รายงาน ข้อสอบ TAKE HOME การจดั การความรู้เพอื่ การพฒั นาสังคม นางสาวสิราวลั ณ์ อภยั จติ ร์ 6140308121 เสนอ ผศ.ดร. กนกพร ฉิมพลี การจดั การความรู้เพอ่ื การพฒั นาสังคม (219331) สาขาวชิ าการพฒั นาสังคม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564
คคำานนาำ รายงสนฉบับนเี้ ป็นส่วนหนง่ึ ของรายวิชา การจดั การความรเู้ พื่อพัฒนาสังคม โดยมขี ุดประสงค์เพ่ือ ศึกษาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ (Knowledgemanagement) ทั้งน้ีรายงานน้ีมีเนื้อหา ประกอบดว้ ยความรเู้ ก่ยี วกบั การจัดการเรียนรู้ตลอดจนการประยุกต์ใชใ้ นสาขาวชิ าการพัฒนาสงั คม ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อน้ีในการจัดทารายงาน เน่ืองมาจาก ผศ.ดร.กนกพร ฉิมพลี ได้ให้นักศึกษา หาความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ และเป็นผลคะแนนสอบ หวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ ผู้อา่ นทุกๆทา่ น ไม่มากกน็ อ้ ย หากมเี สนอแนะประการใดผจู้ ดั ทาขอรบั ไวด้ ้วยความขอบพระคณุ อยา่ งย่ิง
อธิบายกระบวนการเกดิ ความรู้ พร้อมยกตวั อย่างประกอบเพอื่ สังเคราะห์ กระบวนการเกดิ ความรู้ของตนเองอย่างละเอยี ด ตามท่ีเคยได้ศึกษาการจัดการความรู้ของตนเองในคร้ังท่ีแล้ว จึงอยากขอยกเร่ืองท่ีตนเองได้ศึกษา ในหวั ขอ้ เรื่อง ปริ ามดิ แหง่ ความรู้ (โดย ไฮดีโอยามาซาก)ิ มาใชต้ อบในประเดน็ คาถามน้ี ความรู้มี 4 ประเภท และมกี ารพัฒนาการตามลาดับเปน็ 4 ข้นั เรียงจากต่าไปสูง ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ภูมิปัญญา ซง่ึ แต่ละระดบั มคี วามหมายแตกต่างกัน แต่มีความสัมพนั ธเ์ กีย่ งเนอื่ งเปน็ ฐานของกันและกนั ดงั นี้ 1. ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเร่ืองหน่ึง ได้จากการสังเกตส่ิงท่ีเกิดขึ้น โดยยังไม่ผ่าน กระบวนการ การวเิ คราะห์ (ด้วยกลวธิ ีทางสถิติ) จึงเป็นขอ้ มูลดิบ 2. สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการวิเคราะห์แล้ว เพ่ือนามาใช้ประโยชน์เก่ียวกับ เรื่องใดเรอ่ื งหนึ่ง 3. ความรู้ (Knowledge) คือ สารสนเทศท่ีผา่ นกระบวนการคิดเปรยี บเทยี บ เช่อื มโยงกบั ความรอู้ ืน่ จนเกิด เป็นความเข้าใจ สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นเรอื่ งใดเรือ่ งหนงึ่ ได้ 4. ภูมิปัญญา (Wisdom) คือ การประยุกต์ใชค้ วามรู้เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการทางาน บางท่านจึงเรียก ภมู ปิ ัญญาว่าปญั ญาปฏบิ ัติ
ยกตัวอยา่ งเช่น การจัดการความร้สู กู่ ารสร้างนวตั กรรมของหา้ งสรรพสินคา้ 1. ข้อมูล = ห้างสรรพสนิ คา้ แหง่ หนึง่ มีการเกบ็ ข้อมลู การซอ้ื สินคา้ ของผ้บู รโิ ภคใน 1 ปที ่ีผา่ นมา 2. สารสนเทศ = เมื่อนาขอ้ มูลมาวเิ คราะห์ พบวา่ ลกู คา้ สว่ นใหญ่ทซ่ี ื้อของขวญั จะซอ้ื บัตรอวยพรควบคกู่ นั ไปด้วยแต่จะซ้ือของขวญั ก่อน จากน้ันจึงซ้ือบัตรอวยพร โดยวิเคราะห์จากช่วงเวลาในการออกใบเสร็จหรือ การรูดบัตรเครดิต และส่วนใหญ่มักจะซื้อในช่วงเทศกาลวันสาคัญ เช่น วันเกิด ปีใหม่ และวันวาเลนไทน์ เป็นตน้ 3. ความรู้ = หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลเป็นสารสนเทศแล้ว ทาให้เกิดความรู้และภูมิปัญญา เพื่อคิด สร้างสรรค์นวัตกรรมในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ผู้บริหารห้างสรรพสินค้าได้ตัดสินใจปรับเปล่ียนผัง ของห้างฯ เป็นแบบใหม่ โดยย้ายแผนกจาหน่ายบตั รอวยพร ซ่ึงเดิม อยู่ท่ีช้ัน 3 ไปอยู่ท่ีชน้ั 2 ตดิ กับแผนก จาหน่ายของขวญั ทาให้ลูกค้ามีความสะดวกมากข้ึน ไม่ต้องเดินย้อนไปย้อนมาสนิ ค้าจึงขายได้มากกว่าเดิม ถือวา่ เป็นความรทู้ ีไ่ ด้จากการนาสารสนเทศมาใช้ 4. ภูมิปัญญา/นวัตกรรม = หลังจากประสบความสาเร็จในการขายของขวัญและบัตรอวยพรแล้ว ผู้บริหารได้วิเคราะห์พฤติกรรมการซ้ือของลูกค้าในกลุ่มสินค้าประเภทอ่ืนๆ พบว่า สินค้าบางกลุ่มมีความ เชื่อมโยงของพฤติกรรมการซื้อเช่นกัน จึงจัดผังห้างในส่วนอนื่ ๆ ใหม่ โดยให้สินค้าท่ีมีความเช่ือมโยงกันมา อยู่ใกล้ชิดกัน เพ่ือให้ความสะดวกของลูกค้า รวมทั้งจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายดังกล่าวไปพร้อมกัน เป็น ผลให้ยอดขายสินค้าสูงเพ่ิมมากขึ้น พฤติกรรมการซ้ือของลูกค้าเป็นปัจจัยสาคัญท่ีต้องนามาวิเคราะห์และ ใชเ้ พอื่ การบริหารจัดการ เช่น การจัดผังหา้ งฯ การวางแผนสง่ เสริมการขาย เป็นต้น
กระบวนการสร้างความรู้ หรือ seci model มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร และมีแนวทางการสร้างความรู้จาก model ดงั กล่าวได้อย่างไร Socialization เป็นการถ่ายโอนความรู้โดยตรงระหว่างกลุ่มคนที่มี Externalization เป็นการถ่ายโอนความรู้จาก การแลกเปล่ียนประสบการณ์จากคนหน่ึงไปอีกคนหนึ่ง กลุ่มคนท่ีมา ผู้เช่ียวชาญท่ีมีความสามารถในการสอนผ่านสื่อต่างๆ เสวนาแลกเปลี่ยนความรู้กันนี้ มักจะมพี ื้นฐานความรทู้ ี่สอดคล้องกัน จากประสบการณ์ในสมองของเขาออกมาสู่ภายนอก หรือเคยมีประวัติอดีตท่ีคล้ายคลึงกัน จะมีคล่ืนความถ่ีท่ีใกล้เคียงกัน แก่ผูอ้ น่ื สามารถสือ่ สารและทาความเขา้ ใจกันได้โดยง่าย แนวทางการประยุกต์ใช้ เป็นส่วนของการรวบรวม แนวทางการประยุกต์ใช้ สร้างระบบกระดานสนทนาเพ่ือเป็นท่ี เอกสารต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงการสร้างระบบ แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างผู้เช่ยี วชาญกับบุคคลท่ัวไป จัดเก็บงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการรักษาน้องแมว และ การจัดทาระบบฐานข้อมูลท่ีผู้เช่ียวชาญสามารถเข้า มาทาการเพิม่ หรือแกไ้ ขขอ้ มูลได้ Internalization การนาความรู้ใหม่มาลงมือปฏิบัติจริง Combination การเรียนร้สู ิง่ ใหม่ๆ ใหท้ นั ตอ่ กระแสการ ผู้ปฏิบัติจะเกิดการเรียนรู้ให้เกิดเป็นความรู้ประสบการณ์ เปล่ียนแปลง และมีการศึกษาเรียนรู้จากความรู้ภายนอก และปัญญา เป็นประสบการณ์อยู่ในสมองในเชิง Tacit ซึ่งแนวคิดจะมีความหลากหลายมากต้องสร้างความ Knowledge ตอ่ ไป เข้าใจและเช่ือมโยงความรู้อันหลากหลายให้ได้ และ แนวทางการประยุกต์ใช้ เป็นส่วนท่ีใช้ในการวัดสถิติการ ถา่ ยทอดความรู้ใหมๆ่ ใหก้ ับองคก์ รของตน เข้าใช้งานของผู้ใช้งานโดยท่ัวไป เช่น การวัดจานวนคร้ัง แนวทางการประยุกต์ใช้ เป็นการสร้างระบบการ ในการดาวน์โหลดงานวิจัย การวัดสถิติการเข้าชมวีดีโอที่ วิเคราะห์ข้อมูลโรคจากอาการของน้องแมว และการ เก่ียวข้องและการเก็บสถิติชื่อโรคท่ีผู้ใช้เข้ามาทาการ แสดงรายละเอียดของโรคทว่ี เิ คราะหไ์ ด้ ค้นหา เปน็ ต้น
จงวเิ คราะห์กระบวนการจดั การความรู้ โดยอธิบายว่าแตกต่างระหว่าง กระบวนการจัดการความรู้ทป่ี ระยุกต์ใช้ในภาคองค์กร และกระบวนการจดั การความรู้ในชุมชน อย่างละเอยี ด กระบวนการจดั การความรใู้ นชุมชนมีกระบวนการดงั นี้ ในการจัดการความรูใ้ นองคก์ รมกี ระบวนการดังนี้ 1. การบง่ ชค้ี วามรู้ เป็นการพจิ ารณาวา่ องค์กรมี วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมายคอื อะไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ เชน่ การสร้างความรู้ ใหม่ รกั ษาความรู้เก่า กาจัดความรู้ที่ใชไ้ มไ่ ดแ้ ลว้ 3. การจัดความร้ใู หเ้ ปน็ ระบบ เปน็ การวางโครงสร้าง ความรู้ 4. การประมวลและกลน่ั กรองความรู้ เช่น ปรบั ปรุง รปู แบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน 5. การเข้าถงึ ความรู้ เปน็ การทาใหผ้ ใู้ ชค้ วามร้เู ขา้ ถงึ ความร้ทู ีต่ ้องการไดง้ า่ ยและสะดวก 6. การแบง่ ปนั แลกเปลี่ยนความรู้ อาจจดั ทาเปน็ เอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 7. การเรียนรู้ ควรทาใหก้ ารเรียนรู้เป็นสว่ นหน่ึงของ งาน เช่น เกิดระบบการเรียนรูจ้ ากสรา้ งองค์ความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เป็นกระบวนการแบบหน่ึงท่ีจะ ช่วยให้องค์กรหรือชุมชนเข้าใจถึงขั้นตอนที่ทาให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของ ความรู้ท่ีจะเกิดขึ้นภายในองค์กรหรือชุมชน ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน และถ้าจะพูดให้เข้าใจง่าย ๆ คือ องคก์ รกับชุมชนใช้กระบวนการจัดการความรทู้ ีเ่ หมอื นกัน
ในฐานะทที่ ่านเป็ นนักพฒั นาสังคม จงอธิบายแนวทางการจัดการความรู้ เพอ่ื การพฒั นาบณั ฑิตสาขาการพฒั นาสังคมในอนาคต ว่าควรมรี ูปแบบแนวทางเป็ นอย่างไร ทจ่ี ะส่งผลให้บัณฑติ สาขาวชิ าการพฒั นาสังคม เป็ นบัณฑติ ทม่ี ีคุณภาพ กาหนดเป้าหมายหลกั ว่าเราต้องการ อะไร จากการเขา้ ศกึ ษาทส่ี าขาวชิ า การพฒั นาสงั คม เรยี นรู้อย่เู สมอและ แสวงหาความรู้ ทักษะ ใหม่ๆ ใหต้ นเองใน หลายๆ ด้าน หมนั่ ทบทวน ความรู้เสมอ เพอ่ื ไม่ให้ ความรู้ถูกลมื ไป ฝึกฝนเรยี นรู้เป็นประจาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพให้ตนเองและหาแนว ทางแกไ้ ขปัญหา
อำ้ งอิง https://mykrongkan1.blogspot.com/p/blog-page.html https://mynurdeefaa1.blogspot.com/p/seci-model.html http://we-are-worker.blogspot.com/2009/11/seci-model.htmlฃ https://pakineekm.blogspot.com/2019/02/2.html https://www.gotoknow.org/posts/354526
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: