บนั ทึกข้อความ สว่ นราชการ สพฐ. โรงเรยี นทา่ ชา้ งวิทยาคม ท่ี ................. / ................ วันท่ี ๑๑ มกราคม ๒๕๖๔ เรือ่ ง รายงานผลการอบรมออนไลน์หลกั สูตรอบรมการจัดการเรียนรวู้ ิทยาการคานวณ สาหรับครมู ธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ - ๖ Coding Online Grade ๑๐ - ๑๒ Teacher (C๔T - ๙) เรยี น ผ้อู านวยการโรงเรียนท่าชา้ งวิทยาคม อ้างถงึ หนังสือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว๑๔๑๖ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓ ตามท่ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ประชาสัมพันธ์การสมัครเข้าร่วมการอบรมออนไลน์หลักสูตรอบรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการ คานวณสาหรับครู Coding for Teacher (C๔T) เพ่ือมุ่งเน้นการเรียนการสอนให้นักเรียนมีทักษะท่ีสาคัญในการดารงชีวิตใน ศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ พืน้ ฐานความคดิ เชิงคานวณ (Computational Thanking) พ้นื ฐานความร้ดู ้านเทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Technology) และพ้นื ฐานการรเู้ ท่าทันส่อื และขา่ วสาร (Media and Information Literacy) ซ่ึงทักษะพ้ืนฐานเหล่าน้ีเป็นสิ่ง สาคัญ ทีน่ กั เรียนควรได้รบั การปลกู ฝังตงั้ แต่ระดบั ปฐมวัยจนถงึ ระดบั มัธยมศึกษา เพอ่ื เปน็ รากฐานของการสร้างนวัตกรรมทาง เทคโนโลยีเพม่ิ ศักยภาพและนวัตกรรมทีจ่ ะนาไปสู่การพัฒนาประเทศ โดยข้าพเจ้าได้สมัครเข้าร่วมการอบรมออนไลน์ได้ต้ังแต่ วนั ท่ี ๘ – ๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ผ่านชอ่ งทาง https://teacherpd.ips.ac.th นัน้ บดั นี้ การเขา้ รับการอบรมออนไลน์ไดเ้ สรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ ขา้ พเจ้าขอรายงานผลการอบรมออนไลน์ มาเพื่อ พัฒนาตนเอง พัฒนาผเู้ รียนและพัฒนางานของหนว่ ยงานต่อไป ทง้ั นี้ ขา้ พเจ้าได้แนบเอกสารและรายละเอียดมาพร้อมหนังสือ ฉบับน้ี จึงเรียนมาเพ่อื โปรดทราบ (นายศรนั ย์ สภาพสวสั ด์ิ) ตาแหน่ง ครู ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนท่าชา้ งวทิ ยาคม ทราบ ขอรบั รองว่าข้อมลู ทร่ี ายงานเป็นความจรงิ ทุกประการ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................... . ................................................................................................................................................................................................................................................................................ ( นางสาวณัฐกานต์ สทุ ธิจติ ร์) ผอู้ านวยการโรงเรียนทา่ ชา้ งวิทยาคม
3 ความคิดเหน็ ของผอู้ านวยการโรงเรียนท่าช้างวทิ ยาคม ทราบ ขอรับรองวา่ ข้อมูลท่ีรายงานเป็นความจริงทกุ ประการ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... (นายัญชา ปลมื้ อารมย์) ผู้อานวยการโรงเรยี นท่าช้างวทิ ยาคม
1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รายงานผลการอบรมออนไลน์ หลักสูตรอบรมการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาการคานวณสาหรับครมู ธั ยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 Coding Online Grade 10 - 12 Teacher (C4T - 9) จดั โดย สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) ร่วมกับสถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) จานวน 20 ช่ัวโมง ผ่านช่องทาง https://teacherpd.ips.ac.th เหตุผลและความจาเปน็ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) มอบนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและส่งเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์โดยให้ความสาคัญกับการส่งเสริม การเรียนคอมพิวเตอร์ (Coding) ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาสร้างนักวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมศักยภาพและ นวัตกรรมของประเทศปัจจุบันระบบการศึกษาท่ัวโลกให้ความสาคัญต่อการสอนเทคโนโลยีในโรงเรียน โดยเฉพาะการสอนวิทยาการคานวณต้ังแต่ระดับประถมศึกษาเป็นการสร้างกระบวนการคิด เช่น logical thinking, computational thanking, systematic thinking, analytic thinking เป็นต้น ซึ่งกระบวนการ คดิ เหล่านี้เป็นส่ิงสาคัญท่ีเด็กทุกคนควรได้รับการปลูกฝังต้ังแต่ระดับประถมและมัธยมต้นเพื่อเป็นรากฐานของ การสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่จะนาประเทศไปสู่การพัฒนาตามนโยบาย Thailand 4.0 กระทรวงศึกษาธิการได้มีการปรับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กาหนดใหว้ ิทยาการคานวณเปน็ มาตรฐาน ว 4.2 ในสาระที่ 4 เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซ่ึง สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานได้ดาเนินโครงการที่เก่ียวข้องกับวิทยาการคานวณในระดับต่างๆ มาอย่างต่อเน่อื ง จากนโยบายข้างต้น ประกอบกับความต้องการกาลังคนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสะเต็มศึกษาและ ผสู้ ร้างนวัตกรรม สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีจึงวางแผนการดาเนินการให้มีความสอดคล้องกับความต้องการดังกล่าว โดยได้ดาเนินการอย่าง ต่อเน่ืองต้ังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับมัธยมศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตัวช้ีวัด และพัฒนาต่อยอดอย่าง ต่อเนอ่ื งส่ปู ญั ญาประดิษฐ์ กล่มุ เปา้ หมายโครงการ (Target group) 1. ครผู ู้รบั ผิดชอบรายวชิ าวทิ ยาการคานวณ 2. ครูกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและกลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ 3. ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นท่ีสนใจในการบูรณาการวิทยาการคานวณเข้ากับการจัดการเรียนรู้ ของตนเอง 4. บุคลากรทางการศึกษาอืน่ และประชาชนทัว่ ไปที่มคี วามสนใจการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ
2 ระยะเวลาดาเนินการโครงการ (เริ่มตน้ - สน้ิ สดุ โครงการ) วนั ที่ ๘ – ๘ มนี าคม พ.ศ.๒๕๖๔ ตามทีข่ า้ พเจ้า นายศรันย์ สภาพสวัสดิ์ ตาแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เข้าร่วมการอบรมออนไลน์หลักสูตรอบรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับครูมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 Coding Online Grade 10 - 12 Teacher (C4T - 9) ผ่านระบบเว็บไศต์ออนไลน์ในช่องทางของ https://teacherpd.ips.ac.th จัดโดย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) ร่วมกับสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยข้าพเจ้าได้สมัครเข้าและเข้าร่วมการอบรมออนไลน์ ตั้งแตว่ ันท่ี 8 มกราคม – 8 มีนาคม 2564 รวมเวลา 20 ชั่วโมง มีเนอื้ หา/สาระการอบรม ดงั น้ี การจัดการเรยี นร้วู ิทยาการคานวณระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานพุธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) โดยมีเนอื้ หาประกอบด้วย 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ ได้แก่ 1. แนะนาวทิ ยาการคานวณ 1.1 การขบั เคล่ือนการจัดการเรียนรู้โคด้ ดิ้งในโรงเรียน 1.2 แนะนาการจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคานวณ 1.3 ตัวช้ีวดั หลักสตู รวิทยาการคานวณมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1.4 แบบสอบถามประสิทธิภาพของหลักสูตรการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ ช่วงชั้นที่ 4 ม.4 - 6 2. แนวคดิ เชงิ คานวณกบั การแก้ปญั หาในชวี ติ จริง 2.1 แนวคิดเชิงคานวณ 1) แนวคิดเชงิ คานวณ การคิดเชิงคานวณ (computational thinking) เป็นพ้ืนฐานของการคิดแก้ปัญหาต่างๆ ที่ สามารถนา ไปประยุกต์ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน การคิดน้ีไม่ใช่เรื่องใหม่ เพราะมนุษย์ต้องแก้ปัญหา ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา ความท้าทายหลักของการคิดเชิงคานวณอยู่ท่ีการออกแบบกระบวนการแก้ปัญหาที่ คลมุ เครือให้เปน็ ข้ันตอนท่ชี ดั เจนมากพอทจ่ี ะนาไปแกป้ ัญหา การคดิ เชิงคานวณ มีลกั ษณะการคดิ อยู่ 4 ลกั ษณะ ได้แก่ - การแยกสว่ นประกอบและการย่อยปญั หา (decomposition) - การหารูปแบบของปญั หา (pattern recognition) - การคดิ เชงิ นามธรรม (abstraction) - การออกแบบขั้นตอนวธิ ใี นการแก้ปญั หา (algorithm) 2) บ้านเธอบา้ นฉนั กจิ กรรมบ้านเธอบ้านฉัน เป็นกิจกรรมฝึกการแก้ปัญหาโดยใช้การออกแบบข้ันตอนวิธีในการ แก้ปัญหา (algorithm) ให้ผู้เข้ารับการอบรมวาดรูปบ้านของตนเองลงในใบกิจกรรมบ้านเธอบ้านฉัน โดยไม่ให้เพื่อน เห็นภาพ จากน้ันจับคู่กับเพ่ือนแล้วบอกให้เพื่อนวาดภาพตามคาบอกโดยห้ามถามหรือสนทนาใดๆ แล้ว เปรียบเทยี บภาพต้นฉบับกับภาพทเ่ี พื่อนวาดว่าเหมือนกันหรือไม่ หากไม่เหมือนเพราะอะไร เขียนเหตุผลลงใน discussion board 3) แยกส่วนและสรา้ งใหม่
3 กิจกรรมแยกส่วนและสร้างใหม่ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมการคิดเชิงคานวณ โดยเฉพาะ \"การ แยกปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย\" หรือ \"Decomposition\" ซ่ึงกิจกรรมนี้ฝึกวิเคราะห์แยกองค์ประกอบของส่ิง ต่างๆ ซ่ึงทาให้สามารถสร้างแนวทางในการพัฒนาผลงานใหม่ จากการใช้องค์ประกอบของสิ่งของแต่ละส่วน การใช้ทักษะการคิดแบบแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหาน้ี เป็นส่วนหนึ่งของการคิดเชิงคานวณ เพ่ือ แก้ปัญหาในชวี ติ ประจาวัน 4) สวนสตั ว์หรรษา กิจกรรมสวนสัตว์หรรษา จะช่วยฝึกทักษะการคิดเชิงนามธรรม หรือ Abstraction โดยการ แยกสง่ิ สาคญั ออกจากรายละเอียดปลีกย่อย รวมท้ังยังได้ฝึกทักษะการหารูปแบบ หรือ Pattern Recognition ซงึ่ เป็นการหารูปแบบท่ีคล้ายกันมาของปญั หาทเี่ คยเกิดขน้ึ มาใช้ในการแกป้ ัญหาใหม่ แบบฝึกหดั แนวคดิ เชิงคานวณ Exercise CT 2.2 กจิ กรรม CS Unplugged 1) Sorting Network - Sorting network เป็นกิจกรรม unplugged ที่ฝึกขั้นตอนวิธี โดยในท่ีนี้จะฝึกการเรียง ขอ้ มูลจากสถานการณ์ทกี่ าหนด 2) การเรยี งขอ้ มลู ตอนท่ี 1 - กิจกรรมการเรียงข้อมูล เป็นกิจกรรม unplugged ท่ีฝึกข้ันตอนวิธีการเรียงข้อมูล โดยใช้ สิ่งของที่มอี ยู่ในมีชวี ติ ประจาวนั หรือ ในที่นี้ใช้การ์ดของส่ิงต่างๆ ไม่จาเป็นต้องเป็นตัวเลขเสมอไป ซ่ึงการเรียง ข้อมูลมหี ลายวธิ ี เชน่ การเรยี งแบบเลอื ก (selection sort) การเรยี งแบบแทรก (insertion sort) 3) การเรยี งข้อมูล ตอนที่ 2 - กิจกรรมการเรียงข้อมูล อาจใช้กระดาษ เขียนตัวเลขแทน แล้วกาหนดกติกาให้ผู้เล่นเรียง ตัวเลข และอาจให้หาวิธีการที่ดีที่สุดในการเรียงลาดับ นอกจากน้ีสามารถศึกษาข้ันตอนวิธีหรืออัลกอริทึม เพ่ิมเติมได้ที่ https://visualgo.net/en/sorting เพื่อผู้สอนจะสามารถกาหนดสถานการณ์ให้ผู้เรียนฝึกการ เขียนอัลกอริทึมได้หลากหลาย แบบฝึกหัด กจิ กรรม CS Unplugged Exercise Unplugged 2.3 Coding กับ Blockly 1) Blockly ตอนที่ 1 - Blockly เป็นเคร่ืองมือสาหรับให้ผู้เรียนฝึกการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ซ่ึงมีผู้พัฒนานา blockly ไปใช้สาหรับการฝึกเขยี นโปรแกรม เช่น scratch code.org micobit kid-bright kbide ในกิจกรรมน้ีจะเป็นการฝึกออกแบบอัลกอริทึมและนาอัลกอริทึมท่ีออกแบบไว้ไปใช้งานโดย ใช้ blockly ซ่งึ จะใชส้ ถานการณ์และเครอื่ งมือ blockly จากเวบ็ ไซต์ https://blockly.programming.in.th/ 2) Blockly ตอนท่ี 2 กิจกรรมน้ีจะเป็นการออกแบบอัลกอริทึมในการแก้ปัญหาและนาไปใช้งานโดยใช้เครื่องมือ blockly จาก https://blockly.programming.in.th/ ซึ่งมีสถานการณ์ปัญหาที่หลากหลาย ซึ่งเป็นฝึกทักษะ การคดิ อย่างเปน็ ข้ันตอน และเป็นระบบ แบบฝกึ หดั Coding กับ Blockly Exercise Blockly 3. การพฒั นาโครงงาน 3.1 การพัฒนาโครงงาน 1) การพฒั นาโครงงาน
4 - การพัฒนาโครงงานเป็นกระบวนการท่ีสามารถใช้แนวคิดเชิงคานวณ ในแต่ละขั้นตอนของ การพัฒนาโครงงาน หัวข้อของการพัฒนาโครงงานอาจเป็นปัญหาท่ีสนใจและเกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน และ ยังสามารถใช้แนวคิดเชิงออกแบบเพ่ือช่วยในการระบุปัญหาให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยมีการระบุ ปัญหาให้ชดั เจนจากที่มาของปญั หา หรือการกาหนดปัญหาสามารถหาได้จากแหล่งต่างๆ ท่ีอยู่ใกล้ตัว กิจกรรม ที่ทาในชีวิตประจาวัน แล้วออกแบบและวางแผนการพัฒนาโครงงาน โดยประเมินความสามารถในการทา โครงงานจากความรู้และทักษะพ้ืนฐาน งบประมาณ ทรัพยากร เวลาที่ใช้ คุณค่า และประโยชน์จากการ โครงงานในการนาไปใช้หรอื พฒั นาต่อยอด 2) การกาหนดปญั หา - จุดเริ่มต้นอันสาคัญของการคิดเชิงออกแบบมาใช้แก้ปัญหา คือ การสร้างความเข้าใจ กลุ่มเป้าหมายหรือผู้ใช้ท่ีเกิดปัญหาอย่างลึกซ้ึง ถึงสาระสาคัญ เหตุการณ์ ของปัญหาว่าคืออะไร เกิดขึ้นเม่ือใด เกิดที่ใด และมีบุคคลใดที่เก่ียวกับปัญหาบ้าง ผู้แก้ปัญหาจาเป็นต้องสร้างความเข้าใจกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ใช้ที่ เกิดปัญหาอย่างลึกซ้ึงเน่ืองจากการคิดเชิงออกแบบมีเป้าหมายเพ่ือสร้างส่ิงท่ีมีคุณค่าแก่กลุ่มเป้าหมาย พัฒนา คุณภาพชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย และช่วยแก้ปัญหาที่สาคัญของเขาซึ่งมิใช่ปัญหาหรือความต้องการของผู้ท่ีเข้า ไปช่วยแก้ปัญหา ซ่ึงผู้แก้ปัญหาอาจมองปัญหาจากสิ่งที่เห็น แล้วหาทางออกหรือคิดล่วงหน้าในใจเก่ียวกับ ปัญหาต่างๆ ก่อนท่ีจะลงมือสืบค้นหาหรือสารวจปัญหาจริงๆ ซึ่งส่ิงท่ีเห็นนั้นอาจไม่ใช่ปัญหาหรือสาเหตุของ การเกิดปัญหาที่แท้จริง ดังนั้นการทาความเข้าใจกับปัญหาหรือความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย หรือผู้ใช้ จึง เป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้ค้นพบสาเหตุของปัญหาท่ีแท้จริง การเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย หรือผู้ใช้ท่ีเกิดปัญหาอย่าง ลึกซ้ึง จึงต้องอาศัยการสารวจและเก็บข้อมูลเชิงลึก เพ่ือให้สามารถระบุถึง “ความต้องการหรือปัญหาท่ี แท้จรงิ ” ของกล่มุ เปา้ หมายหรือผูใ้ ช้ได้ ซง่ึ ในการสารวจและเกบ็ ขอ้ มลู ต้องอาศัยทักษะการฟัง การสังเกต การ สมั ภาษณ์ และวิเคราะหข์ อ้ มูล” 3) เทคนิคการตคี วามและสรา้ งกรอบปัญหา - หลังจากที่ได้ทาความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ใช้ถึงสาระสาคัญ เหตุการณ์ของปัญหา ว่าคืออะไร เกิดขึ้นเมื่อใด เกิดที่ใด และมีบุคคลใดที่เก่ียวกับปัญหาบ้างมาแล้วนั้น ควรนาข้อมูลที่ได้ทาความ เขา้ ใจกบั กลมุ่ เป้าหมายหรอื ผใู้ ชอ้ ย่างลึกซึ้ง รวมถึงบริบทที่เกี่ยวข้อง (เช่น ข้อจากัดหรือเง่ือนไขทางเศรษฐกิจ และสังคม) มาวิเคราะห์และจัดลาดับความสาคัญเพื่อสรุปปัญหาหรือความต้องการ โดยปัญหาหรือความ ต้องการที่เลือก ควรเป็นส่ิงที่สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ใช้ท่ีเกิดปัญหาอย่าง แท้จริง ในการกาหนด กรอบของปัญหาต้องสรุปประเด็นสาคัญและเป้าหมายของการแก้ปัญหาที่ชัดเจน ไม่ กว้างและไม่แคบจนเกินไป เพ่ือเป็นหลักยึดช่วยไม่ให้หลงประเด็นแก้ปัญหาท่ีไม่เก่ียวข้องกับกรอบของปัญหา ที่ตั้งไวแ้ นวทางการวเิ คราะห์สาเหตขุ องปัญหาท่ีแทจ้ ริง เพ่อื นาไปสกู่ ารกาหนดปัญหาในการทาโครงงาน 4) การออกแบบโครงงาน - กระบวนการออกแบบโครงงานที่ช่วยในการวางแผนและสร้างโครงงาน ซึ่งมีการวิเคราะห์ ถึง Pain Point และ Gain Point เพื่อประโยชน์ในการสร้างโครงงานท่ีมีคุณค่า เครื่องมือในการออกแบบ โครงงาน ในทน่ี ีใ้ ช้ Computational Thinking Project Canvas (CTPC) แบบฝึกหดั การพัฒนาโครงงาน Exercise Project 3.2 ตวั อยา่ งเคร่ืองมอื ช่วยพัฒนาโครงงาน 1 1) รู้จกั Thunkable ตอนที่ 1 - Thunkable เป็นเคร่ืองมือสร้างโมบายแอปพลิเคชัน เพ่ือติดตั้งบนสมาร์ตโฟนท่ีใช้ ระบบปฏิบัติการ Android, iOS โดยเครื่องมือที่ใช้ในการสร้างนั้น นอกจากเคร่ืองมือพื้นฐานแล้ว ยังมีการ
5 เชื่อมต่อไปยัง ผลิตภัณฑ์จาก Google, Twitter และ Microsoft โดยชุดคาส่ังหลังจากที่ออกแบบหน้าจอด้วย เครื่องมือต่างๆ Thunkable คือเว็บไซต์ท่ีให้เราสามารถสร้างโมบายแอปพลิเคชัน สวยๆ ใช้งานได้ และมี ประโยชน์ ตามแนวคิด “Thunkable enables anyone to create beautiful and powerful mobile apps” สามารถเข้าไปทดลองใชง้ านไดท้ ี่ https://thunkable.com (ท่มี า https://www.scimath.org/articl e-technology/item/9099-thunkable) - เร่ิมต้นการพัฒนาโครงงานประเภทแอปพลิเคชันด้วย Thunkable ซ่ึงเป็นเครื่องมือในการ พัฒนาแอปพลิเคชัน โดยการเขียนโปรแกรมแบบ Block (Block Programming) 2) รจู้ ัก Thunkable ตอนที่ 2 - การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วย Thunkable ในการเขียนโปรแกรมแบบ Block เพ่ือคานวณ ค่า BMI 3) รู้จัก Thunkable ตอนที่ 3 - เรียนรู้การพัฒนาโครงงานประเภทแอปพลิเคชันด้วย Thunkable โดยการเขียนคาส่ังให้ แอปพลิเคชนั ตดั สินใจตามเงอ่ื นทก่ี าหนด แบบฝกึ หัด ตวั อย่างเครื่องมือในการพัฒนาโครงงาน 1 Exercise Thunkable 3.3 ตวั อย่างเครือ่ งมอื พัฒนาโครงงาน 2 1) รู้จกั Tinkercad ตอนท่ี 1 - Thinkercad คือ เว็บไซต์ท่ีมีความสามารถในด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์หรือวงจร อิเล็กทรอนิกส์ สามารถเข้าใช้งานได้จากเว็บไซต์ Tinkercad.com ท้ังน้ีในการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ นบั ไดว้ า่ เปน็ ความสามารถสาคัญที่ผู้พัฒนาระบบสามารถออกแบบวงจรและทดลองการทางานของระบบก่อน การพฒั นาระบบจรงิ ได้ เรม่ิ ตน้ ใชง้ าน Thinkercad และการต่อวงจรไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บื้องตน้ - สมคั รสมาชกิ และใชง้ านไดท้ ่ี www.tinkercad.com 2) รจู้ กั Tinkercad ตอนที่ 2 - วงจรไฟวงิ่ และการใช้ VR เพ่ือควบคมุ ความเร็วของไฟวิ่ง ดว้ ย Tinkercad 3) รู้จกั Tinkercad ตอนท่ี 3 - การใช้ Tinkercad พัฒนาระบบเปิด-ปิดไฟอัตโนมัติ และระบบแจ้งเตือนอุณหภูมิสูงเกิน กาหนด 4) ร้จู กั Tinkercad ตอนที่ 4 - การพฒั นาระบบถังขยะอัตโนมัติ ดว้ ย Tinkercad แบบฝึกหดั ตวั อย่างเคร่อื งมือพฒั นาโครงงาน 2 Exercise Tinkercad 4. วทิ ยาการข้อมูล 4.1. วิทยาการข้อมูล 1) หลักการวิทยาการขอ้ มลู ตอนท่ี 1 - วิทยาการข้อมูล (Data Science) เป็นการศึกษาถึงกระบวนการ วิธีการ หรือเทคนิค ท่ีนา ข้อมูลจานวนมหาศาล มาประมวลผล เพ่ือให้ได้องค์ความรู้ เข้าใจปรากฏการณ์ สามารถตีความ ทานายหรือ พยากรณห์ ารปู แบบหรอื แนวโนม้ จากขอ้ มลู เพ่ือนามาวิเคราะห์ต่อยอดและแนะนาทางเลือกท่ีเหมาะสมในการ ตัดสินใจ กระบวนการวิทยาการข้อมูลประกอบด้วย การตั้งคาถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล การสารวจข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การสอื่ สารและเผยแพรข่ ้อมลู สผู่ ู้ใช้กลมุ่ เป้าหมาย
6 2) หลกั การวิทยาการขอ้ มลู ตอนท่ี 2 - การวเิ คราะหข์ ้อมลู เป็นการดาเนินการกับข้อมูล เพื่อใหเ้ กิดความเข้าใจข้อมูลเชิงลึกในสิ่งท่ี สนใจศกึ ษา โดยผลลัพธ์ของการวิเคราะห์ข้อมูลสามารถนาไปประกอบการตัดสินใจเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อการดาเนนิ การของบคุ คลหรือองคก์ ร - ให้ผู้เข้ารับการอบรมอภิปรายประสบการณ์หรือแนวทางการจัดการเรียนรู้เรื่องวิทยาการ ขอ้ มลู ในโรงเรยี นของตน ลงใน Discussion Board แบบฝึกหดั วิทยาการข้อมลู Exercise Data Science 4.2 คุณค่าของขอ้ มลู 1) google trends - การค้นหาข้อมูลการค้นคา เราสามารถใช้ Google Trends ในการกรอกข้อมูลเพ่ือค้นหา และแสดงผลลพั ธข์ องข้อมูลเป็นแผนภาพ หรือกราฟ ท่แี สดงการเปรยี บเทยี บในด้านท่เี ราสนใจ 2) ขายให้ได้ ขายใหโ้ ดน - ในปัจจุบันข้อมูลเป็นสิ่งท่ีมีคุณค่า เราสามารถค้นหาข้อมูล และสารวจข้อมูลก่อนที่จะ เร่ิมต้นดาเนินการ หรือวางแผนพัฒนาบริการหรือผลิตภัณฑ์ใดๆ บนพ้ืนฐานของข้อมูล Google Trends เป็น เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการค้นหาข้อมูล และสารวจขอ้ มูลเบ้ืองตน้ แบบฝึกหดั คุณคา่ ของขอ้ มลู Exercise Data Value 4.3 รวบรวม สารวจขอ้ มลู และวิเคราะห์ข้อมูล 1) สารวจสตั ว์ป่า - กิจกรรมส่งเสริมให้เข้าใจวิธีการเก็บข้อมูล การทาความสะอาดข้อมูล และการนาข้อมูลไป กาหนดจุดในรปู แบบของกราฟ 2) การทานายเชิงตวั เลข - การวิเคราะห์เชิงทานาย ดาเนินการต่อจากการวิเคราะห์เชิงพรรณนา หลังจากท่ีพบว่า ขอ้ มลู มีความสมั พันธก์ นั โดยนาข้อมลู ทีส่ ัมพนั ธ์กันน้ัน มาสรา้ งเป็นรูปแบบเพ่ือการทานาย หรือคาดการณ์ส่ิงท่ี น่าจะเกิดขน้ึ ในอนาคต - การทานายข้อมูลเชิงตัวเลข (numeric prediction) เป็นการใช้ข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์ หาความสมั พนั ธร์ ะหว่างชดุ ขอ้ มลู และสร้างแบบจาลองในการทานายท่ีให้ผลลัพธ์เป็นตัวเลข โดยทั่วไปมีวิธีการ ทานาย 2 วิธคี ือ การทานายโดยใชก้ ราฟและการทานายโดยใช้สมการเชงิ เสน้ - การนาข้อมูลท่ีได้จากการกาหนดจุดลงบนกราฟ วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูลสอง ชนิด แลว้ สรา้ งเสน้ แนวโนม้ เพ่ือหาสมการเชงิ เสน้ ช่วยในการทานายข้อมลู แบบฝึกหัด รวบรวม สารวจขอ้ มูล และวิเคราะห์ข้อมูล Exercise Data Collection 4.4 การทานายเชงิ หมวดหมู่ 1) K-NN - การทานายเชิงหมวดหมู่ เปน็ การทานายข้อมูลท่ีสนใจท่ีไม่ใช่ข้อมูลตัวเลข ซึ่งจะใช้ข้อมูลใน อดตี ทม่ี กี ารระบุหมวดหมู่มาแล้ว มาวิเคราะห์เพื่อทานายข้อมูลชุดใหม่ท่ียังไม่ทราบหมวดหมู่ หน่ึงในเทคนิคท่ี ใชใ้ นการจดั หมวดหมทู่ ่ีเปน็ ท่รี ู้จักกนั ดี คือวธิ กี ารคน้ หาเพื่อนบา้ นใกล้เคียงท่ีสุด K ตัว (K-Nearest Neighbors: K-NN) 2) ฝนฟ้าพยากรณด์ ้วย K-NN
7 - ตัวอย่างการจาแนกกลุ่มข้อมูล โดยใช้ Excel ด้วยวิธีการ K-NN (K- Nearest Neighbor) และการประเมินความถูกต้องในการจาแนกกลุ่มข้อมูลเพ่ือทานายผลในอนาคต เน่ืองจากเป็นส่ิงสาคัญมาก เพราะหากผลการทานายผิดพลาดอาจเกิดความเสียหายเม่ือนา ไปใช้จริง ซึ่งการประเมินความถูกต้องควร นาไปทดสอบกับชุดข้อมูลที่ทราบคาตอบอยู่แล้ว ซ่ึงมักเป็นข้อมูลชุดเดียวกันกับข้อมูลตั้งต้น แต่ถูกแยกไว้ เฉพาะเพื่อการประเมนิ แบบฝึกหดั การทานายเชงิ หมวดหมู่ Exercise Data Analysis 4.5 การทาขอ้ มลู ให้เปน็ ภาพ 1) การทาข้อมูลใหเ้ ปน็ ภาพ - การทาข้อมูลให้เป็นภาพ (Data Visualization) เป็นการนาข้อมูลมาจัดทาเป็นแผนภาพ แผนภูมิ หรือกราฟ เพอ่ื ช่วยในการตอบคาถาม ช่วยในการตัดสินใจ ช่วยให้มองเห็นบริบทของข้อมูล รวมทั้ง ชว่ ยเลา่ เรื่องทอ่ี ยู่ในขอ้ มูลชุดนน้ั 2) นาเสนอข้อมลู Covid-19 - สาธิตกิจกรรมการทาข้อมูลให้เป็นภาพ โดยการใช้ข้อมูล Covid-19 จากแหล่งข้อมูลทุติย ภูมิ มาทาการสารวจข้อมูล ทาความสะอาดข้อมูล และจัดทาเป็นภาพ เพื่อนาเสนอข้อมูลผู้ติดเช้ือ Covid-19 ในประเทศไทยตามบริบทของข้อมลู ดว้ ยโปรแกรม Microsoft Excel แบบฝกึ หัด การทาขอ้ มลู ให้เปน็ ภาพ Exercise Data Visualisation 5. ความเป็นพลเมอื งดิจิทัลและเทคโนโลยสี มยั ใหม่ 5.1 INTERLAND 1) Be Internet Awesome ตอนที่ 1 - พัฒนาทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั ผ่าน กิจกรรม Be Internet Awesome - ทากจิ กรรมได้ทีเ่ วบ็ ไซต์ https://beinternetawesome.withgoogle.com/th_th 2) Be Internet Awesome ตอนที่ 2 - พัฒนาทักษะความปลอดภัยทางดิจิทัล ผ่าน กิจกรรม Be Internet Awesome พร้อม แนะนาแหล่งข้อมูลสง่ เสรมิ การเรยี นรู้และแผนการจดั การเรียนรู้สาหรบั ครูใช้ประกอบการสอน - ทากจิ กรรมไดท้ เ่ี วบ็ ไซต์ https://beinternetawesome.withgoogle.com/th_th แบบฝึกหัด INTERLAND Exercise INTERLAND 5.2 พลเมอื งดิจิทลั 1) พลเมอื งดิจทิ ัล - ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital citizenship) เป็นแนวคิดและแนวปฏิบัติที่สาคัญของ พลเมอื งในการเรยี นรู้ การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยดี ิจทิ ัลและการป้องกันตนเองจากความเส่ียงต่างๆ รวมท้ัง รู้จักเคารพสิทธิของตนเองและมีความรับผิดชอบต่อสังคมในโลกยุคใหม่ ไปจนถึงผลกระทบของเทคโนโลยี ดิจิทัลท่ีมีต่อสังคม การเป็นพลเมืองดิจิทัลจาเป็นต้องมีความฉลาดทางดิจิทัล (DQ : Digital intelligence Quotient) มีความฉลาดทางสังคม อารมณ์และการรับรู้ สามารถเผชิญกับความท้าทายในการสร้างการ เปลย่ี นแปลงสังคมเชิงบวก 2) THE JUDGE ศาลพลเมืองดิจทิ ัลท่ีเคารพ - ศกึ ษาแนวทางการจดั การเรยี นรู้เก่ยี วกบั พลเมอื งดิจิทลั 3) THE JUDGE สถานการณต์ วั อยา่ ง - ตัวอย่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรพู้ ลเมืองดจิ ิทลั
8 แบบฝกึ หดั พลเมอื งดิจิทัล Exercise Digi Citizen 5.3 ปญั ญาประดิษฐ์ 1) AI Concept - ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือ AI เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ท่ีมีวัตถุประสงค์ในการสร้างความฉลาดของเคร่ืองจักร (machine intelligence) ให้สามารถ เรียนรู้ คิดเป็นเหตุเป็นผล และตัดสินใจได้คล้ายมนุษย์ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ท่ีต้องใช้ทักษะของ มนุษย์ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ 2) Train your computer: AI for ocean - การฝึกสอนให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้ด้วยชุดข้อมูลอย่างง่ายด้วยชุดการเรียนรู้ AI for ocean ซ่ึงเปน็ การเรยี นรผู้ ่านการทาภารกจิ ต่างๆ จนสาเร็จ แล้วจะได้ใบเกียรติบัตรจาก code.org โดยสามารถเข้าไป ใช้งานได้ท่ี code.org/oceans หากผู้เข้ารับการอบรมทาภารกิจเสร็จส้ินแล้ว ให้โพสต์เกียรติบัตรใต้วิดีโอ ดา้ นลา่ งน้ี 3) Train you computer: Teachable - การสอนให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้หรือรู้จักสิ่งที่ต้องการด้วยการนาเข้าชุดข้อมูลแล้วสอน คอมพิวเตอร์โดยใช้วธิ กี ารเรียนรู้ของเครื่อง (Machine learning) โดยผู้เข้ารับการอบรมสามารถศึกษา เรียนรู้ และทดลองใช้งานไดท้ ี่ teachablemachine.withgoogle.com แบบฝกึ หดั ปญั ญาประดษิ ฐ์ Exercise AI 5.4 พฒั นาการเทคโนโลยี 1) Digitization - เทคโนโลยีในปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีด้าน ปัญญาประดิษฐ์ อินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิง การประมวลผลแบบคลาวด์ เทคโนโลยีเสมือนจริง และอื่นๆ เทคโนโลยเี กดิ ใหม่เหล่านี้ส่งผลต่อการดาเนินชีวิตมนุษย์ในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการดาเนินชีวิตประจาวัน การ เรียน การประกอบอาชีพ มนุษย์จึงต้องมีความเข้าใจ ใช้งานเทคโนโลยีได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และใช้ ประโยชน์เทคโนโลยไี ดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ ศกึ ษาการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีและผลกระทบของเทคโนโลยีต่อ การดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั 2) Buzz word - ทากิจกรรม Buzz Words โดยจัดกลุ่มคาของเทคโนโลยีกับประโยชน์หรือผลกระทบด้าน ตา่ งๆ ซึง่ บางเทคโนโลยีอาจมีผลกระทบหลายดา้ น แบบฝกึ หดั พัฒนาการเทคโนโลยี Exercise Technology แบบทดสอบ และ แบบสอบถามหลงั เรยี น แบบทดสอบ (Final Exam) Final Exam แบบสอบถามหลังเรียน 1) แบบสอบถามประสิทธิภาพของหลักสูตรการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ ช่วงชั้นท่ี 4 ม.4 - 6 2) แบบสอบถาม Growth mindset 3) แบบสอบถาม พฤตกิ รรมหรอื การทาหนา้ ท่ีของครูอนั เป็นผลจากการมี Growth mindset
9 บัดน้ีการเข้ารับการอบรมพฒั นาดงั กล่าวได้สิ้นสุดลงแล้ว จึงขอรายงานผลการเข้ารับการอบรมพัฒนา ดังกล่าว และความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ หรืออื่นๆ ที่ได้รับจากการอบรมพัฒนา เพ่ือนามา พัฒนาตนเอง พฒั นาผู้เรียน และพัฒนางานของโรงเรียน ดังน้ี 1. หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 แนะนาวิทยาการคานวณ ประกอบด้วยเนื้อหา การขับเคล่ือนการจัดการ เรยี นรูโ้ ค้ดดงิ้ ในโรงเรียน การจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคานวณ และตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้วิทยาการคานวณ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้ทราบถึงเน้ือหาและแนวทางในการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้โค้ดด้ิงใน โรงเรียน การจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ ท่ีจะสามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอนที่ผู้สอน ได้รบั ผิดชอบและการนาความรู้ ทกั ษะทไี่ ด้รับการอบรมพฒั นามาถา่ ยทอดใหก้ ับผ้เู รียนต่อไป 2. หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 แนวคิดเชิงคานวณกับการแก้ปัญหาในชีวิตจริง ประกอบด้วยเน้ือหา แนวคิด เชิงคานวณ กิจกรรม CS Unplugged และ Coding กับ Blockly ได้ทราบถึงแนวคิดเชิงคานวณกับการ แก้ปัญหาในชีวิตจริงจากกิจกรรมการเรียนรู้ CS Unplugged และ Coding กับ Blockly ที่จะสามารถนามา ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั เนื้อหาทีร่ บั ผิดชอบต่อไป 3. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การพัฒนาโครงงาน ประกอบด้วยเนื้อหา การพัฒนาโครงงาน และตัวอย่าง เครื่องมือช่วยพัฒนาโครงงาน ได้ทราบถึงการพัฒนาโครงงานจากการนาความรู้ท่ีได้เรียนรู้มาสร้างสรรค์โดย ศึกษาเคร่อื งมอื ทเ่ี หมาะสมในการนามาประยุกตใ์ ชใ้ นการพัฒนาโครงงานและการจัดการเรียนรู้ ให้คาแนะนาท่ี ถูกตอ้ งแก่ผ้เู รยี นได้ 4. หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 วิทยาการข้อมูล ประกอบด้วยเนื้อหา วิทยาการข้อมูล คุณค่าของข้อมูล รวบรวมและสารวจข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการทาข้อมูลให้เป็นภาพ ได้ทราบถึงความรู้และทักษะที่ เก่ียวข้องกับวิทยาการข้อมูลและการจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบก่อนนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่าง เหมาะสม 5. หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ความเป็นพลเมืองดิจิทัลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ประกอบด้วยเน้ือหา INTERLAND พลเมืองดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์ และพัฒนาการเทคโนโลยี ได้ทราบถึงบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ในความเป็นพลเมืองดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยีสมัยใหม่ การปฏบิ ัติตนอย่างเหมาะสมและการจัดการบริหารข้อมูลที่ ถูกตอ้ งและปลอดภยั
10 ภาคผนวก
11 หนังสือราชการเชิญสมคั รเข้าร่วมการอบรมออนไลน์ หลักสูตรอบรมการจดั การเรียนร้วู ิทยาการคานวณ สาหรับครู Coding for Teacher (C4T) ( สาเนา )
12 ( สาเนา )
13 ( สาเนา )
14 ( สาเนา )
15 ( สาเนา )
16 ( สาเนา )
17 ( สาเนา )
18 ( สาเนา ) วธิ ีลงชือ่ เขา้ ใช้งาน 1. ไปยังเว็บไซต์ของระบบอบรมครู 2. คลกิ ปุ่ม “เข้าสรู่ ะบบ” 3. กรอกข้อมลู ชอ่ื ผใู้ ช้และรหัสผ่าน เพอ่ื ลงชื่อเข้าใชง้ าน ( สาเนา )
19 4. คลิกป่มุ “Log In”
20 ( สาเนา )
21 ผลการอบรมออนไลนห์ ลักสตู รอบรมการจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคานวณ สาหรับครมู ัธยมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 Coding Online Grade 10 - 12 Teacher (C4T - 9)
22 เกียรตบิ ัตรการเขา้ รบั การอบรมออนไลนห์ ลักสตู รอบรมการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาการคานวณ สาหรับครูมัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 Coding Online Grade 10 - 12 Teacher (C4T - 9) รหัสหลกั สตู ร 63026 ข้าพเจ้าขอรับรองวา่ ข้อมลู ข้างต้นเป็นความจริงทุกประการ ( นายศรนั ย์ สภาพสวัสด์ิ) ผูเ้ ขา้ รับการอบรม
23 หนงั สือรบั รองหลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน ของ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ตามหลักเกณ์ท์ ่ี ก.ค.ศ. กาหนด ( สาเนา )
24 ( สาเนา )
25 ( สาเนา )
26
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: