาเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา สังกัดสานกั งาน กศน. 30

2. กำรจดั ก2จิ. กกำรรรจมดั ลกกู จิ เกสรอื รกมลับกู กเำสรอื พกบััฒกนำรำพคัฒณุ นภำำคพุณผภเู้ ำรพยี ผนเู้ รยี น สานักงาน กศน. ได้กาหนดกรอบการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ตามหนงั สือสานักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.04/ว 3780 ลงวันท่ี 2 กรกฎาคม 2561 เร่อื ง กรอบการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน หนังสือสานักงาน กศน. ท่ี ศธ 0210.04/ว 260๙ ลงวันที่ 12 พฤษภาคม 2563 เร่ือง แนวทางการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน สังกัดสานักงาน กศน. (เพมิ่ เติม) และหนังสือสานกั งาน กศน. ที่ ศธ 0210.04/ว 401๙ ลงวันท่ี 16 กรกฎาคม 2563 เร่ือง การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สังกัดสานักงาน กศน. ดังนี้ 1) กิจกรรมพฒั นาวิชาการ 2) กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ติ 3) กจิ กรรมทีแ่ สดงออกถงึ ความจงรักภักดตี ่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ 4) กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5) กิจกรรมลกู เสือ และกิจกรรมอาสายวุ กาชาด 6) กิจกรรมกฬี าและสง่ เสรมิ สุขภาพ 7) กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาความรู้ ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) 8) กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาความรูส้ ู่ประชาคมโลก ๙) กจิ กรรมจติ อาสา กศน. “เราทาความดดี ้วยหัวใจ” 10) กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ 11) กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนร้เู พอ่ื พฒั นาทกั ษะอาชพี 12) กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 13) กจิ กรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมขุ และกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งในชวี ติ ประจาวัน 14) กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามารถพเิ ศษ กิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมหนึ่งในกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่กาหนดไว้ ให้สถานศกึ ษาตอ้ งดาเนินการ เปน็ กิจกรรมเพื่อพฒั นาและส่งเสริมสนบั สนุนให้ผู้เรยี นเปน็ ผทู้ มี่ ีระเบียบ วินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสาความเสียสละในการช่วยเหลือผู้อ่ืน บาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน โดยดาเนินการจัดกิจกรรมลูกเสือ กศน. หรืออาจดาเนินการร่วมกับสานักงานลูกเสือแห่งชาติ สานกั การลูกเสือยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น กระทรวงศึกษาธกิ าร 2.1 รปู แบบกำรจัดกิจกรรมพฒั นำคณุ ภำพผู้เรียนดว้ ยกระบวนกำรลกู เสือ สถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วย กระบวนการลูกเสอื ไดใ้ นรูปแบบต่าง ๆ ดังตวั อย่างตอ่ ไปน้ี - คา่ ยพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นดว้ ยกระบวนการลกู เสือ แบบไป - กลับ 2 วนั - ค่ายพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนดว้ ยกระบวนการลกู เสอื แบบคา่ ยพักแรม 2 วนั - ค่ายพัฒนาคุณภาพผ้เู รียนด้วยกระบวนการลกู เสือ แบบไป – กลับ 3 วัน - คา่ ยพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนดว้ ยกระบวนการลกู เสือ แบบคา่ ยพกั แรม 3 วัน คู่มอื การดาเนนิ งานลกู เสือในสถานศึกษา สงั กดั สานกั งาน กศน. 31

ตวั อย่ำงตำรำงจัดกจิ กรรมค่ำยพัฒนำคุณภำพผู้เรียนด้วยกระบวนกำรลกู เสือ ค่ำยพฒั นำคณุ ภำพผเู้ รยี นดว้ ยกระบวนกำรลกู เสือ แบบไป - กลบั 2 วัน วนั 08.00 – 10.30 น. 10.30 – 12.00 น. 12.00 – 13.30 น. 13.30 – 15.30 น. 15.30 – 16.30 น. เวลำ กจิ การลกู เสือโลก/ ทกั ษะลูกเสอื 08.00 น. รับรายงานตัว 13.30 น. คาปฏญิ าณและ วนั ที่ 1 08.30 น. พธิ เี ปดิ /เปิดกอง ลกู เสอื ไทย กฎของลกู เสือ พิธีปิด/ปดิ กอง 0๙.30 น. ปฐมนเิ ทศ/ วนั ที่ 2 ลกู เสอื กบั การอนุรักษ์ 14.30 น. ชีวิตชาวค่าย กฎระเบียบ ทรพั ยากรธรรมชาติและ (ภาคทฤษฎี) การอยู่ค่าย 08.30 น. ตรวจเยยี่ ม/ ส่ิงแวดลอ้ ม พกั รบั ประทานอาหาร ลูกเสือกบั การบรกิ าร ประชมุ กลางวนั รอบเสาธง *สถานศกึ ษาสามารถ 0๙.30 น. แผนทแ่ี ละ เลือกเรื่องท่ีนา่ สนใจ เขม็ ทศิ หรือเปน็ นโยบาย มาจัดกิจกรรมได้ คำ่ ยพัฒนำคณุ ภำพผเู้ รียนดว้ ยกระบวนกำรลกู เสือ แบบคำ่ ยพกั แรม 2 วนั วนั 08.00 – 10.30 น. 10.30 – 12.00 น. 12.00 – 13.30 – 15.30 น. 15.30 – 16.30 น. 16.30 – 1๙.00 – 21.00 น. เวลำ 13.30 น. ทักษะลูกเสือ 1๙.00 น. - กิจการลูกเสอื โลก/ ชีวิตชาวคา่ ย วิชาการบนั เทงิ วนั ที่ 08.00 น. รับรายงานตัว ลกู เสอื ไทย พกั ลูกเสอื กับการบริการ (ภาคทฤษฎ/ี ปฏบิ ตั ิ) พัก ในกองลกู เสือ - คาปฏญิ าณและกฎของ รบั ประทาน รับประทาน 1 08.30 น. พธิ ีเปดิ / ลกู เสือ อาหารเยน็ อาหาร เปดิ กอง ลูกเสือกบั การอนุรักษ์ กลางวนั ทรพั ยากรธรรมชาติและ 0๙.30 น. ปฐมนิเทศ/ สงิ่ แวดล้อม กฎระเบยี บ *สถานศึกษาสามารถ การอยคู่ า่ ย เลือกเรอ่ื งท่ีน่าสนใจ หรอื เป็นนโยบาย วันที่ 05.00 น. กิจกรรม มาจัดกิจกรรมได้ พิธีปดิ /ปดิ กอง 2 ยามเช้า 07.00 น. รบั ประทาน อาหารเชา้ 07.30 น. ตรวจเย่ยี ม 08.00 น. ประชมุ รอบเสาธง 08.30 น. กจิ กรรม การบันเทงิ 0๙.00 น. แผนทแ่ี ละ เขม็ ทศิ คู่มือ การดาเนินงานลูกเสอื ในสถานศึกษา สงั กดั สานักงาน กศน. 32

ค่ำยพฒั นำคุณภำพผ้เู รียนด้วยกระบวนกำรลูกเสือ แบบไป - กลบั 3 วัน วัน 08.00 – 10.30 น. 10.30 – 12.00 น. 12.00 – 13.30 น. 13.30 – 15.30 น. 15.30 – 16.30 น. เวลำ กจิ การลูกเสอื โลก/ ทกั ษะลูกเสือ 08.00 น. รบั รายงานตัว 13.30 น. คาปฏญิ าณและ วนั ที่ 1 08.30 น. พิธเี ปิด/เปดิ กอง ลกู เสอื ไทย กฎของลูกเสือ 0๙.30 น. ปฐมนเิ ทศ/ วนั ท่ี 2 ลูกเสือกับการอนุรักษ์ 14.30 น. ชวี ิตชาวคา่ ย กฎระเบยี บ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ (ภาคทฤษฎี) การอยูค่ า่ ย 08.30 น. ตรวจเย่ยี ม/ สง่ิ แวดลอ้ ม กจิ กรรมเดินทางไกล ประชุม รอบเสาธง *สถานศกึ ษาสามารถ พกั รบั ประทานอาหาร 0๙.30 น. แผนทีแ่ ละ เลือกเรื่องที่น่าสนใจ กลางวัน เข็มทิศ หรอื เปน็ นโยบาย มาจัดกิจกรรมได้ วนั ท่ี 3 08.30 น. ตรวจเยี่ยม/ ลูกเสือกบั การบรกิ าร พิธปี ดิ /ปดิ กอง ประชมุ ฐานผจญภยั รอบเสาธง คำ่ ยพัฒนำคุณภำพผ้เู รยี นด้วยกระบวนกำรลกู เสือ แบบคำ่ ยพกั แรม 3 วัน วนั 08.00 – 10.30 น. 10.30 – 12.00 น. 12.00 – 13.30 – 15.30 น. 15.30 – 16.30 น. 16.30 – 1๙.00 – 21.00 น. เวลำ 13.30 น. ทกั ษะลกู เสอื 1๙.00 น. วิชาการบันเทงิ - กิจการลูกเสอื โลก/ ชีวิตชาวค่าย ในกองลูกเสือ วนั ท่ี 08.00 น. รับรายงานตัว ลกู เสือไทย พกั (ภาคทฤษฎ/ี ปฏิบตั )ิ พัก - คาปฏิญาณและกฎของ รบั ประทาน รับประทาน การชุมนมุ รอบกองไฟ 1 08.30 น. พธิ เี ปิด/ ลกู เสือ อาหารเยน็ อาหาร เปิดกอง ลกู เสอื กบั การอนรุ ักษ์ กลางวัน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 0๙.30 น. ปฐมนิเทศ/ ส่งิ แวดล้อม กฎระเบียบ *สถานศึกษาสามารถ การอยคู่ า่ ย เลือกเร่ืองทน่ี ่าสนใจ หรอื เป็นนโยบาย วนั ท่ี 08.30 น. ตรวจเยี่ยม มาจัดกิจกรรมได้ กิจกรรมเดินทางไกล 2 ประชมุ ฐานผจญภยั รอบเสาธง 08.30 น. แผนทแ่ี ละ เข็มทศิ วนั ท่ี 08.30 น. ตรวจเยี่ยม ลูกเสือกบั การบรกิ าร พธิ ปี ดิ /ปดิ กอง 3 ประชุม รอบเสาธง QR Code กรอบการจดั QR Code แนวทางการจัด QR Code หลักเกณฑ์การเบิกจา่ ย กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เงนิ อดุ หนุน (เพ่ิมเติม) คู่มอื การดาเนินงานลูกเสือในสถานศกึ ษา สังกัดสานักงาน กศน. 33

2.2 กำรเตรยี มกำรจดั กิจกรรมค่ำยลกู เสือ 2.2.1 เขียนโครงกำร ตัวอย่ำงโครงกำรกำรจดั กจิ กรรมคำ่ ยลูกเสอื 1. ชอ่ื โครงการ โครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นด้วยกระบวนการลูกเสือ 2. ความสอดคล้องกับนโยบาย 2.1 ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ข้อ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน (3) ปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ (4) การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะท่ีดี (5) การสรา้ งความอยู่ดมี สี ขุ ของครอบครัวไทย 2.2 สอดคล้องกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 257๙ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นา ศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้าหมายที่ 1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะ พื้นฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลักษณะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนทุกระดับการศึกษา มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความมีวินัย และจติ สาธารณะเพม่ิ ข้ึน 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นเร่งด่วนการพัฒนาประเทศของสานักงาน กศน. ยุทธศาสตร์ ท่ี 1 ด้านความม่ันคง ข้อ 1 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของรัชกาลท่ี 10 ข้อ 1.2 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเรียนรู้ท่ีปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอน่ื ๆ ตลอดจนสนบั สนุนให้มกี ารจัดกจิ กรรมเพ่ือปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2.4 สอดคล้องกบั นโยบายจังหวดั ......................................................... 2.5 สอดคลอ้ งกับนโยบายศกึ ษาธกิ ารจังหวัด…………………….………..... 2.6 สอดคลอ้ งกับนโยบายการตรวจราชการ........................................ 3. หลักการและเหตุผล กิจการลูกเสือเร่ิมต้นขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 มีพระบรม ราชโองการให้สถาปนากองลูกเสือป่าข้ึน เม่ือวันที่ 1 พฤษภาคม 2454 เพื่อฝึกอบรมข้าราชการพลเรือน ให้เรียนวิชาทหาร เพื่อเป็นกาลังสารองในยามเกิดศึกสงคราม และเพ่ือบาเพ็ญประโยชน์ต่อประชาชน ในยามสงบ ให้คนไทยรจู้ ักรกั ชาติ มีมนุษยสัมพันธ์ เสียสละ สามัคคี มีความกตญั ญู ลูกเสือกองแรกของไทย เกิดข้ึนที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง เรียกว่าลูกเสือกรุงเทพ ก่อนจะขยายตัวไปจัดตั้งตามโรงเรียนและสถานท่ี ต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 24๙0 ได้จัดชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ และปรับวัตถุประสงค์ของลูกเสือแห่งชาติใหม่ เพ่ือพัฒนาลูกเสือท้ังทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรมให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ สรา้ งสรรคส์ ังคมให้มีความเจรญิ ก้าวหนา้ เพ่อื ความสุขและความม่ันคงของประเทศชาติ ประกอบกบั รฐั บาล ในปัจจุบัน ได้กาหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีและนโยบายเร่งด่วนเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ด้านการปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย อีกทั้ง แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 257๙ ได้กาหนดให้มีการพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย สร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ ให้ผ้เู รียนมีทักษะและคุณลกั ษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 ผู้เรียน ทกุ ระดับการศึกษามพี ฤติกรรมที่แสดงออกถงึ ความมีวินัย และจิตสาธารณะเพิ่มข้นึ รวมท้ังสานักงาน กศน. ได้กาหนดนโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงานปี 256.... เรือ่ ง ..........................................และกจิ กรรมอน่ื ๆ ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม อีกทั้งจังหวัด................................. ได้จัดทาแผนพัฒนา............................. รวมท้ังสานักงานศึกษาธิการจังหวัด........................ได้กาหนด นโยบาย............................. และสานักงานตรวจราชการไดก้ าหนดนโยบาย........................... คู่มือ การดาเนินงานลกู เสือในสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งาน กศน. 34

ด้วยเหตผุ ลดังกล่าว กศน.อาเภอ.........................จึงได้จัดให้มีโครงการ ส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมลูกเสือ นักศึกษา กศน. เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในกระบวนการเรียนรู้วิชาลูกเสือ ปลูกฝังให้นักศึกษา เป็นผู้ท่ีมีจิตอาสา บาเพ็ญประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม เพื่อเสริมสร้างความสามัคคี มีระเบยี บวนิ ัยในหมู่คณะ 4. วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน เป็นผู้ท่ีมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มจี ติ อาสา มคี วามเสยี สละ ในการชว่ ยเหลอื ผู้อืน่ บาเพญ็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม และชุมชน 5. เปา้ หมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ 1) นักศกึ ษา กศน. จานวน .......... คน 2) ครู จานวน .......... คน รวมทั้งส้นิ จานวน .......... คน 5.2 เชงิ คณุ ภาพ ผู้เข้ารับการอบรม เป็นผู้ท่ีมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสา มีความเสยี สละ ในการชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืน บาเพ็ญประโยชน์ตอ่ สงั คม และชุมชน 6. วธิ ดี าเนินการ กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ เป้ำหมำย กลุ่มเป้ำหมำย พื้นท่ี ระยะเวลำ งบประมำณ (output ยอ่ ย ๆ) ดำเนินกำร (บำท) 1. ขออนมุ ัติ - เพื่อใหไ้ ดร้ บั งบประมาณ มกี ารดาเนินโครงการอบรม ……………… ……………… ……………… โครงการ ในการดาเนินงาน นกั ศึกษา 2. ดาเนินการ - เพ่อื พัฒนาและส่งเสรมิ อบรม เปน็ ผู้ท่ีมรี ะเบยี บวินยั นศ. กศน. ……………… ……………… ……………… จัดกิจกรรม สนบั สนนุ ให้ผเู้ รียน เปน็ ผู้ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม อาเภอ.................. ทม่ี ีระเบียบวนิ ยั มีจติ อาสา มีความเสยี สละ จานวน ............ คน มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืนบาเพญ็ บุคลากร กศน. มจี ติ อาสา มีความเสียสละ ประโยชนต์ อ่ สังคม อาเภอ.................. ในการชว่ ยเหลอื ผู้อนื่ และชุมชน จานวน ............ คน บาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และชุมชน 3. ประเมนิ ผล - เพือ่ ทราบผลการอบรม ได้ทราบถงึ ประสิทธภิ าพและ ผู้เขา้ อบรมทกุ คน ……………… ……………… ……………… การดาเนนิ ตามวัตถุประสงค์ ประสิทธผิ ลของโครงการ ……………… ……………… ……………… โครงการ ของโครงการ เพอื่ นาผลไปพฒั นาและ ผผู้ า่ นการอบรม ปรบั ปรุง ลกู เสือ กศน. 4. ตดิ ตามผลหลัง เพอ่ื ตรวจสอบผล การอบรม การนาความรูไ้ ปใช้ ผลการนาความรไู้ ปใช้และ ตดิ ตามการทางานชว่ ยเหลอื ชุมชน 5. สรปุ ผล 1. เพ่อื รายงานผล เอกสารสรุปผลการอบรม คณะทางาน ……………… ……………… ……………… การดาเนิน การดาเนนิ โครงการตาม 1 เลม่ เพอื่ เปน็ หลกั ฐาน โครงการ จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย ในการปฏบิ ตั งิ าน ของโครงการให้กบั สถานศกึ ษาไดท้ ราบ 2. เพอื่ รายงานสภาพและ ปัญหาอุปสรรคในการ ดาเนนิ งานโครงการ 3. เพอื่ สรุปผลการดาเนนิ โครงการ คมู่ อื การดาเนินงานลกู เสอื ในสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งาน กศน. 35

7. งบประมาณ โดยเบิกจ่ายงบประมาณจากแผนงาน..................................................กิจกรรมจัดการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน งบอุดหนุน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ภาคเรียนท่ี ..... ปีการศกึ ษา ............จานวนเงิน .................... บาท (.....................................................................บาทถ้วน) ซึง่ มีรายละเอียดดงั นี้ 1. ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม จานวน ….. มอ้ื ๆ ละ ……. บาท × … คน เป็นเงนิ .. บาท 2. คา่ อาหารและเคร่ืองด่มื * จานวน ….. มื้อ ๆ ละ ……. บาท × … คน เป็นเงนิ .. บาท 3. คา่ ทพ่ี ักและเคร่อื งนอน จานวน ..... วนั ๆ ละ ....... บาท × … คน เปน็ เงิน .. บาท 4. ค่าเชา่ เครอื่ งเสยี ง จานวน ….. วนั ๆ ละ ……. บาท เปน็ เงนิ .. บาท 5. ค่าวสั ดปุ ระกอบการอบรม เปน็ เงิน .. บาท - คา่ วสั ดุฝกึ เปน็ เงิน .. บาท - คา่ วสั ดุ (อาหารสด) ประกอบบทเรียนวชิ าชาวคา่ ย เปน็ เงนิ .. บาท 6. คา่ จา้ งเหมาพาหนะรับสง่ นกั ศึกษา (…….คนั ๆ ละ .... บาท) เป็นเงิน .. บาท 7. ค่าจ้างถา่ ยเอกสาร เปน็ เงิน .. บาท 8. ค่าน้ามนั เชอ้ื เพลงิ รถยนตร์ าชการ เปน็ เงนิ .. บาท ๙. คา่ เบี้ยประกันอุบัติเหตนุ กั ศกึ ษา จานวน …..คน ๆ ละ ……. บาท เปน็ เงนิ .. บาท 10. คา่ เจา้ หนา้ ท่รี ักษาความปลอดภยั จานวน ... คน ๆ ละ …. บาท … คนื เปน็ เงนิ .. บาท 11. คา่ ตอบแทนวิทยากร จานวน ……..คณะ……. ช่วั โมง ๆ ละ..… บาท เป็นเงนิ .. บาท 12. คา่ เชา่ สถานทใ่ี นการจดั กจิ กรรม จานวน …… วัน ๆ ละ …… บาท เป็นเงนิ .. บาท 13. ค่ายาปฐมพยาบาล เปน็ เงนิ .. บาท 14. อน่ื ๆ ................................................... เปน็ เงิน .. บาท รวมเปน็ เงนิ …………………… บำท (……………………………………………..…….…………) โดยขอถัวเฉล่ียจ่ายทกุ รายการทีจ่ าเป็นและจ่ายจริง หมำยเหตุ 1. สถานศึกษาระบุรายการเบิกจ่ายตามจริง *2. กรณีให้ประกอบอาหารเองตามข้อ 5 ให้งดเบิกค่าจ้างเหมาทาอาหารและเครื่องด่ืม ยกเว้นกรณีให้ประกอบอาหารเองเป็นบางม้ือให้เบิกจ่าย ค่าจา้ งเหมาทาอาหารและเครอ่ื งด่ืมตามจริง 8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 (ต.ค.–ธ.ค. ...) (ม.ค.– ม.ี ค. ...) (เม.ย. – ม.ิ ย. ...) (ก.ค. – ก.ย. ...) 1. โครงการพัฒนาคุณภาพ ผูเ้ รียนด้วยกระบวนการลูกเสอื ................................. ................................. ................................. ................................. ................................. ................................. ................................. ................................. ๙. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ ......................................................................................................................................................... 10. ภาคเี ครือขา่ ยการปฏิบัติงาน ......................................................................................................................................................... 11. โครงการทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ......................................................................................................................................................... คมู่ อื การดาเนนิ งานลกู เสือในสถานศกึ ษา สังกัดสานักงาน กศน. 36

12. ผลลพั ธ์ (Outcomes) ผู้เข้ารับการอบรม เป็นผู้ท่ีมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสา มีความเสียสละ ในการชว่ ยเหลือผอู้ ื่น บาเพ็ญประโยชน์ตอ่ สังคม และชุมชน 13. ดัชนชี วี้ ัดผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชีว้ ัดผลผลติ (Output) ผู้เข้าอบรมร้อยละ 80 เป็นผู้ท่ีมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสา มีความเสียสละ ในการช่วยเหลอื ผูอ้ ื่น บาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และชมุ ชน 13.2 ตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์ (Outcome) รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้าอบรมสามารถนาความร้ทู ไี่ ด้รับไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มจี ิตอาสา 14. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ กศน.อาเภอ.......................................ไดท้ าการประเมินผลเมอ่ื เสรจ็ สน้ิ การดาเนนิ โครงการดังน้ี 14.1 ประเมินความรู้ความเข้าใจและทักษะการปฏิบัติ โดยใช้แบบทดสอบวัดความรู้ ก่อนเรียน-หลังเรียน และประเมินผลจากการปฏิบัตจิ ริง 14.2 ตดิ ตามผลหลงั การอบรม โดยใช้แบบสัมภาษณ์ 14.3 ประเมนิ ผลการดาเนนิ โครงการ โดยใช้แบบประเมินความพงึ พอใจ ลงช่อื ………………….…………………ผ้เู สนอโครงการ ลงชือ่ …………………………………….…ผเู้ หน็ ชอบโครงการ (..........................................) ( ……………….………………………) ……………………………………. …………………………………........ ลงช่อื ………………………………………………………..ผู้อนุมตั ิโครงการ (.............................................................. .) ผอ.กศน.อาเภอ/เขต............................................ คมู่ ือ การดาเนินงานลกู เสอื ในสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งาน กศน. 37

2.2.2 เตรียมรำยชื่อคณะกรรมกำรฝกึ อบรม ตวั อย่ำงคำสง่ั คาส่งั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ……………………………..……. ท่ี ………… /…………… เรื่อง แต่งต้งั คณะกรรมการดาเนินงานโครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นด้วยกระบวนการลูกเสือ ................................................... ด้ ว ย ………………โ ด ย ส า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย จังหวดั ...................และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ................................... จะจัดโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยกระบวนการลูกเสือ เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน เป็นผู้ท่ีมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสา มีความเสียสละ ในการช่วยเหลือผู้อ่ืน บาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และชุมชน จานวน......คน โดยกาหนดอบรมในระหว่าง วันท่ี ........... เดือน...................พ.ศ. .........ถึง วันที่ ...........เดอื น.................พ.ศ. ...........ณ ............................................... เพื่อให้การดาเนินงานการจัดอบรมตามโครงการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุ ตามวตั ถุประสงคอ์ ย่างมีประสิทธิภาพ จงึ แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนินงานดงั นี้ 1. คณะกรรมกำรทปี่ รึกษำ 1.1 ................................................ 1.2 ................................................ 2. คณะกรรมกำรอำนวยกำร 2.1 ................................................ ประธานกรรมการ 2.2 ................................................ กรรมการ 2.3 ................................................ กรรมการ 2.4 ................................................ กรรมการ 2.5 ................................................ กรรมการและเลขานุการ 2.6 ................................................ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ มีหน้ำที่ วางแผน ตดิ ตอ่ ประสานงาน กากบั ดูแลและแก้ไขปญั หาอุปสรรคต่าง ๆ ในการอบรม 3. คณะกรรมกำรดำเนนิ งำน วิทยำกรให้กำรอบรม พิธกี ำร และนนั ทนำกำร 3.1 ................................................ ผู้บงั คบั การคา่ ย/ผอู้ านวยการฝกึ 3.2 ................................................ วทิ ยากร 3.3 ................................................ วทิ ยากร 3.4 ................................................ วทิ ยากร มหี น้ำที่ 1. ดาเนนิ การอบรม และเปน็ วิทยากรใหค้ วามรใู้ นเนื้อหา ตามตารางการอบรม 2. จัดเตรยี มคากลา่ วเปิด และกลา่ วรายงานการอบรม 3. จดั กิจกรรมนันทนาการ 4. จัดทาหนงั สอื ตอบขอบคุณหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง คู่มอื การดาเนินงานลูกเสอื ในสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งาน กศน. 38

4. คณะกรรมกำรอำคำรสถำนที่ และโสตทศั นปู กรณ์ 4.1 ................................................ ประธานกรรมการ 4.2 ................................................ กรรมการ 4.3 ................................................ กรรมการ 4.4 ................................................ กรรมการและเลขานุการ มหี น้ำท่ี ประสานงานกบั สถานที่ท่ใี ชใ้ นการฝกึ อบรม เพ่อื ดาเนินการ ดงั น้ี 1. จัดตดิ ปา้ ยโครงการอบรมบนเวทีและจัดสถานทีใ่ ห้สวยงาม 2. จัดเตรยี มเคร่อื งขยายเสียง เคร่ืองฉายโปรเจกเตอร์ประกอบการบรรยาย 3. บันทึกภาพการจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ทกุ ขัน้ ตอน 4. จดั ทาเสาธงชาติ ให้เรยี บร้อย 5. คณะกรรมกำรจดั เตรียมเอกสำรและสื่อประกอบกำรอบรม 5.1 ................................................ ประธานกรรมการ 5.2 ................................................ กรรมการ 5.3 ................................................ กรรมการ 5.4 ................................................ กรรมการและเลขานุการ มีหนำ้ ที่ 1. จดั ทาบัญชีลงเวลาผ้เู ขา้ รบั การอบรม 2. รับลงทะเบยี น/รายงานตัวผู้เขา้ รบั การอบรม 3. ประสานงานกบั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา เพือ่ จดั เตรยี มสอื่ เอกสาร ตามเนอื้ หาการอบรม 4. จดั ทาวุฒิบัตรสาหรับมอบผู้ผา่ นการอบรม วิทยากร และผูส้ นบั สนุนการอบรม 6. คณะกรรมกำรฝำ่ ยปฏิคมและสวัสดกิ ำร 6.1 ................................................ ประธานกรรมการ 6.2 ................................................ กรรมการ 6.3 ................................................ กรรมการ 6.4 ................................................ กรรมการและเลขานกุ าร มีหน้ำที่ 1. ต้อนรับแขกผู้มีเกียรต/ิ ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมและอานวยความสะดวก ในเรื่องต่าง ๆ 2. ประสานงานการจดั เตรียมอาหาร เครื่องด่ืม และที่พกั แก่ผู้เขา้ รับการอบรม, วิทยากร 7. คณะกรรมกำรฝ่ำยปฐมพยำบำล 7.1 ................................................ ประธานกรรมการ 7.2 ................................................ กรรมการ 7.3 ................................................ กรรมการและเลขานุการ มีหนำ้ ท่ี อานวยความสะดวกในการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นให้แก่ผู้เข้ารบั การอบรมวทิ ยากร ในกรณเี กดิ การเจ็บปว่ ย 8. คณะกรรมกำรฝำ่ ยกำรเงินและพสั ดุ 8.1 ................................................ ประธานกรรมการ 8.2 ................................................ กรรมการ 8.3 ................................................ กรรมการและเลขานุการ คมู่ ือ การดาเนนิ งานลกู เสือในสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงาน กศน. 39

มหี น้ำที่ 1. บริการเบิก – จา่ ย เงิน ในการดาเนนิ กิจกรรมตามโครงการอบรมฯ 2. ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานการเบกิ จา่ ยเงินให้ถูกต้องครบถว้ นตามระเบยี บ การเบิก-จ่าย 3. ตรวจสอบจานวนผเู้ ข้ารบั การอบรม เบกิ จ่ายคา่ อาหาร/อาหารวา่ ง ๙. คณะกรรมกำรฝ่ำยประเมนิ ผล ๙.1 ................................................ ประธานกรรมการ ๙.2 ................................................ กรรมการ ๙.3 ................................................ กรรมการและเลขานุการ มีหนำ้ ท่ี 1. จดั ทาแบบประเมินผลการอบรม 2. ดาเนนิ การประเมนิ ผล 3. รวบรวมและสรุปผลการประเมนิ ให้คณะกรรมการทุกฝ่ายที่ได้รับการแต่งตั้ง ประชุมปรึกษาหารือ และปฏิบัติงานตามหน้าท่ี ท่ีได้รับมอบหมาย โดยเคร่งครัด เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุด และบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมี ประสทิ ธิภาพ ทัง้ น้ี ตั้งแต่วนั ท่ี ....... เดือน ........ พ.ศ. ...... เป็นตน้ ไป ส่ัง ณ วันท.่ี .......... เดอื น............ พ.ศ. ......... ............................................ (............................................) ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ…………..…………… 2.2.3 เสนอโครงกำรฝึกอบรมและรำยช่ือคณะกรรมกำร เพอื่ ขออนุมัตไิ ปยังผู้มอี านาจ อนุมัติ กลา่ วคือ 1) ผู้บริหาร กศน.อาเภอ อนุมัติคาสั่งแต่งต้ังรายชื่อคณะกรรมการและอนุมัติ โครงการกรณีงบประมาณไมเ่ กนิ 100,000 บาท 2) ผู้บริหาร สานักงาน กศน.จังหวัด อนุมัติโครงการ กรณีงบประมาณเกิน 100,000 บาท 2.2.4 ทำหนงั สือขออนุญำตต้นสังกัด กรณีที่ใชว้ ิทยากรจากหนว่ ยงานอืน่ 2.2.5 กำรขอรบั สนบั สนนุ 1) หน่วยงานต้นสังกดั 2) สมาคม องคก์ รการกุศล สโมสร 3) สานกั งานลกู เสือจงั หวัด สานกั งานลกู เสือเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา 4) อน่ื ๆ ....................................................... 2.2.6 ทำหนงั สอื เชญิ 1) เชิญประธาน เปิด-ปดิ การอบรม 2) เชิญวทิ ยากร 3) เชิญแขกผู้มเี กยี รติ มารว่ มกจิ กรรมหรือเปน็ ประธานในกิจกรรม 4) อนื่ ๆ ....................................................... คมู่ อื การดาเนินงานลูกเสือในสถานศกึ ษา สังกดั สานักงาน กศน. 40

2.2.7 ประชำสมั พนั ธโ์ ครงกำรอบรมไปยังสอื่ มวลชน 2.2.8 จัดทำเอกสำรประกอบกำรอบรม เช่น บันทึกการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่ือ ประกอบการจดั กิจกรรม ใบงาน ใบความรู้ เป็นตน้ 2.2.๙ จดั หำอุปกรณ์สำหรับกำรอบรม ในการจดั กิจกรรมรปู แบบค่ายพกั แรมควรจัดเตรยี มอปุ กรณ์ดังต่อไปน้ี 1) เสาธง 2) ธง ได้แก่ ธงชาติ ธงประจาหมู่ 3) โตะ๊ หมูบ่ ชู า 4) พระบรมรูปรัชกาลท่ี 6 5) รูป B.P. ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ 6) กลอ่ งอุปกรณ์ของลูกเสือ (ปา้ ยชอื่ ปากกา ไมบ้ รรทัด ปากกาเคมี สมุดลกู เสอื ฯลฯ) 7) หนา้ เสือสาหรับกจิ กรรมลอดซุ้ม 8) อปุ กรณ์สาหรบั การบนั เทิง เช่น กลอง ฉิง่ ฉาบ เครอื่ งขยายเสียง ฯลฯ ๙) ป้ายโครงการ 10) อุปกรณ์สาหรับกิจกรรมลูกเสือโลก/ลูกเสือไทย ได้แก่ ป้ายนิทรรศการ เก่ียวกับลูกเสือโลก/ลูกเสือไทย สอื่ ประกอบกจิ กรรม เครอ่ื งหมายวชิ าพิเศษ 11) อุปกรณ์ส าหรับกิจ กรรมคา ปฏิญาณแ ละกฎ ขอ งลูกเสือ ได้แก่ ปา้ ยคาปฏญิ าณ ป้ายกฎลกู เสอื 12) อุปกรณ์สาหรับกิจกรรมชีวิตชาวค่าย ได้แก่ ชุดสาธิตตัวอย่างชั้นวางจาน เตาชนิดต่าง ๆ ท่ีใส่ขยะเปียก ขยะแห้ง เต็นท์ อุปกรณ์เครื่องครัว ท่ีแขวนเคร่ืองมือช่าง ชุดอาหารสาธิต อุปกรณส์ าหรับฝึกปฏบิ ัติ ไดแ้ ก่ เชือก ไม้ไผ่ อปุ กรณช์ ่าง ถงุ ดา ฯลฯ 13) อุปกรณส์ าหรับกิจกรรมทักษะลกู เสอื ได้แก่ เชือกเงอ่ื นลูกเสือ ขนาด 2.45 เมตร จานวนเทา่ ผ้เู ข้าอบรม อุปกรณ์ปฐมพยาบาล แผนทีแ่ ละเขม็ ทศิ 14) อุปกรณ์สาหรับกิจกรรมเดินทางไกล ได้แก่ ใบงาน อุปกรณ์ประจาฐาน (แลว้ แตว่ ิทยากรกาหนด) 15) อุปกรณ์สาหรับกิจกรรมเส่ียงภัย ได้แก่ ฐานฝึกด้านจิตใจ ฐานฝึก ดา้ นความสามัคคี ฐานฝึกดา้ นสุขภาพ ฐานฝึกการทรงตวั ความกลา้ และอ่ืน ๆ แล้วแตว่ ทิ ยากรกาหนด 16) อุปกรณ์สาหรับกิจกรรมการชุมนุมรอบกองไฟ ได้แก่ กองไฟจาลอง โต๊ะ/เก้าอ้ี ประธาน เครอ่ื งขยายเสียง ของรางวัล 17) อุปกรณ์สาหรับกิจกรรมลูกเสือและการบริการ ได้แก่ กระดาษบรู๊ฟ ปากกา เคมี กระดาษ เอ4 อุปกรณส์ าหรบั ฝึกบาเพญ็ ประโยชน์ 18) อปุ กรณ์สาหรับปฐมพยาบาลประจาคา่ ย 1๙) อปุ กรณ์ทาครัวสาหรบั วทิ ยากร กรณคี ่ายพกั แรมทีใ่ ห้ประกอบอาหารเอง 20) เครอื่ งหมายประกอบการแตง่ กายสาหรบั นายหมู่ รองนายหมู่ และพลาธกิ าร 21) อ่นื ๆ ....................................................................... 2.1.10 กำรประชมุ คณะกรรมกำรฝกึ อบรม ประชุมเตรียมการก่อนการฝึกอบรม ได้แก่ มอบหมายหน้าท่ีตามคาส่ังให้แก่ วิทยากร การจัดเตรียมสถานที่ การจัดเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ การประสานงานกับผู้เก่ียวข้อง รายละเอียด เกี่ยวกบั การอบรม และอน่ื ๆ คู่มอื การดาเนนิ งานลูกเสอื ในสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งาน กศน. 41

2.1.11 เตรยี มคำกลำ่ วรำยงำนในพิธเี ปดิ -ปิด 1) สาหรับผ้ดู าเนินการโครงการ 2) สาหรับประธาน 2.1.12 จดั ทำปำ้ ยงำนอบรม ใหม้ รี ายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ชอ่ื โครงการ 2) ระยะเวลาในการจัด 3) สถานท่ีจดั 4) หน่วยงานท่ีจดั 5) ตราสัญลกั ษณ์หน่วยงานทีจ่ ัด และหนว่ ยงานที่สนับสนุน 2.3 กำรดำเนินกำรระหวำ่ งจดั คำ่ ยฝึกอบรม 2.3.1 ประชุมคณะกรรมกำร จัดให้มีการประชุมคณะวิทยากร และทีมงานทุกวัน เวลา 17.00 น. โดยทบทวนกิจกรรมในรอบวนั ทีผ่ ่านมา และการเตรยี มกิจกรรมทจี่ ะจัดในวนั ต่อไป 2.3.2 จัดสงิ่ ของเครือ่ งใช้และอุปกรณ์ ก่อนจัดกิจกรรมในแต่ละรายวิชา วิทยากรประจาวิชาควรจัดเตรียมอุปกรณ์ และตรวจสอบความเรียบรอ้ ยพรอ้ มทีจ่ ะจดั กจิ กรรมเม่ือถึงเวลาท่ีจัดกจิ กรรม 2.3.3 แบบวัดผลและประเมินผล จัดให้มีการวัดผลประเมินผลประจาวัน โดยวิทยากรประจาวันดาเนินการ ดังตอ่ ไปนี้ 1) จัดประชุมนายหมู่ประจาวัน เพ่ือประเมินสภาพปัญหาและอุปสรรค ในการอยูค่ ่าย 2) ประเมินผลในเรือ่ งดังต่อไปนี้ - ระบบหมู่ (10 คะแนน) การตรงต่อเวลา (10 คะแนน) นันทนาการ (10 คะแนน) ตรวจเยี่ยม (30 คะแนน) งานทมี่ อบหมาย (10 คะแนน) ให้มีการให้คะแนนทุกวัน - การแสดง (30 คะแนน) ใหเ้ มอื่ เสรจ็ สิน้ กิจกรรมรอบกองไฟ - หมบู่ รกิ าร (10 คะแนน) ให้เมอ่ื ปฏิบัติหน้าที่ (ตวั อยำ่ ง) ตำรำงคะแนนกิจกรรม โครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นด้วยกระบวนการลูกเสือ ระหว่างวนั ท่ี......เดอื น....................พ.ศ. ............. ณ................................................................................จัดโดย...................................... ............................... กจิ กรรม ระบบหมู่ ตรงตอ่ เวลำ นันทนำกำร ตรวจเย่ยี ม งำนทมี่ อบหมำย กำรแสดง หมู่บริกำร ที่ วนั ที่ คะแนนรวม คะแนน 10 10 10 10 10 10 10 10 10 30 30 10 10 10 10 30 10 1 หมูท่ ี่ 1 2 หมู่ที่ 2 3 หมทู่ ่ี 3 4 หม่ทู ่ี 4 5 หมูท่ ี่ 5 6 หมทู่ ่ี 6 7 หมทู่ ี่ 7 8 หม่ทู ่ี 8 ค่มู ือ การดาเนนิ งานลูกเสือในสถานศึกษา สงั กัดสานกั งาน กศน. 42

2.3.4 เตรยี มพร้อมด้ำนยำนพำหนะ จดั ใหม้ ียานพาหนะเพอ่ื อานวยความสะดวกใหก้ ับวิทยากร และผ้เู ขา้ รับการอบรม กรณีฉุกเฉนิ บาดเจ็บ หรอื เจ็บปว่ ย 2.3.5 กำรบริหำรงบประมำณ ให้เป็นไปตามคาส่ังสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี 108๙/2563 ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2563 เร่ือง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินอุดหนุนของสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ข้อที่ 12 รายการค่าดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ/หรอื กิจกรรมเรียนรเู้ สริมหลักสูตร 2.4 กำรดำเนินกำรหลังเสร็จสิน้ กำรจดั คำ่ ยฝกึ อบรม มีข้นั ตอนดงั นี้ 1) นาส่ิงของและอปุ กรณส์ ง่ คนื หน่วยงานท่ีใหย้ ืมใช้ระหว่างการฝึกอบรม 2) ทาหนังสอื ขอบคุณ บุคลากรและหนว่ ยงานที่ใหก้ ารสนับสนนุ การจดั ฝึกอบรม 3) รวบรวมหลักฐาน ใบสาคัญค่าใช้จ่ายเสนอผู้ บริหารสถานศึกษา และหน่วยงานทสี่ นับสนุนงบประมาณ 4) ประชมุ สรปุ ผลการฝกึ อบรม และรายงานการฝกึ อบรมไปยงั หน่วยงานที่เกีย่ วข้อง 5) รายงานผล พรอ้ มภาพกจิ กรรม 6) รวบรวมเอกสาร ภาพกิจกรรม ทารูปเล่ม เพ่ือใช้ประโยชน์ในการศึกษา ค้นควา้ ควรมขี ้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ 2.5 รำยละเอียดกำรจดั กิจกรรมค่ำยลูกเสือ 2.5.1 พิธีเปิดกำรฝกึ อบรม 1) การบชู าพระรตั นตรยั 1.1) การจัดโต๊ะหมู่บูชา ควรเป็นโต๊ะหมู่ 5 หรือ 7 ประกอบด้วย พระพุทธรปู วางอยู่บนโต๊ะตัวสงู สุดต้งั อยูต่ รงกลาง ด้านข้างท้ัง 2 เป็นโต๊ะ 2 ตัว ต่ากว่าโต๊ะวางพระพุทธรูป สาหรับตั้งแจกันดอกไม้ โต๊ะตัวกลางต่าสุด วางกระถางธูป 1 กระถาง ไว้ตรงกลาง มีเชิงเทียน 1 คู่ วางอยู่ ข้างซ้ายและขวาของกระถางธูปในระดับเดียวกัน ถ้าเป็นโต๊ะหมู่ 7 จะเป็นโต๊ะต่าด้านข้างละตัวสาหรับวาง แจกันดอกไม้ ด้านข้างของโต๊ะหมู่บูชา เป็นท่ีตั้งของธงชาติอยู่ทางขวามือของพระพุทธรูป พระบรม ฉายาลักษณ์ รัชกาลท่ี 10 อยู่ทางซ้าย (ธงชาติไม่ควรให้สูงกว่า) มีเส่ือหรือผ้าปูพรม ปูอยู่ท่ีพื้นตรงหน้าโต๊ะ หมู่บูชา มีหมอนสาหรับกราบ 1 ใบ ในกรณีผู้เป็นประธานในพิธีเป็นผู้มีอายุสูง หรือสุขภาพไม่สมบูรณ์ หรือร่างกายไม่อานวยให้ท่ีจะต้องก้มลงกราบกับพ้ืนราบ ควรจัดท่ีสาหรับกราบแทน กรณีจะใช้พุ่มเงิน พุม่ ทอง มาตงั้ ไวด้ ว้ ย ให้วางพมุ่ ทองไว้ทางขวาของผูว้ างและพุม่ เงินอยู่ทางซ้าย 1.2) ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ 1.2.1) เม่ือประธานในพิธีเข้าไปในบริเวณประกอบพิธี พิธีกรส่ัง ทาความเคารพว่า “กอง – ตรง” ประธานรบั การเคารพแล้วนั่งเกา้ อี้ พธิ กี รส่ัง “นงั่ ” 1.2.2) เม่ือประธานในพิธีนั่งพักพอสมควรแล้ว พิธีกรเชิญประธาน ประกอบพิธี ประธานเดินไปทโี่ ต๊ะหมูบ่ ูชา ใหท้ กุ คนลุกข้ึนยืนด้วยตนเองโดยไมต่ อ้ งส่งั 1.2.3) เมื่อประธานรับไฟชนวน เริ่มจุดเทียนเล่มทางขวาก่อน และเลม่ ทางซา้ ยของพระพทุ ธรปู ตามลาดับ แลว้ จดุ ธูป 1.2.4) ประธานน่ังลงกราบพระพุทธรูป 3 คร้ัง แล้วลุกขึ้นยืน ถอยหลงั 1 ก้าวทาความเคารพ 1.2.5) ผู้ร่วมในพิธียกมือประนมข้ึนพร้อมกันเมื่อประธานเริ่มจุด เทียนชนวนและก้มศีรษะลงเลก็ น้อยพร้อมประธานในพิธี กม้ ลงกราบ รวม 3 คร้งั คูม่ ือ การดาเนนิ งานลูกเสือในสถานศกึ ษา สงั กัดสานักงาน กศน. 43

1.2.6) ต่อจากนั้นประธานเดินไปถวายสักการะแด่พระบรมรูป รชั กาลท่ี 6 ตอ่ ไป 2) พธิ ีถวายราชสดุดี 2.1) เครื่องบูชา จัดต้ังไว้หน้าพระบรมรูป ควรมีเครื่องทองน้อยและพาน สาหรบั วางพวงมาลยั ข้อพระกร หรือช่อดอกไมถ้ า้ ไมม่ เี ครอ่ื งทองนอ้ ยให้จัดเครื่องบชู า ดงั น้ี 2.2.1) ธูป 1 ดอก 2.1.2) เทยี น 1 เล่ม 2.1.3) พานสาหรบั วางพวงมาลยั ข้อพระกร หรอื ชอ่ ดอกไม้ 2.2) พิธกี ร เชิญประธานในพธิ ีจุดธปู ถวายราชสกั การะ ภายหลังทปี่ ระธาน ไดจ้ ดุ ธปู เทียนบชู าพระรัตนตรยั แลว้ 2.3) ประธานในพธิ ี 2.3.1) เดินไปยังหน้าพระบรมรูป ถวายคานับ (ตามระเบียบ สานักพระราชวัง) รับพวงมาลัยข้อพระกร หรือช่อดอกไม้จากเจ้าหน้าท่ีถวายไว้บนพานท่ีหน้าพระบรมรูป แล้วจดุ เทียน จุดธูปตามลาดับ 2.3.2) เสร็จแล้วลงน่ังคุกเข่า ประนมมือ ถวายบังคม 3 คร้ัง แล้วลุกขนึ้ ยืนถวายคานับอีกครั้งหน่ึง 2.3.3) ถอยออกมานั่งเตรยี มถวายราชสดุดี ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า หน่ึงก้าว คุกเข่าลง ต้ังเข่าซ้ายน่ังลงบนส้นเท้าขวา มือขวาแบคว่าวางลงบนเข่าขวา แขนซ้ายวางพาดบนเข่าซ้าย เอียงไปทางขวาเล็กน้อย เมื่อรอ้ งเพลงราชสดุดี ให้ก้มหน้าเล็กน้อยและให้เงยหน้าขึ้นตามเดิมเม่ือจบเพลง (ถ้า ถอื หมวกอยู่ดว้ ยใหป้ ฏิบัติตามคูม่ ือระเบียบแถวของสานักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ) 2.4) ลกู เสือและผู้รบั เชิญอน่ื ๆ ปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 2.4.1) เม่ือประธานเดินไปจุดธูปเทียนบูชาพระบรมรูป ทุกคนยืน อยู่ในท่าตรง 2.4.2) เม่ือประธานลงน่ังคุกเข่าถวายบังคมให้ทุกคนน่ังลง ในทา่ เตรยี มถวายราชสดดุ ี 2.4.3) เมื่อประธานถอยมาน่ังในท่าเตรียมถวายราชสดุดี พิธีกร จะนาถวายราชสดุดี ให้ทุกคนร้องตามพร้อมกัน 2.4.4) เม่ือจบบทถวายราชสดุดีแล้วพิธีกรจะส่ังให้ทุกคน “ลุก” ทุกคนลุกขึน้ ยนื เม่ือประธานเดนิ ไปนงั่ ประจาทีแ่ ลว้ ใหท้ ุกคนนัง่ ลง หมำยเหตุ สาหรับประธานในพิธี และลูกเสือท่ีเป็นสตรี เมื่อเวลาถวายราชสดุดี เพ่ือความเหมาะสม ใหน้ ั่งคุกเข่าทงั้ สองขา้ ง มอื ท้งั สองวางขนานกนั ไว้บนเขา่ ท้ังคู่ 3) พิธีเปิดกอง พิธีรอบเสาธง ผ้บู งั คับการค่าย เปน็ ผู้กาหนดให้วทิ ยากรประจาหมู่ หมู่บริการ ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ พิธกี รประจาวัน โดยหมุนเวียนผลัดเปลยี่ นกันทกุ วนั ปฏบิ ัตติ ามขั้นตอน ดังน้ี 3.1) พิธีกร ยืนหน้าเสาธง หันหลังให้เสาธง ห่างประมาณ 3 ก้าว อยใู่ นท่าตรง ใช้คาสัง่ เรียก “กอง” โดยทาสญั ญาณมือเรียกแถวเป็นรูปครงึ่ วงกลม คมู่ ือ การดาเนินงานลกู เสอื ในสถานศึกษา สังกดั สานักงาน กศน. 44