Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืองานบริหารกิจการนักเรียน BR. ปี 63

คู่มืองานบริหารกิจการนักเรียน BR. ปี 63

Description: คู่มืองานบริหารกิจการนักเรียน BR. ปี 63

Search

Read the Text Version

ปีการศึกษา ๒1๕๖๓ คมู อื กลมุ บริหารกจิ การนกั เรียน โรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ เขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต ๑ สํานักงานสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คมู อื บริหารงานกิจการนักเรียน 2563

22 พระบรมราโชวาท \" วิชาการตา ง ๆ ท่ีเรยี นท่ีสอบไลกนั ไดน น้ั โดยลาํ พงั ไมใ ชส งิ่ ท่ีจะชวยใหน ักเรียนเอาตวั รอดได และ ไมใชสง่ิ ทจ่ี ะชวยสรา งสรรคส่ิงใดใหเปน ประโยชนแ กตวั แกผอู นื่ แกบ านเมืองได. ผมู ีวชิ าการแลว จําเปน จะตอ ง มีคุณสมบตั ิในตวั เอง นอกจากวิชาความรูดวย จงึ จะนาํ ตนนําชาติใหรอดและเจรญิ ได. คณุ สมบตั ิท่ีจําเปน สาํ หรบั ทกุ คนนัน้ ไดแ ก ความละอายช่ัวกลวั บาป ความซ่ือสัตยสจุ ริต ท้ังในความคิดและการกระทํา ความ กตัญูรูค ุณชาติบานเมือง และผูทอี่ ุปการะตวั มา ความไมเ ห็นแกตัว ไมเ อารัดเอาเปรียบผูอ ื่น หากแตม คี วาม จรงิ ใจ มีความปรารถนาดีตอ กนั เออื้ เฟอ กนั ตามฐานะและหนา ที่. และท่สี ําคัญอยา งมากก็คือ ความ ขยนั หมัน่ เพียรพยายามฝก หดั ประกอบการงานทงั้ เลก็ ใหญ งา ย ยาก ดว ยตนเอง ดวยความตัง้ ใจ ไมท อดธุระ เพื่อหาความสะดวกสบายจากการเกยี จครา น ไมม ักงาย หยาบคาย สะเพรา \" พระบรมราโชวาท พระราชทานแกค ณะอาจารย ครู และนกั เรียนโรงเรียนวังไกลกงั วล วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๒๒ คมู อื บริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

3 คาํ นาํ การบริหารงานกลุมบริหารกิจการนักเรียนเปนสวนหน่ึงของการ บรหิ ารงานโรงเรียน เปนงานที่ผูปกครองมุงหวงั ใหโรงเรยี นรับผดิ ชอบในการ พัฒนาพฤติกรรมของนักเรียน สรางเสริมใหเปนบุคคลท่ีมีความประพฤติ มี ระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม พรอมท่ีจะเติบโตเปนพลเมืองดีของ ประเทศชาติ ดังนนั้ กลมุ บรหิ ารกิจการนกั เรยี นจงึ เปนงานสง เสริม พฒั นา ควบคมุ และแกไข พฤติกรรมที่ไมพึ่งประสงคของนักเรียนเพ่ือใหนักเรียนอยูในระเบียบวินัย กอใหเกิดความสงบเรียบรอยในการอยูรวมกันของนักเรียน เปนผลให กจิ กรรมการเรียนการสอน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และพัฒนานักเรียน ใหมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมที่พงึ่ ประสงคตามทก่ี าํ หนดไว นายวฒุ ชิ ัย วรชิน ผูอาํ นวยการโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ คมู อื บรหิ ารงานกิจการนักเรียน 2563

4 ความมุงหวังของกลมุ บริหารกิจการนักเรยี น คมู ือการดําเนนิ งานกลุมบรหิ ารกจิ การนกั เรียน โรงเรยี นเบญจมราชาลัย ในพระบรม ราชปู ถมั ภ ฉบับน้ี จัดทําข้นึ เพือ่ ใหค รู และบุคลากรไดทราบแนวทางการปฎิบัตงิ าน วธิ ีดําเนนิ กจิ กรรม ใหบคุ คลท่เี ก่ียวของกับงานของกลมุ บรหิ ารกิจการนกั เรียน ไดท ราบภารกจิ บทบาท อํานาจ และขอบเขตหนา ทขี่ องตนเองในตาํ แหนง ตา งๆไดอ ยา งชัดเจนยิง่ ขึน้ ขอขอบคุณผอู าํ นวยการ ฝายผบู รหิ าร ครู และบุคลากร ทกุ ทานที่ใหความรว มมอื รวมงานกับกลมุ บริหารกจิ การนกั เรยี นดวยดีตลอดมาและหวังเปนอยา งยงิ่ วา กลมุ บรหิ ารกจิ การ นักเรยี นยังคงไดรบั ความรวมมอื จากครู และบุคลากรทุกทานดวยดีตลอดไป กลมุ บริหารกิจการ นกั เรยี นตระหนกั อยตู ลอดเวลาวา หากทานไมใหความรว มมือ การดาํ เนินกจิ กรรมตางๆ คงไม สามารถบรรลุผลไดเลย บทบาทและการทําหนา ที่ของทา นตามแนวทางเอกสารน้ี มคี วามสําคญั ตอ ความกา วหนา ความมชี อ่ื เสยี งของโรงเรียนเปน อยางยิ่ง ขอขอบคุณบคุ ลากรทุกฝายท่ีใหค วามรวมมือ รวมแรงรว มใจ ทุมเทกาํ ลงั กาย กาํ ลงั ใจ และเวลา เพอื่ ใหเอกสารชุดสําเร็จลุลว งไปดว ยดี หวังเปน อยางย่ิง คมู อื การดําเนนิ งานกลุมบริหารกิจการนักเรยี นของโรงเรียนเบญจมรา ชาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภฉ บับนี้ จะเปนประโยชนตอครู และบุคลากร และผสู นใจตอ ไป (นายศุภนชั ญ บุญปลอด) รองผอู ํานวยการโรงเรียน กลุม บริหารกจิ การนกั เรยี น โรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ คมู อื บริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

สารบัญ 55 พระบรมราโชวาท หนา้ คาํ นาํ 2 ความมุงหวังของกลุมบริหารกิจการนักเรยี น 3 สารบัญ 4 ขอมูลโรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ 5 แผนภูมิโครงสรางบรหิ ารสถานศึกษา โรงเรยี นเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชปู ถมั ภ 6 โครงสรางการบริหาร กลมุ บริหารกิจการนักเรียน 7 หัวหนางาน กลมุ บรหิ ารกิจการนักเรียน 8 หวั หนา ระดบั รองหัวหนาระดับ ประจาํ ปการศกึ ษา 2563 9 ครทู ีป่ รึกษา ประจําปการศกึ ษา 2563 10 หวั หนาคณะ รองหวั หนา คณะ ประจําปก ารศกึ ษา 2563 11 ความสําคญั ของการบรหิ ารกิจการนักเรยี น 18 คมู ือการงานกลมุ บริหารกิจการนกั เรยี น 19 ขอบขา ยงานรองผูอํานวยการงานกลุมบริหารกจิ การนกั เรยี น 20 ขอบขายงานผูชว ยรองผูอาํ นวยการงานกลุมบริหารกิจการนกั เรยี น 21 ขอบขายงานกลุมบริหารกจิ การนักเรียน 21 ระบบชวยเหลือนักเรยี น 23 ระเบียบการแตงกายของนกั เรยี น โรงเรยี นเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ 30 แนวปฏิบตั ิประจําวนั 31 คณุ สมบัตขิ องนกั เรยี นโรงเรยี นเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ 35 ระเบยี บปฏบิ ัตทิ ่ัวไป นักเรียนทุกคนปฏบิ ัติดังน้ี 36 39 คมู อื บริหารงานกิจการนักเรียน 2563

ขอมูลโรงเรยี น 66 พระประจาํ โรงเรยี น พระศรีศากยมณุ ี ยุวนารบี ชู ิต สถิตเบญจมราชาลัย ตราประจําโรงเรยี น พระเกีย้ วบนพานแวน ฟา สีประจาํ โรงเรยี น เลอื ดหมู – ขาว ดอกไมป ระจําโรงเรียน ดอกบวั จงกลนี ปรัชญาโรงเรยี น สวาจารตา จ พาหสุ ฺสจจงั นารนี าภรณัง วรัง ศึกษาดี มีจริยา เปนอาภาของกลุ สตรี คตพิ จนโรงเรยี น อตั ลักษณโรงเรยี น การเรยี นเดน เลน กฬี าดี มีคณุ ธรรม กจิ กรรมเย่ียม กลุ สตรผี ูน าํ คมู อื บรหิ ารงานกิจการนักเรียน 2563

77 โครงสรางฝายบริหาร โรงเรียนเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ นายวุฒิชัย วรชิน ผอู ํานวยการโรงเรยี นเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชปู ถมั ภ นางสาวพฤฒยา เลศิ มานพ นางเนาวรตั น ขจรเดชะ นายศภุ นชั ญ บญุ ปลอด นางสาวสชุ าดา สวสั ดี รองผูอาํ นวยการโรงเรียน รองผูอํานวยการโรงเรียน รองผอู ํานวยการโรงเรียน รองผอู ํานวยการโรงเรยี น กลุมบรหิ ารวิชาการ กลุมบริหารกจิ การนักเรยี น กลมุ การบรหิ ารทัว่ ไป กลมุ บริหารงบประมาณและบคุ คล คมู ือบริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

88 แผนภูมโิ ครงสร้างการบริหารงานกลุ่มกจิ การนักเรียน โรงเรียนเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ผอู าํ นวยการโรงเรียน รองผอู าํ นวยการโรงเรียนกลมุ บริหารกจิ การนักเรยี น ผูชว ยรองผูอ าํ นวยการ ผูชวยรองผูอ าํ นวยการ ผชู ว ยรองผอู ํานวยการ งานสง เสรมิ การมีวนิ ยั คุณธรรม งานสํานกั งานบริหารกิจการ งานระบบชวยเหลอื นักเรยี น และจริยธรรมนกั เรยี น นักเรยี น งานสง เสริมระบอบประชาธปิ ไตย งานสง เสริมอตั ลกั ษณและกลุ งานรกั ษาความปลอดภัยและ และกรรมการนกั เรียน สตรผี นู าํ จราจร งานปองกันสารเสพติดและแกไ ข งานแผนงานและสารสนเทศ งานสงเสริมความรว มมอื บาน วัด ปญ หายาเสพติด กลมุ บริหารกจิ การนักเรียน โรงเรยี น และชมุ ชน งานอืน่ ๆทไ่ี ดร บั มอบหมาย งานอื่นๆทไ่ี ดร ับมอบหมาย งานอืน่ ๆทีไ่ ดร ับมอบหมาย คูม ือบริหารงานกิจการนักเรยี น 2563

99 หัวหนางาน กลมุ บรหิ ารกจิ การนักเรียน นางสาวปยะดา หวดขุนทด • งานสงเสรมิ การมีวนิ ยั คณุ ธรรมและจริยธรรมนกั เรียน • งานสงเสริมระบอบประชาธิปไตยและคณะกรรมการนกั เรยี น • งานปอ งกนั สารเสพติด และแกไขปญ หายาเสพติด นางสาวสุพรรณวดี ขวัญชมุ • หวั หนา งานสงเสริมระบอบประชาธปิ ไตยและคณะกรรมการ นกั เรยี น นายวสันต การะเกตุ • หัวหนา งานปอ งกนั สารเสพติด และแกไขปญหายาเสพติด คมู ือบรหิ ารงานกจิ การนักเรียน 2563

10 10 นางสาวรังสกิ ุล ศิริรงั ษี • งานสํานักงานกิจการนักเรยี น • งานสง เสริมอัตลักษณแ ละกลุ สตรผี นู ํา • งานแผนงานและสารสนเทศกลมุ บรหิ ารกจิ การ นกั เรียน นายอนพุ งษ พรมเสน • งานระบบชวยเหลอื นกั เรยี น • งานรักษาความปลอดภัยและงานจราจร • งานสงเสริมความรว มมอื บา น วัด โรงเรยี น ชุมชน นายปรเมธ เทพขวัญ • งานรักษาความปลอดภยั และงานจราจร นายวญิ ู ชดชอย • งานระบบวงจรปด คูมือบริหารงานกิจการนักเรยี น 2563

11 11 หวั หนา ระดบั รองหัวหนา ระดบั ประจาํ ปก ารศกึ ษา 2563 นางสาวชณชนก นามโสม หัวหนา ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที่ ๑ นางสาวสงั วาล รอบคอบ หัวหนาระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒ นายอนพุ งษ พรมเสน หวั หนา ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๓ นางสาวกานตช นก สมภักดี หัวหนาระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๔ นางสาวนิตยา อาจเดช หวั หนาระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๕ นางสาวศิรริ ัตน สงวนศรี หวั หนา ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ คมู ือบรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

12 12 นางสาวชณชนก นามโสม หวั หนาระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๑ นางสาวปท มา พรหมเมศร ครทู ่ีปรึกษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๑/๑ นางสาวกฤตยิ า โสภิณ ครูทปี่ รึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑/๑ นางสาวปนิตา ยืนยาว ครูทป่ี รึกษาชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๑/๒ นางสาวจุฑาณัฐ ศิรนิ คร ครูทีป่ รกึ ษาช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี ๑/๒ นางสาวรังสิกลุ ศิริรังษี ครูทปี่ รึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๑/๓ นายผดงุ ศกั ด์ิ บูรณะสมบตั ิ ครูทป่ี รกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๑/๓ นางสาวยวุ ดี วอ งสกุลกฤษฎา ครทู ่ีปรกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑/๔ นางสาวชนานันท ยวงเดชกลา ครทู ปี่ รกึ ษาชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ ๑/๔ นางสาวพัณณชิตา ชวดคาํ ครูทปี่ รึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๑/๕ นางสาวโสรยา สุธาพจน ครทู ีป่ รกึ ษาช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑/๕ ครูทป่ี รึกษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ ๑/๖ นางจิตราภรณ บัวจาํ รสั ครทู ีป่ รกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ ๑/๖ นางสาวสุพรรณวดี ขวญั ชุม นางสาวกรรณิกา ชินววิ ฒั นผล ครูที่ปรึกษาชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๑/๗ นายเอกชัย แตบสวสั ดิ์ ครทู ปี่ รึกษาชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๑/๗ นางกาญจนา สนิ ธบญั ฑิต ครทู ่ีปรกึ ษาชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี ๑/๘ นางสาวชณชนก นามโสม ครทู ่ปี รึกษาช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑/๘ คมู อื บริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

13 13 นางสาวสงั วาล รอบคอบ หัวหนาระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒ นางธนัญชนก บญุ เปง ครทู ่ีปรกึ ษาชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี ๒/๑ นายอภชิ น สลับแกว ครทู ่ีปรึกษาช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ ๒/๑ นางสาวสังวาล นายไพรัตน รอบคอบ ครทู ีป่ รึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๒/๒ ลิ้มปองทรพั ย ครูที่ปรึกษาช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๒/๒ นางสาวธัญวลัย เทยี นเพิม่ พูล ครูทป่ี รกึ ษาชนั้ มัธยมศึกษาปที่ ๒/๓ นายวิญู ชดชอย ครทู ่ปี รกึ ษาช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๒/๓ นางสาวปย ะดา หวดขุนทด ครูทป่ี รกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๒/๔ นางสาวนนั ทวนั สงิ หสังข ครูที่ปรึกษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒/๕ นายวรพทั ธ ฟเู ช้ือ ครูทปี่ รึกษาช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ ๒/๕ นางสาวจฑุ ามาศ ทพิ ยกระมล ครูท่ปี รึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๒/๖ วาทีร่ อยตรี ณฐั พล บุญชว ย ครทู ป่ี รกึ ษาช้นั มัธยมศึกษาปที่ ๒/๖ นางสาวสลลิ ดา พชิ ยกัลป ครทู ี่ปรกึ ษาชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ ๒/๗ นายธเนศ กิตติเจรญิ ตระกลู ครทู ่ปี รึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ ๒/๗ นางสาวผกาแกว ชัยยะ ครทู ป่ี รกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒/๘ นางสาวนุสดี สงสขุ ครูทีป่ รึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒/๘ คูมือบรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

14 14 นายอนพุ งษ พรมเสน หัวหนา ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๓ นายอนพุ งษ พรมเสน ครทู ีป่ รกึ ษาชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี ๓/๑ นางสาวลนิ ดา เนียมเพราะ ครูทป่ี รึกษาชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓/๑ นายสมพงษ ถาวรโชติวงศ ครูท่ปี รกึ ษาชนั้ มัธยมศึกษาปที่ ๓/๒ นางสาวหทยั รตั น ศรีวรเดชไพศาลครทู ่ีปรกึ ษาช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓/๒ นายววิ ฒั น นางสาวรตั ติกร ศริ ดิ าํ รง ครูที่ปรึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓/๓ จนั ทรศริ ิ ครทู ป่ี รกึ ษาชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ ๓/๓ นางสาวธันยวีร แสนคาํ ทุม ครทู ป่ี รกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓/๔ นายอาชวิน สรอ ยจิต ครูทป่ี รึกษาชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๓/๔ นางสาวกาญจนา นางสาวจุฑารตั น คตนวม ครูที่ปรกึ ษาช้นั มธั ยมศึกษาปที่ ๓/๕ สมงาม ครทู ป่ี รกึ ษาช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓/๕ นางสาวจงกลกร เลือดทหาร ครูทีป่ รึกษาชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๓/๖ นางสาววภิ าวี กุศลวงศ ครทู ป่ี รึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓/๖ นายกุศล คําบุญมา ครูที่ปรึกษาชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี ๓/๗ นางสาวนภา เชอื้ ประทุม ครทู ่ีปรกึ ษาชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี ๓/๗ นางสาวกรุณา นมิ่ เรอื ง ครทู ่ีปรึกษาช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๓/๘ นายจิรเมธ ศรีทอง ครูที่ปรึกษาชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๓/๘ คูม อื บรหิ ารงานกิจการนักเรยี น 2563

1515 นางสาวกานตชนก สมภกั ดี หวั หนา ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๔ นางสาวมนิ ตรา กระเปา ทอง ครทู ี่ปรกึ ษาชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี ๔/๑ นายวทิ ยา ศรีสรอ ย ครทู ่ปี รกึ ษาช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๔/๑ นายพรพงศ ทองคาํ ครูทปี่ รึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔/๒ นางสาวณฐพรรณ เจนปญญากุล ครทู ี่ปรึกษาช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ ๔/๒ นางสาวนงนชุ พนั ธเ มธาฤทธิ์ ครทู ปี่ รกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔/๓ นายรุงโรจน ตดิ มา ครทู ่ปี รึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี ๔/๓ นางสาวศภุ ารตั น จนั ทนะ ครูท่ปี รกึ ษาชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี ๔/๔ นายศวิ พล นันทพานิชย ครทู ี่ปรึกษาชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๔/๔ นางเพ็ญประภา ปรกสะอาด ครูที่ปรกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔/๕ นายรุง โรจน ศรีสังข ครทู ป่ี รึกษาช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๔/๕ นางสาวกานตช นก สมภักดี ครูท่ีปรกึ ษาช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ ๔/๖ วา ทีร่ อยตรีมัฆวัตว แสนบญุ ศิริ ครูท่ปี รกึ ษาช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๔/๖ นางสาวนนั ทวัลย เฟอ งฟู ครูทปี่ รกึ ษาช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๔/๗ นางสาวจิรพร เขม็ เพช็ ร ครูท่ีปรกึ ษาชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ ๔/๗ นางสาวพมิ พพรรณ มโนมัยนฤนาท ครูทปี่ รกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔/๘ คูมือบรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

16 16 นางสาวนิตยา อาจเดช หัวหนา ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๕ นางมะลิวัลย ประทมุ ทอง ครทู ป่ี รกึ ษาชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๕/๑ วา ทีร่ อยตรปี รเมธ เทพขวญั ครูทป่ี รกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๕/๑ นายพศิน นางสาวพรพิมล คงภัคพูน ครทู ่ีปรกึ ษาช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๕/๒ นางสาวเพชรรตั น พันธพ ืช ครทู ป่ี รกึ ษาชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๕/๒ มหรรชกุล ครทู ่ปี รกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๕/๓ นางลาวลั ย วิรตั ินนั ท ครทู ี่ปรึกษาช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี ๕/4 นายธนวนิ จนั ทร ครทู ีป่ รึกษาช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ ๕/๔ นางสาวสมุ าลี เปรมรศั มี ครทู ่ปี รกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๕/5 นายอนนั ตศักด์ิ สมรฤทธิ์ ครูที่ปรกึ ษาช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี ๕/5 นางสาวนติ ยา อาชเดช ครูทป่ี รึกษาชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๕/6 นายวสนั ต การะเกตุ ครูที่ปรึกษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๕/6 นางสาววภิ าวี อนจุ าผดั ครูทป่ี รึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๕/7 นายอภิวุฒิ วงศน คร ครูที่ปรึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๕/7 นางสาวดารากนั ย เจริญจิตต ครทู ่ีปรกึ ษาช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๕/8 นางสาวโชติกา ไตรเพทพสิ ยั ครทู ีป่ รกึ ษาชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๕/9 วา ท่รี อยตรหี ญงิ ปารชิ าติ ธรรมสุวรรณ ครูทป่ี รกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๕/9 คมู ือบรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

17 17 นางสาวศิริรัตน สงวนศรี หัวหนา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ ๖ นางสจุ ติ รา ทองสลวย ครทู ี่ปรกึ ษาชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ ๖/๑ นายสทุ ธพิ งศ อาศริ พจน ครูที่ปรกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๖/๑ นางสาวสุดารัตน พลโภชน ครทู ี่ปรกึ ษาชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๖/๒ นายกานตช นก ผลจนั ทร ครูทป่ี รึกษาชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี ๖/๒ นางสาวสุพตั รา ไทยกุล ครทู ่ปี รกึ ษาชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๖/๓ นายสรุ ยิ พงษ บุญโกมล ครูที่ปรึกษาช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ ๖/๓ นางชญาณี นาคะไพบลู ย ครูทป่ี รึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๖/๔ นายชาลี ครองศกั ด์ิศิริ ครทู ี่ปรึกษาชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ ๖/๔ นางอรวรรณ แสแสงสีรงุ ครูทป่ี รกึ ษาชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๖/5 นายพลางกลู สงวนรตั น ครูที่ปรึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๖/๕ นางสาวสมสวา ง ธนะพานิชยสกุล ครทู ี่ปรึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี ๖/๖ นางสาวกนกวรรณ ชเู พ็ง ครูที่ปรึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๖/๖ นางวสั สิกา นนุ ทอง ครูทป่ี รกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๖/7 นางสาวลลติ า เกรียงเจรญิ ศิริ ครทู ป่ี รกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๖/7 นางสาวศิริรัตน นางสาวพมิ พลอย สงวนศรี ครูทป่ี รกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖/8 รตั นมาศ ครทู ี่ปรกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖/8 คูมือบรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

1818 หัว หนาคณะ รองหวั หนา คณะ ประจาํ ปการศกึ ษา 2563 นางมะลิวัลย ประทมุ ทอง หัวหนา คณะโกมทุ (สเี หลอื ง) นางสาวปนิตา ยนื ยาว รองหวั หนา คณะโกมทุ (สีเหลือง) นางสาวสพุ รรณวดี ขวญั ชุม หัวหนา คณะสัตตบงกต (สีชมพ)ู นายสุทธพิ งศ อาศิรพจน รองหัวหนาคณะสตั บงกต (สีชมพู) วาท่ีรอ ยตรหี ญงิ ปารชิ าติ ธรรมสุวรรณ หวั หนาคณะสัตตบุตย (สีเขยี ว) นางสาวสลลิ ดา พชิ ยกัลป รองหวั หนาคณะสัตตบุตย (สเี ขียว) คูมือบรหิ ารงานกิจการนักเรยี น 2563

19 19 หวั หนาคณะ รองหัวหนา คณะ ประจาํ ปการศกึ ษา 2563 นางกาญจนา สินธบณั ฑติ หัวหนาคณะนลิ บุ ล (สมี ว ง) นางสาวเพชรรตั น มหรรชกลุ รองหวั หนา คณะนิลุบล (สมี วง) นายพรพงศ ทองคํา หัวหนา คณะบุษกร(สีฟา) นางสาวสุพัตรา ไทยกลุ รองหวั หนาคณะบษุ กร(สฟี า ) คมู ือบรหิ ารงานกิจการนักเรยี น 2563

20 20 คมู อื การบรหิ ารงานกจิ การนักเรียน งานกจิ การนักเรียนเปนภาระงานหน่ึงท่ีสําคัญของสถานศึกษาเพื่อสงเสริมประสบการณของนักเรียน ใหกวางขวางยิ่งขึ้นและบรรลุจดุ มุงหมายของหลักสูตรพัฒนานักเรียนใหเกิดความเจรญิ งอกงามในทกุ ดาน ท้ัง ทางดาน อารมณ สังคม จิตใจ ชวยใหเปนคนท่ีสมบูรณ สามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมอยางมีความสุข สอดคลอ งกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542และท่ีแกไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 โดยให ความสําคัญกับการพัฒนานกั เรียนที่ยึดผเู รียนเปน สําคัญ มุงหวังใหน ักเรียนมีพฒั นาการแบบองครวม กลาวคือ ใหเ ปนคนดี คนเกง คนมีความสุข ดงั นนั้ ครูทุกคนจงึ มีบทบาทหนา ทีด่ ูแลชว ยเหลือนักเรียนอยางใกลชิดและมี ประสิทธิภาพรูจักผูเรียนเปนรายบุคคล มีขอมูลสารสนเทศเก่ียวกับนักเรียนที่ครบถวนและเปนปจจุบัน เพ่ือ ชวยใหครู เขาใจ เขาถึง และพัฒนานักเรียนโดยผานกระบวนการวางแผน และการบริหารจัดการเพ่ือสราง คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคของนกั เรียนสอดคลอ งกับสภาวะเศรษฐกิจสงั คม การเมอื ง ส่ิงแวดลอ ม เทคโนโลยีที่ เปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว นอกจากน้ีมีการสงเสริมพัฒนานักเรียนใหมีคุณธรรมจริยธรรมมีระเบียบวินัย ภาคภูมิใจในความเปนชาติไทย เกิดการเรียนรูระบอบประชาธิปไตยผานกระบวนการและกิจกรรมตางๆใน โรงเรียน เทิดทูนและจงรักภักดีตอสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย มีจิตสาธารณะใชชีวิตอยางพอเพียง ปรับตวั มีเหตุผล และมีภูมคิ ุมกัน สามารถ เลือกดาเนินชีวิต อยางมภี ูมิรู และภูมธิ รรม โดยมีมาตรการเชอื่ มโยง กันอยางเปน ระบบ ครูทุกคนเปนคณะกรรมการกลุมบริหารงานกิจการนักเรียน สามารถวากลาว ตักเตือน อบรม นกั เรยี นหวงั ท่ีจะเห็นนักเรียนเปนผูมีความงดงามท้งั ทางกายวาจา ใจ คือ แตง กายถูกตอ งตามระเบียบ สงา งาม สมวัย ประพฤติปฏิบัติถูกตอ งตามระเบยี บแบบแผนของโรงเรียน พูดจาไพเราะ มีจติ ใจท่ีเปย มไปดว ยคุณธรรม จริยธรรม สมกบั เปน “กลุ สตรีผนู ํา” ตามอัตลักษณข องโรงเรยี น และเปนท่ีชืน่ ชมแกค นท่วั ไป คมู ือบริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

21 21 วตั ถุประสงคข องกลุมบรหิ ารงานกิจการนกั เรียน สง เสริมและพัฒนานักเรยี นโรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ ทกุ คนใหม คี วามเปน นักเรียน มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวนิ ยั สุขภาพกาย สขุ ภาพจิตดี เปนสมาชิกทด่ี ขี องครอบครวั และคนดขี อง สงั คม สามารถอยูร วมกับผอู ื่นในสงั คมไดอ ยางมคี วามสขุ นโยบายการบรหิ ารกลมุ บริหารงานกิจการนกั เรยี น 1. มงุ พฒั นาระบบการบรหิ ารงานและควบคุมภายในใหม ปี ระสิทธิภาพ และสงผลดีตอ ระบบดูแล ชวยเหลือนกั เรยี น 2. สง เสรมิ และพัฒนาระบบดแู ลชวยเหลือนกั เรยี นใหมปี ระสิทธภิ าพ 3. มุงพัฒนาคุณภาพนกั เรยี นดานความเปนนกั เรียน มีคณุ ธรรมจริยธรรมระเบยี บวนิ ัย และคานยิ มที่ พงึ ประสงค 4. มงุ พฒั นาใหนักเรียนมคี วามประพฤตดิ ี ภาคภูมิใจในความเปน ชาตไิ ทย เกดิ การเรียนรูระบอบ ประชาธิปไตย 5. สง เสรมิ ความสมั พันธอ นั ดี ระหวา งโรงเรยี น บาน และชุมชน เพอื่ รณรงคปองกนั แกไ ขปญ หายาเสพ ตดิ การทะเลาะววิ าท การพนนั สอื่ ลามก ซง่ึ สงผลตอสุขภาพจติ ทด่ี ีของนกั เรียน 6. มุงพัฒนาและแกไ ขปญหาตางๆแบบมสี ว นรวมกบั เครือขา ยผูปกครอง ขอบขายรองผอู าํ นวยการโรงเรียนกลุม บริหารกิจการนักเรียน มหี นาท่รี บั ผิดชอบในขอบขายตอไปนี้ 1. ควบคุมดูแลหนวยงานตา งๆ ที่ขนึ้ กบั กลุมบริหารกิจการนักเรียน ใหปฏิบัติงานไปตามหนา ที่ รับผดิ ชอบไดอ ยา งถูกตอ งครบถว นมีประสทิ ธิภาพ 2. วางแผนดําเนนิ งานดานบริหารกิจการนกั เรยี น กําหนดวธิ ีการดาํ เนนิ การ และติดตามผลการ ดาํ เนินงาน ใหเกดิ ผลตอสวนรวม 3. ใหคาํ ปรกึ ษา ชวยแกปญหาในการดําเนนิ งานดานบรหิ ารนักเรยี นอยา งจริงจงั เกิดผลดีตอ สวนรวม 4.จัดใหมกี ารดแู ลสวัสดิภาพ ความเปนอยูข องนักเรยี นใหเ กิดความสงบ และปลอดภยั จากสิง่ เลวรา ย ทัง้ ปวง 5. เปนท่ปี รึกษาใหคาํ แนะนําแกห นวยงานตา งๆ เพื่อใหผ ลดานการบริหารกิจการนักเรยี นมี ประสทิ ธภิ าพ 6. จดั ใหมกี ารวิเคราะห ตดิ ตามปญหานกั เรียนรายบุคคล เพื่อประสานงานใหน ักเรยี นประสบ ความสาํ เร็จตามศกั ยภาพ 7. จัดใหม กี ารวางแผนติดตามนกั เรียน เพือ่ นําขอ มูลมาใชใ นการแกปญ หา พัฒนาสงเสรมิ ใหงาน บรหิ ารกิจการนักเรยี นมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้ึน 8. วางแผนและจัดใหม ีการรวบรวมขอมูล สถิติ เก่ยี วกับงานบรหิ ารกจิ การนักเรยี น ปองกนั แกปญหา และนาํ ขอมูลไปใชในการพัฒนางานตอ ไปไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ คูมอื บรหิ ารงานกิจการนักเรยี น 2563

22 22 9. จดั ใหมีการประสานงานกับผปู กครองและรว มกนั แกป ญ หาของนักเรียนใหเ กิดผลดี 10. ดาํ เนนิ การจัดใหม ีครเู วรประจําวันเพ่อื ดแู ลนักเรียนประจาํ วนั 11. จดั ใหม ีการประชมุ อบรมนักเรียน เพ่ือพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมท่ีพงึ ประสงค 12. สงเสรมิ การทาํ งานของงานกิจการนักเรยี น จัดใหม คี ณะกรรมการนกั เรยี น ตลอดจนจัดกิจการ ตา งๆ ของนกั เรยี น 13. จัดใหมกี ารทําบัตรประจาํ ตัวนักเรยี นอยางครบถว นเพอื่ ผลในการปกครองดแู ลนักเรียน 14. จัดใหม ีการดูแลควบคุมความประพฤตนิ กั เรียนอยางเปน ระบบและเหมาะสม 15. พจิ ารณาใหความเห็นในการขออนุญาตของครนู าํ นักเรยี นไปศึกษานอกสถานที่ 16. ประสานงานกับฝายตา งๆในการรวมกันปฏิบัติงานของโรงเรยี นใหเ กิดผลดมี ีประสิทธิภาพ 17. ปฏิบัตหิ นาทอ่ี ่นื ๆ ตามทไ่ี ดร บั มอบหมาย ขอบขายผชู ว ยรองกลมุ บริหารกจิ การนักเรียน มหี นาที่รับผดิ ชอบในขอบขา ยตอไปนี้ 1. ปฏิบัติหนา ที่แทนรองผูอาํ นวยการกลุม บรหิ ารกจิ การนักเรียน ในกรณีท่ีรองผูอ ํานวยการกลุม บริหารกจิ การนกั เรยี น ไมสามารถมาปฏิบัติงานไดหรือไมอยูในโรงเรยี น 2. ดําเนินการแกไขนักเรียนทมี่ ปี ญ หา ดานพฤติกรรมรว มกับผปู กครองเปน รายกรณี 3.ประสานติดตอผูป กครองเพื่อรวมกนั แกปญ หานกั เรียนในดา นตางๆ ทีเ่ ปนปญหาตอการพัฒนาเดก็ โดยประสานการปฏบิ ัตกิ ับงานระดบั ชั้นอยางใกลชดิ 4. เปน รองประธานคณะกรรมการบรหิ ารกจิ การนกั เรียน 5. เขารวมประชมุ กับครูหวั หนาระดับ เพ่อื วางแนวทางการแกไขปญ หาดานพฤติกรรมของนักเรยี น 6. ประสานความรวมมือกับครทู ป่ี รึกษา ในการดแู ลและตดิ ตามเพ่อื แกไขปญหาดา นพฤติกรรมของ นักเรยี น 7. ใหความเหน็ ชอบในการออกหนังสอื รับรองความประพฤตินักเรียน 8. เสนอโครงการ/กจิ กรรม เพ่อื ใหสอดคลอ งกับเปา หมายของโรงเรียนดงั น้ี - ดานปลกู ฝง คุณลักษณะ ทพี่ ึงประสงคใหแกนักเรียน - ดานการสงเสรมิ วนิ ยั และแกไขพฤติกรรม 9. ดาํ เนินการจัดโครงการ / กิจกรรมที่ผา นการอนมุ ัติ 10. ประเมินสภาพความพึงพอใจในการดาํ เนนิ งานกจิ การนักเรียน กบั ทุกฝายที่เกย่ี วขอ ง ไดแ ก ครู นักเรียนและผปู กครอง 11. นําผลการประเมนิ มาใชในการวางแผนเพือ่ ปรับปรุง พัฒนา แกไ ขระบบการดาํ เนนิ งานใหมี ประสทิ ธิภาพย่งิ ขึน้ ในปก ารศึกษาตอ ไป 12. รายงานสรปุ ผลการดาํ เนนิ งานสง รองผอู าํ นวยการกลมุ บรหิ ารกจิ การนักเรยี น 13. ปฏิบัติหนา ทีอ่ ่นื ๆ ตามที่ไดรบั มอบหมาย ขอบขา ยงานสาํ นักงานกจิ การนักเรยี น คูม อื บรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

23 23 ขอบขายงานกลุมบริหารกิจการนักเรียน โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ 1.งานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ขอบขายงาน ๑.จัดทาํ คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนของโรงเรียน ๒.จัดทําเอกสารท่ีเก่ียวของกับระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนใหกับครูที่ปรึกษา ๓.ตรวจสอบการโฮมรูมของครูที่ปรึกษาประจําชั้นเกี่ยวกับระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ๔.ปฐมนิเทศนักเรียนทุกระดับช้ัน ๕.จัดใหมีการประชุมผูปกครองนักเรียน ในชั้นเรียนภาคเรียนละ ๑ คร้ัง ๖.ประสานงานกับหัวหนาระดับช้ัน ในการกาํ กับดูแลการปฏิบัติงานของครูที่ปรึกษา ๗.ประสานครูที่ปรึกษาเพ่ือออกเยี่ยมบานนักเรียนตามความเหมาะสม ๘.ติดตาม สรุป ประเมินผลและรายงานการดาํ เนินงาน / โครงการตอผูที่เกี่ยวของ ๙.ปฏิบัติงานอื่นๆท่ีไดรับมอบหมาย 2.งานสงเสริมการมีวินัยในตนเอง คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม ขอบขายงาน ๑.จัดทําแผนงานและโครงการงานสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ๒.จัดกิจกรรมสงเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบียบวินัยของนักเรียนในสถานศึกษา เชน การตรงตอเวลา ความสะอาด การแตงกาย การเขาแถว การแสดงความเคารพ การปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับและแนวปฏิบัติของโรงเรียน โดยจัดกิจกรรมเก่ียวกับการอบรม หรือสงเสริมความประพฤติใหเกิด ศรัทธาที่จะประพฤติดีปฏิบัติชอบและมีวินัยในตนเอง ๓.การสงเสริมพัฒนาดานคุณธรรม จริยธรรม ในดานการประหยัดและการออม การเสียสละ ความ อดทน อดกล้ัน ความขยันหม่ันเพียร ความเมตตากรุณา ความสามัคคี โดยมีการจัดกิจกรรมสงเสริม สนับสนุน ใหการยกยองชมเชยและประกาศเกียรติคุณใหทราบโดยท่ัวกัน โดยทําเปนประจําและตอเนื่อง ๔.การจัดกิจกรรมสงเสริมพัฒนาในดานความรับผิดชอบตอสังคมในดานการบําเพ็ญตนใหเปน ประโยชน การปฏิบัติตามกฎจราจร การปฏิบัติตามกฎหมาย การพัฒนาสาธารณสถาน การใหความรูแก เยาวชน โดยการจัดกิจกรรมอยางเปนประจําตอเนื่อง มีการปรับแกไข มีการเผยแพรแกผูเก่ียวของทราบ อยูเสมอ ๕.การจัดกิจกรรมสงเสริมการพัฒนาการใชเวลาวางใหเปนประโยชน ในดานการศึกษาหาความรู โดย คมู อื บรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

24 24 จัดบรรยายในโรงเรียน ใหมีคําขวัญ คติพจน บอรดความรูสูชุมชน นําความรูความคิดสูนักเรียน การ นันทนาการ การกีฬา การบาํ เพ็ญตนใหเปนประโยชน ดนตรี การหารายไดโดยสุจริต ฯลฯ โดยการจัด กิจกรรมอยางเปนประจําตอเน่ือง มีการปรับแกไขมีการเผยแพรแกผูเก่ียวของทราบอยูเสมอ ๖.จัดอบรมประจําวันหนาเสาธง ประชุมระดับ สวดมนตไหวพระ อบรมดวยวิธีการและกิจกรรม ตางๆกัน เร่ืองชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย วิธีการเรียน ศีลธรรม จรรยามารยาท และวัฒนธรรมประเพณี กิจกรรมสงเสริมการเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและโรงเรียน ๗.จัดกิจรรมยกยองใหกําลังใจแกนักเรียนดีเดน ดําเนินการในดานการใหเกียรติการยกยอง สรรเสริญ แกนักเรียนที่ประพฤติดี มีระเบียบวินัย เพื่อเปนตัวอยางแกนักเรียนท่ัวไป มอบประกาศเกียรติคุณบัตร แกผูปฏิบัติดีเดน ๘.ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติงานตอผูอํานวยการโรงเรียน และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ๙.ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมาย 3.งานระดับช้ัน ขอบขายงาน ๑.ออกคําสั่งแตงตั้งหัวหนาระดับและครูท่ีปรึกษาประจําช้ันในแตละปการศึกษา ๒.ดําเนินกิจกรรมเก่ียวกับงานกิจการนักเรียนในระดับช้ัน ใหเปนไปตามแผนปฏิบัติงาน ที่กําหนด ๓.ประสานงานกับครูท่ีปรึกษา และผูปกครองนักเรียน เพื่อรวมแกไขพัฒนานักเรียนที่มี พฤติกรรม ท่ีไมเหมาะสมกับสภาพนักเรียน ๔.ชี้แจง กฎระเบียบ ขอบังคับของโรงเรียนใหนักเรียนในระดับใหเขาใจและชัดเจน งายตอการ ปฏิบัติ ๕.อบรม ตรวจ ควบคุมดูแล แกไข เกี่ยวกับความประพฤติของนักเรียนในระดับ ๖.จัดทาํ ระเบียนความประพฤติ ตรวจเช็ค ควบคุม การเขารวมกิจกรรม สถิติการมาสาย การขอ อนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียนเปนปจจุบัน ๗.ควบคุม กํากับดูแลการมาเรียน การลา การมาสายของนักเรียน โดยสงหนังสือถึงผูปกครองเมื่อ นักเรียนขาดเรียน 3 วันข้ึนไป ๘.จัดแบงนักเรียน ครู ไปรวมพิธีหรือกิจกรรมกับทางราชการ ทั้งรัฐพิธีและราชพิธีหรือกิจกรรมกับ ทางราชการ ทั้งรัฐพิธีและราชพิธี ๙.ติดตาม สรุป ประเมินผล และรายงานการดําเนินงาน / โครงการตอผูที่เก่ียวของ ๑๐.ปฏิบัติงานอ่ืนๆที่ไดรับมอบหมาย คูมือบริหารงานกจิ การนักเรียน 2563

25 25 4.งานคณะ ขอบขาย ๑.ออกคําสั่งแตงตั้งครูที่ปรึกษาคณะสีแตละปการศึกษา ๒.ดําเนินการเลือกต้ังและออกคําส่ังแตงต้ังกรรมการคณะสี ๓.ประสานงานระหวางกลุมบริหารกิจการนักเรียนกับครูในคณะสี ๒.สงเสริมและกระตุนเตือนใหนักเรียนในคณะสีรูจักการปกครองตนเองแบบพี่ปกครองนอง เพ่ือใหเกิดความรัก ความสามัคคี ความผูกพันในสถาบัน ๓.สงเสริมใหนักเรียนในคณะสีมีจิตสํานึกที่ดีในการรับผิดชอบตอโรงเรียน และสังคม ๔.จัดบริเวณรับผิดชอบ ดูแล ความสะอาด ในพ้ืนท่ีท่ีไดรับมอบหมายใหแตละคณะสี ๕.จัดครูคณะสีปฏิบัติหนาที่เวรประจาํ วันในจุดตางๆ ตามท่ีกลุมบริหารกิจการนักเรียนกาํ หนด ๖.ดาํ เนินการจัดแถว และประกอบพิธีกรรมหนาเสาธงในตอนเชา ใหเปนระเบียบเรียบรอย ๗.สงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมการแขงขันในดานตาง ๆ เชน การแขงขันกีฬา ดนตรี ตอบปญหา วิชาการและอ่ืน ๆ เพ่ือใหนักเรียนรูจักการใชเวลาวางใหเปนประโยชน ๘.จัดตัวแทนคณะสีในการเชิญธงชาติ และการทาํ กิจกรรมตอนเชา ๙.ดูแลควบคุมความประพฤติและแกไขพฤติกรรมของนักเรียนใหอยูในกฎระเบียบของโรงเรียน และอยูในกรอบอันดีงามของสังคม ๑๐.ดูแลควบคุมในดานการแตงกายของนักเรียน ตลอดจนทรงผม และการใชเครื่องประดับตาง ๆ ของนักเรียนใหถูกตองตามระเบียบของโรงเรียน ๑๑.ดูแลและควบคุมพฤติกรรมการมาสายของนักเรียน ๑๒.บันทึกขอมูล สถิติตาง ๆ ในสวนที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมของนักเรียน เพ่ือเปนขอมูลในการ ปองกันและแกไขปญหาตอไป ๑๓.ประสานงานกับฝายตาง ๆ เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปดวยความราบรื่น ๑๔.ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ท่ีไดรับมอบหมาย 5.งานสรางเสริม และพัฒนาอัตลักษณกุลสตรีผูนาํ ขอบขายงาน ๑.จัดทําคําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการจัดทําหลักสูตรอัตลักษณกุลสตรีผูนาํ กุลสตรีผูนาํ ๒.จัดกิจกรรมการอบรมและพัฒนานักเรียนตามหลักสูตรอัตลักษณกุลสตรีผูนาํ ๓.ปฐมนิเทศนักเรียนใหม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ๔.จัดใหมีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอัตลักษณกุลสตรีผูนาํ กุลสตรีผูนํา ๕.จัดใหมีการประเมินอัตลักษณกุลสตรีผูนาํ นักเรียนทุกคน คมู อื บริหารงานกิจการนักเรยี น 2563

26 26 ๖.จัดกิจกรรมพัฒนาสงเสริมอัตลักษณกุลสตรีผูนาํ ๗.จัดทําขอมูลนักเรียนที่มีความประพฤติไมเหมาะสม ๘.จัดใหมีการกําหนดวิธีการแกไขพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของนักเรียน ๙.จัดทําหลักฐานการแกไขพฤติกรรมตามวิธีการที่กําหนด ๑๐.ติดตามเรงรัดการมาโรงเรียน การเขาหองเรียน ของนักเรียน ๑๑.ควบคุม กาํ กับดูแล เอาใจใส แกไข นักเรียนที่มีความประพฤติไมเหมาะสม ๑๒.ประสานกับผูปกครอง ครูประจาํ ชั้น เพ่ือรวมแกไขพฤติกรรมนักเรียนที่มีพฤติกรรมที่ไม เหมาะสม ๑๓.การติดตามประเมินผลและรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบ ๑๔.ปฏิบัติงานอื่นๆที่ไดรับมอบหมาย 6.งานสงเสริมความรวมมือ บาน โรงเรียน และชุมชน และเครือขายผูปกครอง ขอบขายงาน ๑.ประสานงานและอํานวยความสะดวกในการทํางานของคณะกรรมการเบญจมราชาลัยสมาคม ในพระบรมราชินูปถัมภ คณะกรรมการสมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระ บรมราชูปถัมภ ๒.จัดแหลงความรูที่เกี่ยวของกับงานของ เบญจมราชาลัยสมาคมในพระบรมราชินูปถัมภ คณะกรรมการสมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภเพ่ือ เพิ่มพูนศักยภาพการทํางาน ๓.เสริมสรางความรวมมือ และความเขาใจอันดีระหวางสมาคมฯ กับโรงเรียน ๔.เผยแพรขาวสารขอมูลการดําเนินงานของ เบญจมราชาลัยสมาคมในพระบรมราชินูปถัมภ คณะกรรมการสมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ ๕.ติดตอ ประสานงาน ระหวางกลุมบริหารกิจการนักเรียนกับชุมชน องคกรตางๆ ที่เกี่ยวของ ใน การดูแลดานสวัสดิภาพของนักเรียน ๖.จัดใหมีผูแทนผูปกครองเปนคณะกรรมการระดับหองเรียน ระดับช้ัน และระดับโรงเรียน เปน เครือขายผูปกครอง ๗.ประสานความรวมมือกับผูปกครองในการแกปญหาใหแกนักเรียน ๘.เสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวางครู ผูปกครอง นักเรียน และโรงเรียน ๙.ระดมทรัพยากรทุกๆ ดานจากผูปกครอง เพื่อชวยเหลือและพัฒนาคุณภาพนักเรียน ๑๐.จัดกิจกรรมในการเสริมสรางความรวมมือ และความเขาใจอันดีระหวางผูปกครองและ คมู อื บริหารงานกิจการนักเรยี น 2563

27 27 โรงเรียน ๑๑.ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย 7.งานสารวัตรนักเรียน ขอบขายงาน ๑.จัดใหมีระเบียบโรงเรียนวาดวยขอปฏิบัติสารวัตรนักเรียน เพ่ือใหการปฏิบัติงานสารวัตร นักเรียนเกิดประสิทธิภาพ ๒.รับสมัครนักเรียนมีสวนรวมในการทํากิจกรรมสารวัตรนักเรียน เพื่อบําเพ็ญประโยชนตอสังคม ดวยใจที่มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละเพื่อสวนรวม เสริมสรางระเบียบวินัยใหกับตนเองและผูอ่ืน สราง ความสามัคคีในหมูคณะ ๓.ควบคุมติดตามการปฏิบัติงานสารวัตรนักเรียนใหเปนไประเบียบโรงเรียนวาดวยขอปฏิบัติ สารวัตรนักเรียน ๔.ปฏิบัติงานอ่ืนๆที่ไดรับมอบหมาย 8.งานปองกันแกไขปญหาสารเสพติดและโรคเอดส ขอบขายงาน ๑.จัดทาํ สถิติขอมูลนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมเกี่ยวของกับสารเสพติดชนิดตางๆ ๒.ประสานงานกับครูประจําชั้นและผูปกครองนักเรียนกลุมเส่ียง ๓. การวางแผน สรางเครือขายเฝาระวัง ๔.การตรวจคนหาสารเสพติดและสิ่งผิดกฎหมาย ๕.การสุมตรวจปสสาวะนักเรียนกลุมเส่ียง ๖.รวมมือกับชุมชนในการรณรงคตอตานยาเสพติดและโรคเอดส ๗.ดาํ เนินการอบรมนักเรียนกลุมเส่ียง ๘.จัดใหมีกิจกรรมสงเสริมเวลาวางใหเกิดประโยชนเชน กิจกรรมลานกีฬาตานยาเสพติด ๙.การใหคําปรึกษาเปนรายบุคคล ๑๐. การรายงานขอมูลยาเสพติดใหหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ๑๑.การติดตามประเมินผลและรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบ ๑๒. ปฏิบัติงานอื่นที่ไดรับมอบหมาย ๑๓.จัดทําขอมูลสถิตินักเรียนกลุมมีพฤติกรรมเสี่ยงตอการติดเชื้อเอดส ๑๔.เฝาระวังการระบาดของสถานการณเอดส ๑๕.จัดกิจกรรมรณรงคใหความรูแกนักเรียนในการปองกันโรคเอดส คมู ือบริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

28 28 ๑๖.ติดตอและประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ๑๗.ปฏิบัติงานอ่ืนๆที่ไดรับมอบหมาย 9.งานสงเสริมประชาธิปไตย และคณะกรรมการนักเรียน ขอบขายงาน ๑.จัดทําเอกสารช้ีแจง เผยแพรหลักการของประชาธิปไตยโรงเรียน ๒.จัดใหมีหลักฐานการจัดกิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตย ๓.ประสานกับครูของโรงเรียน/ฝายตางๆเพื่อจัดกิจกรรมคณะกรรมการนักเรียน ใหสอดคลองกับ นโยบาย ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๔.สนับสนุนสงเสริมใหมีบรรยากาศของประชาธิปไตยในโรงเรียนอยางเดนชัด ๕.จัดใหมีการเลือกตั้งคณะกรรมการนักเรียนปละ 1 ครั้ง ๖.รวมกับคณะกรรมการนักเรียน เปนท่ีปรึกษาในการประชุม ตลอดทั้งวางแผนงาน/โครงการ สาํ หรับปฏิบัติงานของคณะกรรมการสภานักเรียน ๗.ประสานกับนักเรียนในการทาํ ความเขาใจในกิจการของโรงเรียน เพื่อความสามัคคี การเคารพ นบนอบ ของนักเรียนตอครู ๘.สงเสริม ใหคําปรึกษา แนะนํา เกี่ยวกับการทํากิจกรรมของคณะกรรมการนักเรียนใหอยูใน ขอบขายที่เหมาะสม และไมขัดตอระเบียบของโรงเรียน ๙.จัดทาํ คูมือคณะกรรมการนักเรียน ๑๐.สงเสริมใหนักเรียนจัดกิจกรรมและเขารวมกิจกรรมในวันสําคัญของชาติ/ศาสนา / พระมหากษัตริยและความเปนไทย เพ่ือแสดงออกในดานประชาธิปไตย ๑๑.ใหโอกาสครู นักเรียน แสดงความคิดเห็น และขอเสนอแนะตอโรงเรียน ๑๒.ติดตามประเมินผล และรายงานผลใหผูบริหารทราบ ๑๓.ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย 10.งานรักษาความปลอดภัยและจราจร ขอบขายงาน ๑.จัดทาํ คําส่ังแตงตั้งขาราชการครูและลูกจางประจํา ปฏิบัติเวรยามกลางคืน ๒.จัดทําคาํ ส่ังแตงต้ังขาราชการครูและลูกจางประจาํ ปฏิบัติเวรวันหยุดราชการ ๓.จัดทําคําสั่งแตงตั้งยามปฏิบัติหนาที่เวรยามเปนผลัด ตลอด ๒๔ ชั่วโมง คมู ือบริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

29 29 ๔.จัดวางระบบการตรวจสอบและควบคุมการปฏิบัติหนาที่ของยามรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง ๕.คนควาเสาะหาขอมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยใหกาวทันเหตุการณอยางตอเนื่อง เพื่อประโยชน ในการปรับปรุงเปล่ียนแผนยุทธศาสตรของยามรักษาความปลอดภัย ๖.จัดระบบจราจรภายในโรงเรียนใหเปนระบบเพื่อความคลองตัวเปนระเบียบ ๗.กําหนดมาตรการการจัดระบบการจราจรภายในโรงเรียนใหเปนไปตามนโยบายของโรงเรียน ๘.ตรวจสอบความสะอาดเรียบรอยท่ัวไปทั้งภายในและนอกสถานศึกษา ๙.จัดระบบรักษาความปลอดภัยกลองวงจรปดในสถานศึกษา ๑๐.ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย 11.งานแผนงานสารสนเทศและพัสดุ ขอบขายงาน ๑.รับสงหนังสือ รางพิมพหนังสือ ทําระเบียบวาระและบันทึกการประชุม บันทึกเสนอ เก็บหนังสือ ราชการ ๒.ประสานงาน ติดตาม เกี่ยวกับหนังสือที่มาถึงฝายกิจการนักเรียน ๓.ออกใบรับรองความประพฤติใหกับนักเรียน ๔.วางแผนดําเนินการควบคุม ลงทะเบียนวัสดุครุภัณฑของฝายกิจการนักเรียน ๕.จัดทําแบบฟอรมตางๆ ในฝายกิจการนักเรียน ๖.จัดทาํ แผนงานโครงการ และปฏิทินปฏิบัติงานกิจการนักเรียน ๗.จัดทําสมุดประจําตัวนักเรียนและสมุดคูมือนักเรียนและผูปกครอง ๘.เก็บรวบรวมสถิติในดานตางๆ เกี่ยวกับงานในฝายกิจการนักเรียน ๙.รวบรวมคะแนนรายงานระเบียบวินัยเกี่ยวกับงานพฤติกรรมนักเรียนท่ีไมผานการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑๐.จัดทําเอกสารเก่ียวกับระเบียบกฎขอบังคับ และแนวปฏิบัติ เพื่อใชในโรงเรียน ๑๑.เผยแพร ประชาสัมพันธ ระเบียบวินัยกฎขอบังคับ แนวปฏิบัติใหบุคลากรและนักเรียนทราบ โดยทั่วกัน๑๒.กําหนดแผนภูมิการจัดองคกรฝายกิจการนักเรียน ๑๓.จัดทําเอกสารพรรณนางาน ๑๔.ออกแบบประเมินงานทุกงาน ในฝายกิจการนักเรียน ๑๕วิเคราะหผลการดําเนินงานกิจการนักเรียนและรายงานใหรองผูอํานวยการฝายกิจการนักเรียน ใหรับทราบเพ่ือนาํ ผลการวิเคราะหไปปรับปรุงงานกิจการนักเรียน ๑๖.จัดทําระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี ๑๗.ปฏิบัติงานอ่ืนๆท่ีไดรับมอบหมาย คมู อื บริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

30 30 การบริหารจัดการระบบชว ยเหลือนกั เรยี นในสถานศกึ ษา เครือขา ย คณะกรรมการอาํ นวยการ(ทีมนํา) เครือขา ย ผปู กครอง คณะกรรมการประสานงาน(ทมี ประสาน) คณะกรรมการ สถานศึกษา คณะกรรมการดําเนนิ งาน(ทีมทาํ ) ดําเนินงาน(ครทู ีป่ รกึ ษา) กลุมพิเศษ กลมุ ปกติ กลมุ เสี่ยง กลุม มปี ญหา(กลมุ ชวยเหลอื ) กลมุ สงเสรมิ /พัฒนา กลุมปองกัน กลุมชว ยเหลือ ผเู รียนไดร บั การพัฒนาใหเ ปนคนดี ครูแนะแนว/ปกครองใหการชวยเหลอื มีปญ ญา มีความสขุ สงตอ ผเู ชีย่ วชาญ ดํารงความเปน ไทย คูม อื บริหารงานกิจการนักเรียน 2563

31 31 ประกาศโรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ เร่อื ง ระเบียบการแตงกายของนกั เรียน โรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ ..................................... นักเรียนโรงเรียนเบญจมราชาลยั ทุกคน จะตองแตงเครอื่ งแบบตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการไดวาง ระเบยี บไวโ ดยเครงครัด ดงั ตอ ไปนี้ ๑. เสอื้ กระโปรง ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน (ม.๑, ม.๒, ม.๓) เสือ้ ผาขาวเกล้ียงไมบ างเกนิ ควร แบบคอพับในตัวหรอื คอกะลาสี คอลกึ พอใหสวมศีรษาไดสะดวก สาบตลกเขาขางใน สวนบนของสายใหใหญพอแบะคอแลว ไมเ หน็ ตะเขบ็ ขา งใน มปี กขนาด ๑๐ ซม. ใชผา ๒ ชัน้ เยบ็ แบบเขา ถํ้า แขนยาวเพียงเหนอื ศอก ปลายแขนจีบเล็กนอย ขอบแขนประกอบดวยผาสองช้นั กวา ง ๓ ซม. ขนาดตัวเสอื้ ใหมีความกวางเหมาะสมกับตัว ไมหลวมเกินไป และไมคบั จนรัดเอว ไมตเี กล็ดใดๆ ท้งั ส้นิ ริม ขอบดานลา งเสอื้ ดา นหนาขางขวาติดกระเปา ขนาดกวา ง ๘ – ๙ ซม. ตามสัดสวนของตวั เสื้อ ปากกระเปา พับ เปน รมิ กวา งไมเ กิน ๒ ซม. ผกู คอดวยผาสีกรมทา ชายสามเหลยี่ มกวางประมาณ ๕ – ๘ ซม. ยาวประมาณ ๘๐ – ๑๐๐ ซม. ผกู เงอื่ นกะลาสี กระโปรง สีกรมทาเกลีย้ งไมมลี วดลาย ไมเปนผา ชนิดมัน ดา นหนา และดานหลงั พบั เปน กลบี ขางละ ๓ กลบี หันกลบี ออกดานนอก เยบ็ กลีบยาวลงมาวดั จากขอบกระโปรงประมาณ ๖ – ๑๒ ซม. เวน ระยะความ กวา งตรงกลางพองาม กระโปรงยาวคลุมเขาคือใตเขาลงมาประมาณ ๕ ซม. ขนาดตัวกระโปรงใหเ หมาะสมกับ ตัว ไมคับเกินไปจนนา เกลียด ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๔, ม.๕, ม.๖) คูมือบริหารงานกจิ การนักเรยี น 2563

32 32 เส้อื ใชผ า ขาวเกลี้ยงไมบางจนเกินไป แบบคอเช้ิตผาอกตลอด ที่อกเสอ้ื ทาํ เปน สายตลบเขาขางในกวาง ๓ ซม. ติดกระดึมกลมแบนสีขาวขนาดเสนผาศูนยกลาง ๑ ซม. ๔ เมด็ แขนยาวเหนือขอศอก ปลายแขนจีบ เลก็ นอ ย ขอบแขนระกอบดวยผา สองชั้นกวา ง ๓ ซม. ขนาดตัวเสือ้ ใหเหมาะสมกบั ตวั ไมรัดเอวไมตีเกลด็ ใดๆ ท้ังส้ิน เวลาสวมแลว เก็บชายเส้อื ไวใ นกระโปรง ไมต ดิ เข็มกลัดหรอื ยางยืดที่ชายเสือ้ ชายเสอื้ ทกุ สว นอยใู นขอบ กระโปรง กระโปรง แบบเดียวกับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน เข็มขัด ใชเ ขม็ ขดั หนังสดี ํากวา ง ๓ – ๔ ซม. หวั เข็มขัดรูปส่เี หลยี่ มผืนผา หุมดวยหนังสีดําชนิดหัวกลัด มีปลอกหนังสีเดยี วกับเขม็ ขัด ขนาดกวา ง ๑.๕ ซม. สาํ หรับสอดปลายเขม็ ขดั ใหคาดทับขอบกระโปรง เม่อื หวั เข็มขดั ชํารดุ ตองซอ มหรอื ซือ้ ใหม ๒. เคร่อื งหมาย ปกอักษร บ.ร. (ตอ งเปนแบบของโรงเรยี น ไมใ ชเขียนขนึ้ เอง) ที่อกเสอ้ื ดา นขวาติดบนเนื้อผา เหนือระดบั อก ดว ยไหมสีน้ําเงนิ และปก จดุ เหนอื อกั ษร บ.ร. ตามระดับชน้ั ดังน้ี นกั เรียนช้นั ม.๑ ปกวงกลมตามแบบทโ่ี รงเรียนกาํ หนด ๑ จุด เหนืออักษร บ.ร. ดวยไหมสเี ลือดหมู นกั เรียนชน้ั ม.๒ ปกวงกลมตามแบบทโี่ รงเรยี นกาํ หนด ๑ จุด เหนืออกั ษร บ.ร. ดว ยไหมสีเขยี ว นกั เรยี นชน้ั ม.๓ ปก วงกลมตามแบบทโี่ รงเรยี นกาํ หนด ๑ จุด เหนอื อักษร บ.ร. ดว ยไหมสเี หลือง นักเรยี นชน้ั ม.๔ ติดพระเก้ียวตราโรงเรียนเหนอื อกั ษร บ.ร. และปก วงกลมตามแบบที่โรงเรยี นกาํ หนด ๑ จุด ไวท่ีปกเสือ้ ดา นขวามอื ดว ยไหมสีเหลือดหมู นกั เรยี นชั้น ม.๕ ติดพระเก้ียวตราโรงเรียนเหนืออกั ษร บ.ร. และปก วงกลมตามแบบทโ่ี รงเรียนกาํ หนด ๑ จุด ไวท ปี่ กเสื้อดา นขวามือดวยไหมสีเขยี ว นกั เรยี นชน้ั ม.๖ ติดพระเก้ียวตราโรงเรยี นเหนืออกั ษร บ.ร. และปกวงกลมตามแบบทีโ่ รงเรียนกาํ หนด ๑ จดุ ไวท ป่ี กเสือ้ ดา นขวามอื ดวยไหมสีเหลอื ง ๓.รองเทา,ถงุ เทารองเทา หนังสดี ําหุมสนเทาหัวมนชนดิ หนงั รัดหลังเทาส้นิ เตี้ย ๒-๓ ซม. ขดั เปน มนั รองเทาฝก พละใชร องเทา ผา ใบสีขาวไมม ีกุน สีตางๆ ถุงเทายาวสขี วาไมม ีดอกหรือลาย ใชตลบปลายพับตรงขอ เทา ไมมีกุน ตางๆ ไมป กและไมบ างเกนิ สมควร ๔. นกั เรียนตอ งมเี คร่ืองแบบพลศกึ ษาท่ีโรงเรยี นกําหนดไว ๑ ชุด ในวนั ท่ีมีวชิ าพลศกึ ษานกั เรยี นสวมเสอ้ื พละ มาโรงเรียน และนาํ กางเกงพละมาเปลยี่ นที่โรงเรียน สวมรองเทาผา ใบสีขาวมาจากบาน กางเกงพละตองใสไ ว ในกระเปา มีดําหรือกระเปา เสริมของโรงเรียน(เสอื้ พละจะสวมเฉพาะวันทเี่ รยี นพละเทานั้น วนั เรยี นปกติไม อนุญาตใหส วมมา ยกเวน โรงเรียนนัดหมายเปน กรณีพเิ ศษ) คูม อื บริหารงานกจิ การนักเรียน 2563

33 33 ๕. นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน ตอ งมีเครื่องแบบยุวกาชาด เนตรนารีเหลาเสนา ๑ ชดุ ตามท่ีโรงเรียน กาํ หนดและตอ งแตง เครือ่ งแบบยุวกาชาด หรอื เนตรนารีตามวันทที่ างโรงเรยี นกําหนด โดยเกบ็ ชายเสื้อไวใน ขอบกระโปรงมีเขม็ ขดั คาดท่ีขอบกระโปรงใหมองเหน็ เขม็ ขดั ชดั เจน ติดเครอ่ื งหมายของเครื่องแบบใหครบถว น ถกู ตอง ๖. นกั เรยี นตอ งใชก ระเปาหนงั สือแบบนักเรยี นทาํ ดว ยหนังสีดํา กระเปา หรอื ถุงเสรมิ ท่ีมตี ราโรงเรียนเทานน้ั หามใชกระเปา ใสหนงั สอื ทไ่ี มใชแบบกระเปานกั เรยี น ยา มสตี างๆหรือถงุ กระดาษ ๗. ในวันหยุดราชการ นกั เรียนทีม่ าทํากจิ กรรมในโรงเรียนตอ งแตงกายชดุ เครื่องแบบนกั เรียนหรือชดุ ที่สภุ าพ ระเบยี บการไวท รงผมของนักเรยี น นกั เรียนตอ ง ไมดดั ผม ไมย อมผม ไมซ อยผม ไมต อ ผม ไมไ วผ มหนา มา ใหไวผ มทรงบอ บตรงยาว เทา กนั ถา ไวยาวมาแลวตองยาวเรียบเสมอกัน แลวรวบที่ทายทอย ความยาวของผมไมเ กนิ ๖ น้วิ หรอื ถักเปย เดียว โดยเริม่ จากทา ยทอย ความยาวของเปยตองไมเกนิ ๘ นว้ิ แลว ผกู รบิ บ้นิ สีกรมทาหรือสีดํา หาใสเ ยลหรอื ฉดี สเปรย หายกหนาผมหลงั สูง ไมป ลอ ยผมรกรงุ รกั ปรกหนา หรอื ขางแกม ตองเก็บผมใหเรยี บรอย นกั เรียน คนใดถา วันทมี่ อบตวั ไวผ มบอบควรไวผ มทรงบอบตลอดไป เครอ่ื งแบบพลศกึ ษาของโรงเรยี น ๑.เส้อื ใหใชเสือ้ แขนส้ัน คอโปโลตวั ยาวไมเ กนิ ขอ มอื สีแดงเลอื ดหทู มกี ระเปาขางซา ย ๑ ใบ ที่ กระเปา ปก เครอ่ื งหมายตราโรงเรียนสขี าว ๒. กางเกง เปน กางเกงวอรมขายาวสกี รมทาเอวรดั ๓. ถงุ เทา สีขาวส้ันไมม ีลวยลาย ตลบปลายพบั ลงมาถึงขอเทา ๔. รองเทา ผา ใบสีขาวลวนมเี ชอื กผูก สน เต้ีย หา มใชชนิดทีม่ ีกุนสีหรอื ประกอบตวั รองเทาดวยสีตาง ๕. ทป่ี กเสือ้ ดานขาวใหปก เคร่อื งหมายเพื่อแสดงชั้น ขนานกับขอบปกดานกวาง ดงั นี้ ม.๑ ปก วงกลมตามแบบทโี่ รงเรียนกําหนด ๑ จดุ ดวยไหมสีขาว ม.๒ ปก วงกลมตามแบบทโี่ รงเรียนกําหนด ๑ จุด ดวยไหมสีเขยี ว ม.๓ ปกวงกลมตามแบบที่โรงเรยี นกําหนด ๑ จุด ดวยไหมสเี หลือง ม.๔ ปก รูปดาวตามแบบทโี่ รงเรยี นกําหนด ๑ จุด ดวยไหมสีขาว ม.๕ ปก วงกลมตามแบบที่โรงเรียนกําหนด ๑ จดุ ดว ยไหมสเี ขียว ม.๖ ปกวงกลมตามแบบท่โี รงเรียนกําหนด ๑ จดุ ดวยไหมสเี หลือง คูมอื บรหิ ารงานกิจการนักเรยี น 2563

34 34 ๖. ปกชื่อ นามสกุล ทอ่ี กเสื้อดา นขวาในระดับเดียวกนั กับปากกระเปา ดว ยไหมสขี าว ตัวอกั ษรมคี วามสูง ๓/๔ ซม. การปก เคร่อื งหมายทีเ่ สอื้ พลศกึ ษา ระดบั ม. ตน ระดับ ม. ปลาย ปก จุด หรือ ดาว ดว ยไหมสีตามท่โี รงเรียนกาํ หนด ทป่ี กเสื้อดา นขวา โดยใหขนานกบั ขอบปกดา นลา ง ปก ชื่อ นามสกลุ ดว ยไหมสีขาว ทีห่ นาอกดานขวา ระดับเดียวกับปากกระเปา ส่ัง ณ วันท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๓ (นายวุฒิชยั วรชนิ ) ผูอํานวยการโรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ คมู ือบริหารงานกิจการนักเรยี น 2563

35 35 แนวปฏบิ ตั ปิ ระจาํ วนั ๑. นักเรยี นไมควรมาถงึ โรงเรียนกอ น ๐๖.๐๐ น. ๒. เม่ือมาถงึ แลว หามออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น แมวาจะยังไมถ ึงเวลาเขาเรียน ๓. หา มขน อาคารเรียน กอ น ๐๖.๔๕ น. ๔. สัญญาณออด ๗.๓๐ น. เตรียมเขาแถว ๗.๓๐ น. เพลงประจําโรงเรยี นเบญจมราชาลัย เมือ่ จบเพลง ทกุ แถว ตองเรยี บรอยทําพิธเี คารพธงชาติ ดวยความเคารพและต้งั ใจ ๘.๐๐ – ๘.๒๐ น. คาบโฮมรมู ๘.๒๐ น. เริ่มเรยี นคาบเรียนท่ี ๑ ๑๐.๕๐ – ๑๑.๔๐ น. ม.๑ – ม.๓ พักรบั ประทานอาหารกลางวัน ๑๑.๔๐ – ๑๒.๓๐ น. ม.๔ – ม.๖ พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั ๑๕.๐๐ น. เลกิ เรียน ๑๗.๐๐ น. นักเรยี นลงจากอาคารเรียนทุกอาคาร ๑๘.๐๐ น. ไมอนุญาตใหน ักเรยี นอยใู นโรงเรียน นอกจากนักเรียนท่ีรอ ผูปกครองมารับใหร อท่ีใตอาคารเทพรัตน ๕. เมือ่ นักเรียนออกจากโรงเรียนใหนาํ กระเปาหนังสอื ออกไปทุกคร้ังและไมนาํ ไปวางไว ตามท่ตี างๆนอกบริเวณโรงเรยี น ๖. ถาเดนิ ออกจากโรงเรียนแลว ควรรีบกลบั บาน ถา มีความจําเปนตองกลบั เขาไปในโรงเรียน ตองขออนุญาตครเู วรทกุ คร้งั ๗. ไมค วรซื้ออาหาร หรอื สงิ่ ของบริเวณหนา โรงเรยี น เพราะไมส ะอาดและไมเปน ระเบยี บ คมู ือบรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น 2563

36 36 คณุ สมบตั ขิ องนกั เรยี นโรงเรยี นเบญจมราชาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ นกั เรยี นทีด่ ีพงึ ปฏบิ ัตแิ ละประพฤตติ น ตามระเบยี บดงั น้ี การเขาแถวเคารพธงชาติ สวดมนต - นักเรยี นตองมาโรงเรยี นใหท นั สัญญาณเขา แถวเคารพธงชาติ เวลา ๗.๓๐ น. - เมื่อไดย นิ เสยี งเพลงโรงเรียนตอ งรีบไปเขาแถวจัดแถวใหเ ปนระเบียบเรยี บรอย - รองเพลงชาตแิ ละกลาวคาํ ปฏิญาณตนพรอ มกนั และยนื ตรง แขนแนบลาํ ตัว - สวดมนตไ หวพ ระ นักเรียนนง่ั พบั เพยี บ ประนมมอื สวดมนตต ามนักเรยี นผนู าํ สาํ หรบั นกั เรียนทไี่ มไดน บั ถอื พทุ ธศาสนาตอ งนง่ั พับเพียบสงบน่ิง ระเบียบภายในหอ งเรยี น - ทกุ หอ งตอ งเลือกต้ังกรรมการนักเรยี น - จดั เวรรักษาความสะอวดของหอ งเรียน ดูแลการจดั โตะ เกาอีน้ ั่งใหส ะอาดเปนระเบียบเรียบรอ ย ท้ังใหหองประจําช้นั และหองที่ไปเรยี นตลอดทงั้ วนั - ดแู ลทรัพยส นิ ตา งๆ ภายในหอ งเรยี น พยายามอยา ใหช าํ รุดเสยี หาย ถา สงิ่ ใดชํารดุ เสียหายตอ งแจง ครูท่ีปรกึ ษา - นกั เรียนแสดงความเคารพครูทเี่ ขาสอนทุกคร้งั - กรณที ่นี กั เรยี นเขาหองเรยี นชา ตอ งขออนุญาตครูผูสอน และทําความเคารพกอนเขาหอ งเรียน - กรณีท่มี ีความจาํ เปน ตอ งออกนอกหองเรยี น ตองขออนุญาตครูผูส อน ถา ครูไมอยูในหอ งเรยี น ใหขออนุญาตหวั หนาหอ ง และบันทึกเปนหลกั ฐาน ระเบียบภายนอกหอ งเรียน - นกั เรียนตองชวยกนั รกั ษาความสะอาดของอาคารเรยี น บริเวณโรงเรยี น ตลอดจนชวยดูแลทรพั ยส ิน ของโรงเรียนใหอยูในสภาพเรยี บรอ ย และใชการไดดีอยูเสมอ - เมอื่ นักเรยี นเดนิ สวนกบั ครทู า นใดกต็ าม ตองหยุดยืนและแสดงความเคารพ พรอ มนอ มศรี ษะ ไหว และกลา วคําวา “สวัสดีคะ ” ทุกคร้งั - ไมใชว าจาหยาบคาย หรอื สงเสยี งดัง อนั เปน การรบกวนผอู นื่ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน - การขึน้ ลงบนั ได ใหเดนิ แถวเรยี งหนึง่ ชดิ ทางขวามือของตนเสมอ - การใชห องนา้ํ ตองทําความสะอาดทุกคร้งั ผาอนามัยที่ใชแลวทงิ้ ลงในถังทเ่ี ตรยี มไวใ หท ง้ิ กระดาษ ชําระในตะกราหรอื ถงั ทเี่ ตรยี มไวใ ห (ไมวางหรอื ทงิ้ ทีห่ นา กระจกหรืออางนาํ้ ) ปดกอกน้าํ ทกุ คร้งั กอนที่ คูม ือบริหารงานกิจการนักเรยี น 2563

37 37 จะออกจากหอ งนํ้า แจงครเู วรหรอื ครหู วั หนา อาคาร เมือ่ พบส่งิ ทีช่ ํารดุ เสียหาย ไมข ดี เขียน คาํ ขอความ หรือรปู ภาพ หรอื แตมสาํ ใดๆ ท้งั ในและนอกหองนาํ้ ถาพบเห็นตอ งแจง ครูหัวหนาคณะประจาํ วนั หรอื ครอู ่นื ๆ เพือ่ ใหนักการทําความสะอาด การมาโรงเรียน - เมื่อเขามาในโรงเรียนแลว จะออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นตองไดรับอนญุ าตจากกรรมการกลุมบริหาร กจิ การนกั เรยี น - แตง เครื่องแบบนักเรยี นทกุ คร้ังท่ีมาโรงเรยี น และไมส วมรองเทา แตะ - หา มนกั เรียนขบั รถมาโรงเรยี นเด็ดขาด - ถา ผปู กครองขบั รถมาสงหรือมารับ ใหจ อดสง หรือรับหนา โรงเรียน นกั เรยี นควรเตรยี มกระเปาพรอ ม ทจ่ี ะข้ึนหรือลงจากรถโดยไมชักชาเพ่ือทจ่ี ะไดไ มทําใหการจราจรติดขัด - โรงเรยี นไดจัดใหม ีครเู วรอยูทปี่ ระตโู รงเรยี น ฉะนั้นกอ นเขา โรงเรียนและกอ นออกนอกบรเิ วณ โรงเรยี นทกุ วนั นักเรยี นจะตองวางกระเปา แลว ทําความเคารพครูเวร การมาสาย นักเรียนทุกคนตองมาโรงเรยี นทันเขาแถวเคารพธงชาติ เวลา ๐๗.๓๐ น.ถา มาสายตอ งปฏบิ ตั ิดงั นี้ - มาไมท ันเวลาเขา แถว ๐๗.๕๐ น. หามเขาไปในแถว ใหเ ขาแถวกลุมผูมาสายโดยอยูใ นความดูแล ของครูเวร หรือผูทท่ี างโรงเรียนกาํ หนด ลงชอื่ ในแบบฟอรม นกั เรียนมาสายไมท ันเขา แถว - มาไมท นั เวลา ๐๘.๐๐ น. ใหเ ซน็ ชอ่ื ทีโ่ ตะครูเวรประจําวนั ถา นักเรยี นมาสายเกิน ๓ ครั้ง ทางโรงเรยี นจะเชิญผูป กครองมาพบรองผอู าํ นวยการกลมุ บรหิ ารกิจการนกั เรียน เพอื่ รว มกนั แกไข และพฒั นานกั เรียน การลา - ลากิจธุระในระหวา งเรียน นักเรียนตอ งมผี ปู กครองมารับ และนาํ สมุดประจาํ ตวั นกั เรยี นไปให ครทู ่ีปรกึ ษาเซน็ รบั ทราบและอนุญาต เมื่อผปู กครองมารับใหไ ปบันทกึ การมารบั นกั เรียนท่ี หองกิจการนักเรียน ถา ไมส มควรก็จะไมอนญุ าต - ลาปว ยขณะเรียน แจง ครผู ูสอน ครทู ีป่ รกึ ษาเพอื่ ขออนญุ าตเขาพกั ในหอ งพยาบาล ในกรณีทีป่ ว ย ตอ งกลับไปรกั ษาตัวที่บา น ตองขอใบรบั รองจากฝายพยาบาล ไปแจง ตอ กลุม บรหิ ารกจิ การนักเรยี น ขออนุญาตโทรศัพทถึงผูป กครอง และนําใบรับรองไปแจง แกค รูที่ปรึกษาและครผู ูสอน จงึ ขออนุญาต ออกนอกบรเิ วณโรงเรียนได โดยตองมีผูปกครองมารบั - การลาหยุดเรยี นกรณีเจ็บปว ยหรือมกี จิ ธุระจาํ เปน เม่อื มาโรงเรยี นหลังจากลาหยดุ เรยี นในวันแรก ตองนาํ จดหมายของผูปกครองมารับรองวาปวยจรงิ หรอื มีกจิ ธรุ ะจําเปน ระบสุ าเหตุและอาการปว ย วนั เวลาทปี่ ว ย หรือสาเหตุท่ตี อ งลากิจมาแสดงตอครูท่ีปรึกษา คูมอื บรหิ ารงานกิจการนักเรียน 2563

38 38 การออกนอกบริเวณโรงเรียน นกั เรยี นจะตองแจงตอคณะกรรมการกลมุ บริหารกิจการนกั เรียนคอื รองผูอาํ นวยการกลมุ บริหาร กจิ การนกั เรียน ผูชว ยรองผอู ํานวยการกลมุ บรหิ ารกจิ การนักเรยี น ครูหัวหนา ระดบั นักเรยี น นักเรยี นจะออก นอกบริเวณโรงเรียนในระหวา งเวลาเรยี นไดก ต็ อ เมือ่ - ผูปกครองมารบั ดวยตนเอง โดยแจงเหตุผลท่ีรองผอู ํานวยการกลุมบรหิ ารกิจการนักเรียน หรือหัวหนาระดับซ่ึงจะเปนผอู นุญาตใหออกนอกบริเวณรงเรยี นพรอ มกบั ผปู กครอง - การออกนอกบรเิ วณโรงเรียนเพ่ือทํากิจกรรมใด ๆ ที่โรงเรียนจัดขน้ึ ภายนอกโรงเรยี น โรงเรยี น จะมหี นงั สอื แจงใหผ ูป กครองรับทราบและขออนุญาตทกุ ครง้ั และจัดใหมีครคู วบคุมนักเรียนทกุ ครัง้ การพบกบั บุคคลภายนอก ถา มีกิจธรุ ะจําเปน ตอ งพบจรงิ ๆ นกั เรยี นตองแจง ครทู ่ีปรกึ ษาและครูในกลุมบริหารกจิ การ นกั เรียน ไวลวงหนาดวยตนเอง โดยใหบุคคลภายนอกติดตอและรออยูท ี่โตะครเู วรหรอื บริเวณท่ีโรงเรยี นกําหนดเทา น้ัน บุคคลภายนอกท่ีขอพบนักเรยี น อาจไมไ ดรบั อนุญาตจากหัวหนากลุม บริหารกจิ การนกั เรียน ถา พิจารณาแลว เหน็ วา ไมเ หมาะสมหรอื ไมจ าํ เปน นกั เรยี นทุกคนจะตอ งชแ้ี จงใหบคุ คลภายนอกทจี่ ะมาติดตอ ใหท ราบวา ไมว า จะเปน เพศใดวยั ใดหรืออยูทีใ่ ดก็ตามจะเขา มาในโรงเรยี นตามความพอใจไมได ท้งั นเี้ พ่อื ความสงบเรียบรอยและ ความปลอดภัยของนกั เรียน อน่ึงถา ผูปกครองจะนาํ ของฝากใหน กั เรียนตอ งฝากผา นยามของโรงเรียน ไมอนญุ าตใหสงโดยตรงกับนักเรียน การนดั พบสนทนาตามสวนสาธารณะ รา นอาหารหรอื ทอี่ ่นื ๆ เปน การกระทาํ ที่ไมสมควร นกั เรยี นตองใหผปู กครองไดรับรูก ารกระทาํ นัน้ และตอ งไมทําใหโรงเรียนเสยี ชอ่ื เสยี ง การเขาหอ งประชมุ โรงเรียนจดั ใหม ีการประชุมนักเรยี นในหองประชมุ หมนุ เวยี นอยางนอยระดับระดบั ๑ ครัง้ ตอสปั ดาห การเขาหอ งประชุมใหนักเรยี นปฏิบัติดังนี้ - นักเรียนแตล ะชัน้ ตองรับผิดชอบวา เปน หนาท่ขี องนกั เรยี นท่ีจะตอ งเขา ฟง การประชุมทกุ ครง้ั ตามวันเวลาที่ทางโรงเรยี นกําหนดไว - เดนิ เขา หอ งประชมุ อยา งมีระเบียบเรยี บรอ ยรวดเร็ว นัง่ ประจาํ ทีใ่ นแถวประจาํ ชั้นในสภาพที่สงบ มีระเบยี บวนิ ยั นาํ กระเปา อปุ กรณตาง ๆ รองเทา มาวางใกลตัว - ฝายทะเบียนของหอ งรายงานชือ่ นกั เรยี นทข่ี าดการประชมุ ตอ ครูท่เี ปนผใู หก ารอบรมหรือควบคุม หรอื ครทู ป่ี รกึ ษาบันทึกลงสมุดบันทกึ การประชุมและบันทกึ สาระสําคญั ทไี่ ดร ับการประชุมสง หัวหนาระดบั - เม่ือเสร็จส้ินการประชุมนักเรียนจะเดินออกจากหอ งประชมุ เปน แถวอยา งมีระเบียบใชหลกั การ พิจารณารวดเรว็ เรียบรอย เสียสละ ใหอ ภัย สงบ รอคอย คูมอื บรหิ ารงานกิจการนักเรยี น 2563

3939 ระเบียบปฏบิ ตั ิทั่วไป นกั เรียนทกุ คนปฏบิ ตั ดิ งั นี้ - เช่ือฟง และปฏิบตั ิตามคําเตือนของครูทุกทาน - รักษาความสามัคคีใน หมูคณะ รนุ นอ งนับถือรุน พี่ รุนพีป่ ระพฤตปิ ฏิบตั ิใหเปนตวั อยา งทด่ี ีแกร นุ นอ ง - ตองประหยดั การใชน ้าํ ไฟฟา และวัสดุสิ้นเปลอื งของโรงเรียน - ชว ยกันรกั ษาทรัพยสมบัตขิ องโรงเรยี นใหอ ยใู นสภาพที่ดีงาม - รูจักคาราวะบคุ คลอน่ื และตองทาํ ความเคารพเมือ่ พบครูทกุ ทานทง้ั ในและนอกโรงเรยี นรจู ัก กลาวคาํ “สวัสด”ี “ขอโทษ” และ “ขอบคุณ” ในโอกาสอันควร - ตอ งมคี วามสงบสํารวม เม่ืออยใู นโรงเรียนและรกั ษาระเบยี บวนิ ัยขณะมกี ิจกรรม - ไมตกแตง เครื่องประดับใด ๆ เชน ตุมหู เครื่องประดับเงนิ ทอง (นาฬิกาขอมือแตม ใิ ชน าฬิกาเครือ่ งประดบั มีสสี นั ตาง ๆ ใหใชสายหนงั สดี ําหรือน้ําตาล หรือโลหะสแตนเลส) - ไมไ วเล็บ ทาเลบ็ เขียวคิ้ว ทาปาก ใสเ ลนสตาทีม่ ีสัน ตกแตง ใบหนา ดวยเครื่องสาํ อาง - ไมน าํ สนิ คาและบริการทุกประเภทมาขายในโรงเรียน - ไมเสพสารเสพยต ดิ หรือของมึนเมา ไมม วั่ สุมหรือกอความรําคาญ - การเขาพบครทู ุกครั้ง ใหน กั เรียนเขาไปไหว แลว คกุ เขาหรอื นง่ั พบเพยี บตามโอกาสและสถานทถี่ าอยใู กล ๑ เมตร/ศรี ษะของนักเรยี นตองไมส ูงกวาศีรษะของครู - นักเรยี นตองมอี ุปกรณก ารเรยี นครบทุกวชิ า เขียนช่ือ นามสกลุ เลขประจาํ ตวั บนสมดุ หนังสอื ในกระเปา หนงั สือ และอปุ กรณท ุกชิน้ - ไมไวผ มปรกหนา ผาก ไมด ดั ผม ทําสีผม ซอยผม หรือไวผมตามสมยั นยิ ม ไมฉีดสเปรย ใหไ วผ มทรงบอ บ ถา ไว ยาวมาแลวตองเรยี บเสมอกันไมเกนิ ๖ น้ิว ตอ งรวบผมท่ีทา ยทอย ความยาวของเปยไมเ กนิ ๘ นิ้ว ผูกรบิ บนิ้ สกี รมทาหรอื ดาํ ถาเกนิ กวา กําหนดตอ งตดั ตามกาํ หนดโรงเรียน โรงเรยี นไมมนี โยบายไวผ มยาว แตอนุโลม สําหรับผูที่ไวผมยาวมาแลว - ไมนาํ อาหาร เคร่อื งดมื่ และของขบเคี้ยวทุกชนดิ และสิง่ ของไปรับประทานในหอ งเรียนบนอาคารหรือบริเวณ อน่ื นอกหองอาหาร - ไมนําหนังสอื เอกสารหรอื แผนประกาศมาแจกหรือนาํ มาตดิ ในโรงเรียน เวนแตค รูอนญุ าตใหเ ปนความรู ทีเ่ ผยแพรไดใ หติดบอรด ไมต ิดตามฝาผนังหรอื เสา หรอื ระเบียง - ไมน าํ บุคคลภายนอกเขามาในบริเวณโรงเรียน หรือข้ึนบนอาคารเรยี น เวน แตไ ดรบั อนญุ าตจาก รองผอู ํานวยการกลมุ บรหิ ารกิจการนักเรยี นเปนลายลักษณอ กั ษรสว นที่ทน่ี ักเรยี นจะพบปะพูดคยุ ธรุ ะ กบั บุคคลภายนอก คอื บรเิ วณมา นง่ั ใตอาคารเทพรตั นเทานั้น - ไมเขาไปในบริเวณตอ ไปนี้คอื บา นพกั ยาม บา นพกั คนงามภารโรง ทางเดนิ หลงั อาคารจันทรนิภา คมู อื บรหิ ารงานกจิ การนักเรียน 2563

4040 - ไมจดั กิจกรรมนาํ เทยี่ วหรือชกั ชวนเพอ่ื นนกั เรียน และผูอน่ื ไปตามสถานที่ตาง ๆ โดยไมไดร บั ความเห็นชอบ จากผูปกครอง - ตองสวมเสือ้ บงั ทรงและเก็บชายเส้อื บังไวท รงในกระโปรง - ไมเลนการพนนั แชร แชรล ูกโซ ไพ หรือกิจกรรมอ่ืนใดทเี่ ขาขา ยการพนัน - สุภาพออนโยนตอบคุ คลทัว่ ไป ไมก ลาวคําหยาบหรอื สอเสียด - ไมป ระพฤติหรือทําการใด ๆ ที่นําความเสื่อมเสยี มาสโู รงเรียน - ถา นกั เรยี นจะมาโรงเรียนเพอื่ ทํากิจกรรมใด ๆ ตองแตง เคร่อื งแบบนกั เรยี นหรือชดุ สภุ าพเรยี บรอย ทกุ คร้งั - เสื้อพลศึกษา สวมในวนั ทมี่ เี รียนพลศึกษาเทา นน้ั หรือในวันทโี่ รงเรียนนดั หมายใหส วม มาได - ไมไปทาํ กิจกรรมใดทบี่ านเพ่อื นในขณะที่ไมม ผี ูปกครองและไมเ สนอหรอื ชวนหรืออนญุ าตใหเ พ่อื นไปคา ง ทบ่ี า น - ตอ งมีบัตรประจาํ ตัวนกั เรยี นติดตวั ไวเสมอ - ไมใชโทรศพั ทห รอื โทรศพั ทม ือถือขณะเรยี น ถาพบจะเกบ็ สง หอ งกิจการนกั เรียนผูปกครองมารบั เม่ือสน้ิ ป การศกึ ษา - ใหเ ก็บอุปกรณเ ครอื่ งใชไ วใกลตัว และเก็บเงนิ ไวก ับตัวตลอดเวลาเพอ่ื กนั สญู หาย - โรงเรยี นมีนโยบายใหป ระหยดั ควรใชแตสิง่ ท่ีทางโรงเรียนจดั จาํ หนา ยเทานั้น - ไมแตงกาย และประพฤติตนตามแฟชัน่ ทุกชนิด อนั เปน การไมเ หมาะสมกับสภาพนักเรยี น การลงโทษนักเรยี น การลงโทษนักเรยี นตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวาดวยการลงโทษนกั เรยี นและนักศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ และระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารวา ดว ยการลงโทษนักเรียนและนักศกึ ษา (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๐ มีขอ กาํ หนดไวด งั นี้ โทษทจี่ ะลงโทษแกนกั เรียนหรอื นกั ศกึ ษาทก่ี ระทําผิดมี ๔ สถาน ดงั นี้ ๑. วา กลา วตักเตอื น ๒. ทําทัณฑบ น ๓. ตดั คะแนนความประพฤติ ๔. ทาํ กิจกรรมเพอ่ื ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ************************************************************** คมู ือบรหิ ารงานกิจการนักเรียน 2563