Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2

การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2

Description: การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2

Search

Read the Text Version

ก เร่ือง การใชง้ านโทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่ จัดทำโดย นายพณี ัฐ รตั นสำเนยี ง ปวช.2 62209010003 เสนอ เสนอ ครพู ลวัฒน์ เก้ือขำ วทิ ยาลยั สารพัดช่างสงขลา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

ข สารบญั Table of Contents สารบญั .................................................................................................................................................................................. การทาํ งานโทรศัพทเ์ คลือ่ นท่ี...................................................................................................................................................... 1 ไอคอนสำหรบั โทรศพั ทเ์ คลือ่ นท่ี ................................................................................................................................................. 6 การเรม่ิ ตน้ ใชง้ านโทรศพั ท์เคลื่อนทเี่ บอื้ งตน้ ................................................................................................................................. 10 การโทร .............................................................................................................................................................................. 25 การป้อนขอ้ มูล ..................................................................................................................................................................... 27 อ้างองิ ................................................................................................................................................................................ 31

1 การใชง้ านโทรศัพท์เคล่ือนท่ี การทํางานโทรศัพท์เคลือ่ นท่ี โทรศพั ทไ์ รส้ าย เครื่องโทรศัพท์ไร้สาย หมายถึงโทรศัพท์ทุกชนิดที่ไม่ใช้สาย เช่น โทรมือถือ PCT แม้กระทั่งโทรตามบ้านที่ไร้ สาย โทรศพั ท์อาจจะเปน็ ปัจจยั ที่5ของมนุษย์ยุคดจิ ิตอล ประชาชนสว่ นใหญจ่ ะเป็นเจา้ ของมอื ถอื บางคนมีมากกว่า 1 คร้ังและใชก้ ันอยา่ งไมล่ ืมหูลืมตาโดยท่ีไม่คำนึงถงึ ความปลอดภยั หรือผลเสยี ทจี่ ะเกิดขึ้น บทความนี้จะกล่าวถึงความปลอดภัยของคลื่นวิทยุต่อคนโดยมีการทบทวนโดยองค์การอนามัยโลก องค์การ สุขภาพของแคนาดาและองั กฤษ การเจริญเติบโตของธุรกิจมือถืออย่างมาก ประมาณการว่าจะมีจำนวนเครื่องโทรศัพท์ประมาณ 1.6 ล้านๆ เคร่อื งนอกจากน้ันกย็ งั มสี ถานีเครอื ข่ายเพมิ่ ขึน้ มากมายท่ปี ล่อยคล่นื ความถวี่ ิทยออกมา ปจั จัยที่มีผลตอ่ สุขภาพ ไดแ้ ก่ การทำงานของโทรมอื ถือ เม่อื เราพดู โทรศัพท์มือถือ คลนื่ เสียงจะเปล่ียนเป็นคล่นื วทิ ยุ radio waves ซึง่ เป็นคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าชนิดหน่ึง( electromagnetic radiation) คลื่นนี้จะกระจายไปในอากาศและไปสู่สถานีของวิทยุมือถือ เมื่อมีคนโทรติด ตอ่ มาคลื่นเสียงจะแปลงเปน็ คล่นื วทิ ยุ สง่ ไปตามสถานีและส่งมายงั ผู้รบั

2 ความแรงของคลื่นส่วนใหญ่ประมาณ 0.75ถึง 1 watt ในขนะที่เราพูดสมองของเราจะอยู่ใกล้เสาอากาศของ โทรศพั ท์มือถอื มากทส่ี ดุ พลงั งานจากคล่ืนวิทยจุ ะเปล่ียนเปน็ พลังงานความร้อนซงึ่ อาจจะสง่ ผลเสียต่อสขุ ภาพ ความแรงของคลน่ื คนที่ใช้โทรศพั ท์มือถือจะได้รับคลื่นมากกว่าคนที่อาศัยอยู่ใกล้สถานี คนที่ใช้โทรศัพท์มือถือจะได้รับคลืน่ เม่อื มี การใช้โทรศพั ท์ แต่คนทอี่ าศยั ใกลส้ ถานีจะไดร้ บั คลน่ื อยูต่ ลอดเวลา โทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มือถือสมัยเก่าเป็นระบบ 850 MHz ปัจจุบันเป็นแบบ 1900 MHz ส่วนของประเทศ ทางยุโรปใช้ระบบ Global System for Mobile Communications (GSM) ซึ่งมีคลื่นความถี่ระหว่าง 900 MHz ถึง 1800 MHz โทรศัพท์เคลือ่ นทีจ่ ะให้พลังงานคลืน่ เพียง 0.2-0.6 Watts สำหรับวิทยุ walkies talkies จะใหก้ ำลงั คลืน่ ถึง 10 Watts ความแรงของคลนื่ จะลดลงอย่างมากเม่ือตวั เคร่ืองอยู่ห่างจากศรีษะ ดงั นค้ั วารจะ ใชอ้ ปุ กรณ์ที่เรียกวา่ hand free ซง่ึ จะลดความแรงของคลน่ื สถานกี ระจายคลน่ื สถานจี ะให้คล่นื แรงตั้งแต่ไม่กีว่ ัตต์จนเป็นร้อยขนึ้ กับขนาดและจำนวนของเซลล์ไซต์ โดยตัว เสาอากาศจะมีความกว้าง 20-30 ซม. และยาวประมาณ 1 เมตรโดยตั้งอยู่ ดาดฟ้าอาคาร บนหอคอยสูง 15- 50 เมตรจากพื้น หากตั้งอยู่บนพื้นจะต้องมีความสูง 50-200 ฟุตจากพื้นดิน คลื่นจากเสาอากาศจะออกใน แนวราบ ดังนนั้ คนท่อี ยบู่ นดนิ หรือในบา้ นจะได้รับคล่ืนน้อยมาก ระยะห่างทป่ี ลอดภัยจากคือ 2-5 เมตรจากเสา อากาศ ผลกระทบตอ่ สุขภาพ คลื่นวิทยุจะมผี ลตอ่ เนือ้ เย่ือลึกประมาณ 1 ซม ความลึกขึ้นกับความถี่ของคล่ืน เมื่อเนื้อเยื่อได้รับคล่ืนจะแปลง เปน็ ความรอ้ นแตร่ า่ งกายก็มกี ลไกที่จะควบคมุ อณุ หภมู ิ เชอ่ื ว่าผลเสยี ของคลื่นวิทยุเกิดจากความร้อน การศึกษาที่ผ่านมาจะศึกษาผลกระทบอของคลื่นวิทยุต่อทั้งร่างกาย และคลื่นที่ศึกษาก็แรงกว่าคลื่นโทรศัพท์ มาก การศกึ ษาผลกระทบของคลืน่ โทรศัพทมอื ถือต่อคนยังมไี มม่ าก มะเรง็ ยังไมม่ หี ลักฐานยนื ยันว่าคลื่นโทรศัพท์ทำให้เกิดมะเร็ง แต่จากการทดลองในสัตว์ก็ไมม่ ีหลักฐานว่าทำให้ เกิดมะเรง็ และจากการศึกษาทางระบาดวิทยาก็ไม่มีหลกั ฐานว่าคลน่ื โทรศัพท์ทำใหเ้ กิดมะเรง็ ผลเสียตอ่ สขุ ภาพอ่ืน พบวา่ คลื่นวิทยมุ ีผลต่อการนอนหลับ การตอบสนองของสมอง นอ้ ยมาก การขบั รถ การใช้โทรศพั ทม์ อื ถือทำให้มีอบุ ัติเหตเุ พ่ิมขึ้น การรบกวนของคล่นื วิทยุ คลน่ื จะรบกวนการทำงานของอุปกรณ์ทางการแพทย์ เชน่ เครอื่ งกระตนุ้ การเต้นของ หัวใจ pacemaker ,defibrillator และอาจจะมผี ลต่อการควบคุมการบนิ การเลอื กซอื้ ตอ้ งพจิ ารณาอะไรบ้าง ต้องทราบว่าโทรมือถือแตล่ ะร่นุ ทผ่ี ลิตออกมาให้ความถี่คลืน่ วิทยุออกมาเทา่ ไร (Raduofrequency exposure level ) ท่านจะทราบโดยขอข้อมูลจากบริษัทผู้ผลิตหรือท่เี วป http://www.fcc.gov/oet/rfsafety

3 ท่านจะต้องทราบว่าพลังงานที่ได้จากคลื่น (Specific Absorption Rate (SAR) เป็นการคำนวณพลังงานจาก คล่ืนวิทยทุ ่ีเราได้รบั )ไมค่ วรเกนิ เท่าไร ปกติไม่ควรเกิน 1.6 watts per kilogram SAR stands for Specific Absorption Rate แม้ว่าจากหลักฐานถึงปัจจุบันพบว่าการใช้โทรศัพท์มือถือไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ แต่ยังมีคำถามถึงความ ปลอดภัยของการใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือในระยะยาว ซ่งึ รัฐบาลของของหลายประเทศได้แนะนำให้มีการวิจยั เพิ่มเติม SAR คอื อะไร หมายถง Specific Absorption Rate หมายถึงหน่วยการวัดปริมาณพลังงานที่ร่างกายได้รับขณะที่เราใช้ โทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ทุกเครื่องจะต้องผ่านการวัดโดยใช้พลังงานเต็มที่ แต่พลังงานที่เราใช้จริงจะน้อยกว่า ค่าที่ได้จากการทดสอบ เพราะบริษัทเค้าออกแบบให้ใช้พลังงานต่ำที่สุดที่พอจะส่งคลื่นไปยังสถานีที่ใกล้ที่สุด ดงั นั้นหากเราอย่ใู กล้สถานี เราจะได้รับพลังงานน้อย เราจะเลือกเคร่อื งทีม่ ีระดับ SAR เท่าไร ในการเลือกซื้อเครื่องโทรมือถือนอกตากจะพิจารณา บริษัทที่ผลิต รุ่น แบบ ขนาด ประเภทการใช้งาน ราคา เราจะต้องคำนึงถึง ระดับของ SAR โดยค่าปกตจิ ะไม่เกนิ 1.6 watt/Kg โทรศพั ทข์ องบรษิ ัทแตล่ ะรุ่นมีค่า SAR เท่ากันหรือไม่ แม้ว่าจะเป็นโทรศพั ท์จากบรษิ ัทเดยี วกัน แต่จะมคี า่ SAR ไมเ่ ท่ากนั เราจะทราบว่าเครื่องของเรามคี ่า SAR เท่าไร มี website ทีใ่ หท้ า่ นค้นหาว่าเครอื่ งของทา่ นมคี า่ SAR เทา่ ไรคน้ ไดจ้ าก www.fcc.gov/oet/fccid ตารางข้างล่างจะเป็นที่อยู่ของบริษัทที่ผลิตโทรมือถือ ซึ่งท่านจะสามารถหารายละเอียดของ Specific Absorption Rate (SAR) ของเคร่อื งแตล่ ะรนุ่ Alcatel Audiovox: Benefon:

4 Kyocera Wireless www.kyocera-wireless.com LG www.lge.com Mitsubishi www.mitshubishiwireless.com Motorola www.mot.com/rfhealth/sar.html Nokia www.nokiausa.com Panasonic www.panasonic.com Samsung www.samsungusa.com Ericsson www.sonyericssonmoible.com/us อปุ กรณ์ Hand free จะทำให้ปลอดภยั เพ่มิ ข้นึ หรือไม่ ในขณะท่ยี งั ไมท่ ราบถึงผลเสียของการใช้โทรศัพท์มอื ถือในระยะยาว ดังนั้นการใชอ้ ปุ กรณ์ Hand free จะทำให้ สมองของเราไดร้ ับพลงั งานจากคลื่นวิทยุลดลง อปุ กรณท์ ่ปี ้องกนั คลน่ื ไปสูศ่ รีษะใชก้ ารได้หรือไม่ จากการศึกษาพบวา่ อปุ กรณ์เหล่านใี้ ช้ไม่ไดผ้ ลเน่ืองจากทำให้การใชโ้ ทรศัพท์ลำบาก และเครื่องจะปรบั พลังงาน เพ่ิมข้นึ ทำให้เราไดร้ บั พลังงานเท่าเดมิ เราจะใช้มือถืออยา่ งปลอดภยั ได้อย่างไร จนถึงปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานถึงผลเสียของคลื่นโทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพ แต่ต้องรอผลการศึกษาอีก 3-4 ปี ดงั นน้ั องคก์ ารอนามัยโลกจงึ เสนอแนวทางปฏบิ ตั ิ ลดระยะเวลาในการพูดโทรมอื ถอื ใหป้ ฏิบตั ติ ามคำแนะนำเพ่ือสขุ ภาพทัง้ ผ้ใู ช้มอื ถือ หรอื ผู้ทอี่ าศยั ใกลส้ ถานี มาตราการเสริม การออกมาตราการควรจะอาศยั ข้อมูลทางวชิ าการ หากภาครัฐหรือภาคประชาชนตอ้ งการมาตราการเสริม ควรจะเป็นมาตราการจูงใจหรือสมคั รใจ เพื่อให้บริษัท ผลติ สินค้าทีม่ กี ารปลอ่ ยคลืน่ ลดลง สว่ นประชาชนโดยเฉพาะเดก็ หากต้องการลดการรับคลน่ื ควรจะจำกัดการใชห้ รอื ใชอ้ ุปกรณ์ hand free ปฏิบตั ติ ามข้อห้าม เช่นไม่ใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถอื ในโรงพยาบาล หรือเครื่องบิน ความปลอดภัยขณะขับขี่ ควรจะหลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือในขณะที่ขับรถ หรืออาจจะใช้อุปกรณ์ hand free สร้างร้ัวหรือส่ิงกดี ขวางบริเวณสถานีเพอ่ื มใิ หผ้ ไู้ ม่เกีย่ วขอ้ งเข้าไปยงั บริเวณดงั กลา่ ว

5 การตดิ ตั้งสถานี การตดิ ตั้งสถานีใกล้โรงเรียนอนุบาล สนามเด็กเลน่ โรงเรียน จะตอ้ งพิจารณาใหร้ อบครอบ ผลการศึกษา ร า ย ง า น จ า ก Cellphones 'should not be given to children' 18:19 11, January 2005 NewScientist.com news service ,Will Knight, London แม้ว่าจะยังไม่มีหลักฐานถึงอันตรายของมือถือ ต่อสุขภาพ แต่ต้องระวังโดยเฉพาะในเด็ก มีรายงานจากประเทศสวีเดน ว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดเนอ้ื งอกเสน้ ประสาทหกู บั มอื ถือ มีการวิจัยว่าการใชโ้ ทรศัพท์มอื ถือนานๆจะเกิด Hot spot ในเน้ือสมอง ซง่ึ เชื่อวา่ จะมีการทำลายสมองบางส่วน และอาจจะเปน็ สาเหตุทท่ี ำใหเ้ กดิ โรคเน้อื งอกในสมอง และ Alzheimer’s disease การวิจัยใหม่ๆพบว่าคลื่นโทรมือถือ GSM จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานของเซลล์ และการ เปล่ยี นแปลงคลน่ื ไฟฟา้ สมอง พบว่าคลื่นวิทยุทำให้เกิดการสลายของ DNA ซึ่งหากไม่มีการซ่อมแซมจะ ทำใหเ้ ซลลส์ มองตาย นักวจิ ัยที่ Royal Adelaide Hospital in Australia คน้ พบวา่ คลื่นแม่เหล็กุท่อี อกมาจากอุปกรณ์เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า อาจจะมคี วามสมั พนั ธ์กับการเกิดเน้อื งอกสมองของหนู การทส่ี มองสัมผัสคล่ืนโทรศพั ทม์ อื ถอื นานๆจะทำให้สารพษิ สามารถเข้าส่เู นื้อสมองได้งา่ ย รปู ข้างล่างแสดงกลไกวา่ คลน่ื โทรศพั ท์มือถือทำให้เกิดเน้ืองอกสมองได้อย่างไร ออสซสี งสัยคนเนอื้ งอกในสมองจากเสามือถอื บนอาคาร 12 พฤษภาคม 2549 14:37 น. สำนกั งาน 2 ช้ันบนสุดของอาคารแหง่ หนึง่ ในนครเมลเบริ ์นของออสเตรเลียปิดทำการช่วั คราว หลงั จาก เจ้าหน้าที่ 7 คนที่ทำงานในน้ันตรวจพบเนือ้ งอกสมอง กอ่ ให้เกิดความวติ กว่าอาจมีสาเหตมุ าจากเสาส่ง สัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่บนหลังคาอาคาร เจ้าหน้าที่สหภาพการอุดมศึกษาแห่งชาติของออสเตรเลียเผยว่า 2 ชั้นบนสุดของอาคารดังกล่าว เป็นที่ต้ัง สำนักงานของราชสถาบันเทคโนโลยีเมลเบิร์น มีการสง่ั ย้ายเจ้าหนา้ ที่ออกจากสำนักงานดงั กล่าวแล้วเมื่อวานนี้ หลังจากเจา้ หน้าท่ี 4 คนตรวจพบเนือ้ งอกในสมองในช่วง 2 สปั ดาห์ทผี่ ่านมา และก่อนหน้านีเ้ จ้าหน้าที่ 3 คนก็ ตรวจพบเนื้องอกในสมองเช่นกัน โดยพบรายแรกเมื่อปี 2544 การพบเจ้าหน้าที่มีเนื้องอกสมองพร้อมกันมาก ขนาดนี้ จึงไมน่ ่าจะเป็นเรอ่ื งบงั เอญิ เจ้าหนา้ ที่ท่ีปว่ ย 5 คน ทำงานอยู่ชั้นบนสดุ ของอาคาร และส่วนใหญท่ ำงาน มานานไม่ต่ำกว่า 10 ปี ด้านเจ้าหน้าที่ราชสถาบันเทคโนโลยีเมลเบิร์นกล่าวว่า เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ติดตั้งอยู่บนหลังคา อาคาร สร้างความกังวลมานาน แต่ผลการศึกษาเมื่อปี 2544 ไม่พบว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้เจ้าหน้าที่รายแรกมี

6 เนื้องอกในสมอง อย่างไรก็ดี ทางสถาบันยังไม่ตัดประเด็นนี้ออกไป และจะศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้ แน่ใจ ด้านเทลสตรา บริษัทโทรศัพท์รายใหญ่ที่สุดในออสเตรเลียที่ติดตั้งเสาส่งสัญญาณโทรศัพท์บนหลังคาอาคาร ดังกลา่ วออกแถลงวา่ เสาสง่ ได้มาตรฐานดา้ นสุขภาพและความปลอดภัยของสำนกั งานความปลอดภัยนิวเคลียร์ และการป้องกันรังสีออสเตรเลีย และเป็นไปตามระเบียบที่เคร่งครัดขององค์การอนามัยโลก อย่างไรก็ดี ทาง บริษทั จะร่วมกบั ราชสถาบนั ฯ สบื หาความจริงตอ่ ไป เพ่อื คลายความกงั วลของเจ้าหน้าที่ ไอคอนสำหรับโทรศัพท์เคลอ่ื นที่ ไอคอนท่ีอยดู่ า้ นบนสดุ ของหน้าจอคือไอคอนอะไร แถบสถานะท่ีด้านบนของ หนา้ จอหลัก มีไอคอนตา่ งๆ ที่จะช่วยคณุ ตรวจสอบโทรศัพทข์ องคุณ ไอคอนทางดา้ นซ้าย จะแจง้ ใหค้ ุณทราบเกย่ี วกับแอป เช่น ข้อความใหม่หรือดาวน์โหลด หากคุณไม่ทราบ ความหมายของไอคอนเหล่าน้ี ให้กวาดแถบสถานะลงเพอื่ ดูรายละเอยี ด

7 ไอคอนทางด้านขวา จะแจ้งให้คุณทราบเกีย่ วกบั โทรศัพท์ของคณุ เช่น ระดับแบตเตอร่ีและการเชือ่ มต่อ เครือข่าย นีค่ ือไอคอนจากแอปทมี่ าพร้อมกับโทรศัพทข์ องคุณและไอคอนสถานะโทรศพั ท์ การโทร การโทรท่ใี ช้งานอยู่ สายทไ่ี ม่ได้รับ ลำโพงเปดิ อยู่ ไมโครโฟนถูกปิดเสยี ง เครอื ข่าย เชื่อมต่ออยกู่ ับเครือข่ายโทรศัพท์/เครือข่ายมือถอื (สัญญาณเต็ม) ยงั มีการแสดงความเร็วของการ เชือ่ มตอ่ เครอื ข่ายของคณุ เอาไว้อีกดว้ ย ตัวอยา่ ง เชน่ หรอื ความเรว็ ท่ีเปน็ ไปได้เรยี ง จากช้าทีส่ ดุ ไปเรว็ ท่สี ดุ คือ 1X, 2G, 3G, H, H+, 4G ความเร็วทใี่ ช้ไดข้ น้ึ อยูก่ บั ผูใ้ ห้บริการและ ตำแหนง่ ของคุณ ไมม่ ีการเช่ือมตอ่ กบั เครือขา่ ยโทรศัพท/์ เครือข่ายมอื ถอื เช่ือมต่ออยู่กับเครือข่ายโทรศัพท์/เครือขา่ ยมือถืออื่น (โรมม่ิง) โทรฉุกเฉินเท่านั้น อยู่ในพน้ื ท่ีเครือขา่ ย Wi-Fi เช่อื มตอ่ อยู่กับเครอื ข่าย Wi-Fi บริการตำแหนง่ ใชง้ านอยู่ ไมม่ ีซิมการ์ด โหมดบนเครอื่ งบนิ เปดิ อยู่

8 การเชื่อมต่อ บลูทธู เปิดอยู่ เชื่อมตอ่ กับอปุ กรณ์บลทู ูธแล้ว เชอ่ื มต่อกบั อปุ กรณ์บลทู ธู ที่เชอ่ื ถือได้แล้ว โทรศัพท์ของคุณเปน็ Wi-Fi ฮอตสปอต อปุ กรณ์ตา่ งๆ สามารถเชื่อมต่อเพ่อื แบง่ ปันการเช่อื มตอ่ ขอ้ มลู ของคณุ ได้ เชือ่ มต่อกับจอแสดงผลไรส้ ายหรอื อะแดปเตอรแ์ ลว้ เชือ่ มต่อแลว้ ด้วย สาย USB เชอ่ื มตอ่ แลว้ ด้วยสาย USB ในโหมดแกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง ซิงค์และอปั เดต มกี ารอัปเดตแอปรอให้ ดาวนโ์ หลด จาก Play Store แอปฯ ไดร้ บั การตดิ ตง้ั สำเรจ็ แล้วจาก Play Store อยใู่ นระหว่างการซงิ คอ์ ีเมลและปฏิทิน อยูใ่ นระหวา่ งการอปั โหลด ดาวน์โหลดเสร็จส้ิน กำลงั backup Google+ สำรองข้อมลู Google+ เสร็จสมบูรณ์ เสยี ง ส่นั

9 เสยี งเรียกเข้าปิดอยู่ แบตเตอร่ี กำลังเล่นเพลงอยู่ ไอคอนอื่นๆ แบตเตอรช่ี าร์จเตม็ แล้ว กำลังชารจ์ แบตเตอร่ี แบตเตอรีใ่ กล้หมด การปลุกและปฏทิ ิน ตัง้ ค่าการปลุก กจิ กรรมใน ปฏิทนิ ที่กำลงั มาถึง อเี มลและการรับส่งข้อความ อเี มลใหม่ ขอ้ ความ Gmail ใหม่ ข้อความตวั อกั ษรใหม่ ขอ้ ความเสยี งใหม่ ข้อความใหมจ่ าก Hangouts การแจง้ เตือนฉกุ เฉนิ เปลีย่ นประเภทแปน้ พิมพ์ ภาพหนา้ จอ ใช้งานได้

10 Assist กำลังปรบั การตั้งคา่ โทรศพั ท์ตามกิจกรรม กำลงั ขับรถ Assist กำลังปรบั การตง้ั ค่าโทรศพั ท์ตามกิจกรรม บา้ น Assist กำลังปรบั การต้ังค่าโทรศัพท์ตามกจิ กรรม ประชุม Assist กำลงั ปรับการต้งั คา่ โทรศพั ท์ตามกจิ กรรม กำลังนอนหลับ การเริ่มต้นใชง้ านโทรศัพท์เคลือ่ นทเี่ บ้ืองตน้ Android การต้ังคา่ บญั ชี Google ครั้งแรกที่คุณเปิดอุปกรณ์ Android คุณจะถูกขอให้ป้อนรายละเอียดบัญชี Google ของคุณหรือสร้างบัญชี Google หากคุณยังไม่มี นี่เป็นทางเลือกทางเทคนิคเนื่องจากคุณสามารถใช้โทรศัพท์ Android โดยไม่ต้องมี บัญชี Google แต่เปน็ ความคิดที่ดี. Android เป็นระบบปฏิบัติการของ Google และบัญชี Google มีการเชื่อมโยงอย่างแน่นหนากับ ระบบปฏิบัติการ บัญชี Google ของคุณใช้เพื่อสำรองข้อมูลการตั้งค่าโทรศัพท์ติดตามแอปที่ติดตั้งและลิงก์ที่ รวมแอพที่มีบริการของ Google เช่น Gmail, Google ปฏิทินและ Google Contacts หากคุณเคยได้รับ โทรศัพท์ Android เครื่องใหม่หรือคืนค่าโทรศัพท์ปัจจุบันของคุณเป็นการตั้งค่าเริ่มต้นจากโรงงานบัญชี Google จะตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้สำรองข้อมูลทั้งหมดแล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงอีเมลผู้ติดต่อกิจกรรมใน ปฏิทินและข้อมูลอื่น ๆ บนเว็บ Android สามารถอัปโหลดรูปภาพของคุณไปยังอัลบั้มส่วนตัวใน Google+ โดยอตั โนมตั ดิ ังน้ันคณุ จะมีสำเนาสำรองอยเู่ สมอ. หากคุณเลือกที่จะไม่ป้อนข้อมูลประจำตัวของบัญชี Google ในขณะตั้งค่าโทรศัพท์ Android ของคุณคุณ สามารถเพิม่ บญั ชใี นภายหลังได้จากหนา้ จอการตง้ั คา่ ของ Android.

11 การใชโ้ ทรศพั ท์ของคุณเปน็ โทรศพั ท์ เช่นเดียวกับสมาร์ทโฟนอื่น ๆ โทรศัพท์ Android มีสิ่งที่เหมือนกันกับคอมพิวเตอร์มากกว่าโทรศัพท์แบบเดิม สามารถใชส้ ำหรับการท่องเว็บอเี มลและอื่น ๆ ทม่ี ีแอพสำหรับ - ต้ังแต่การสตรีมวดิ โี อและการเลน่ เกมไปจนถึง การแก้ไขรปู ภาพและการเขียนเอกสารสำนักงาน. อย่างไรก็ตามหากคุณเพิ่งมาที่ Android จากแพลตฟอร์มอื่นและต้องการใช้โทรศัพท์ Android ของคุณเป็น โทรศัพท์นี่ไม่ใช่ปญั หา คุณสามารถใช้แอพ Phone เพื่อโทรออกและแอพ Messaging เพื่อส่งและรับข้อความ ตามค่าเริ่มต้นแอพโทรศพั ท์และการสง่ ข้อความควรปรากฏในบริเวณท่าเรือทีด่ ้านล่างของหนา้ จอหลกั ของคณุ - มองหาโทรศัพทส์ นี ำ้ เงินและกรอบข้อความสเี ขียว.

12 ทำความรจู้ ักกับระบบปฏบิ ัตกิ าร เมือ่ คุณเปิดอปุ กรณ์ Android คณุ จะเห็นหน้าจอลอ็ คซงึ่ คุณสามารถกำหนดค่ารหัสรูปแบบหรือรหัสผ่านเพ่ือให้ ไมม่ ีใครสามารถใช้โทรศัพท์ของคุณโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต. ปลดล็อคโทรศัพทข์ องคุณและคุณจะเหน็ หน้าจอหลกั ของคุณ หน้าจอหลกั เป็นสถานที่ทคี่ ุณสามารถวางไอคอน สำหรับแอพโปรดและเพิม่ วดิ เจ็ต ตัวอย่างเช่นหากคุณเป็นผู้ใช้ Gmail บ่อยครั้งคุณสามารถเพิม่ วิดเจ็ต Gmail

13 เพื่อให้คุณเห็นกล่องจดหมายเข้าของคุณบนหน้าจอหลักโดยไม่ต้องเปิดแอปใด ๆ หากคุณใช้แอพอื่นบ่อยคุณ สามารถวางไอคอนไวบ้ นหนา้ จอหลักได.้ แตะปุ่มวงกลมพร้อมจุดท่ีด้านล่างของหน้าจอหลกั ของคุณเพ่ือเปิดล้ินชักแอป ลิน้ ชกั แอปจะแสดงแอพท้ังหมด ที่คุณติดต้ังบนโทรศพั ท์ Android ของคุณ ต่างจาก iPhone ของ Apple ที่หน้าจอหลักเป็นเพียงรายการแอพ ทีค่ ณุ ติดตงั้ เสมอหน้าจอหลกั และรายการแอพท่ีตดิ ตงั้ จะแยกจากกนั บน Android. จากหนา้ จอแอพคณุ สามารถปัดไปรอบ ๆ เพ่อื ดูแอพทต่ี ดิ ตง้ั และเปดิ แอปไดโ้ ดยแตะท่ีแอป หากต้องการวางแอ พบนหน้าจอหลักกดค้างไว้และลากไปที่ใดก็ได้ที่คุณต้องการ หากต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการปรับแต่ง หน้าจอหลักของคุณใหอ้ า่ นคู่มอื ของเราเพื่อปรับแต่งหน้าจอโฮมของคณุ เอง.

14 กดปุ่มที่ด้านล่างของหน้าจอเพื่อควบคุมโทรศัพท์ของคุณ มีปุ่มโฮมที่จะพาคุณกลับไปที่หน้าจอหลักทันทีและ ปุ่มย้อนกลับที่จะพาคุณกลับไปที่ใดก็ได้ใน Android - มันอาจไปที่แอพที่คุณใช้ก่อนหน้านี้หรือหน้าจอก่อน หน้าในแอปที่คุณกำลังเข้าชม ในโทรศัพท์ของคุณคุณอาจมีปุ่มมัลติทาสกิ้งสำหรับสลับระหว่างหน้าต่างที่เปิด อยู่หรือป่มุ เมนูท่ีเปิดเมนูของแอพ. เมื่อคุณทำแอพเสร็จแล้วให้แตะปุ่มโฮมเพื่อกลับไปที่หน้าจอหลักของคุณใช้ปุ่มย้อนกลับเพื่อออกจากแอพหรอื ใช้ตัวสลับแอพเพื่อสลับไปยังแอปอื่น Android จัดการแอปที่รันอยู่โดยอัตโนมัติดังนัน้ คุณไม่ต้องกังวลกับการ ปดิ แอพ. หากตอ้ งการสลบั ระหว่างแอปท่ีเปิดอยู่ให้แตะปุ่มมัลติทาสก้ิง หากคุณไม่มีปุ่มมัลติทาสกิ้งคุณอาจต้องแตะสอง ครง้ั หรือกดปุม่ โฮมคา้ งไว้นานเพือ่ เปิดแอปสลบั บนโทรศัพทข์ องคุณ ส่ิงนจ้ี ะแตกต่างกนั ไปตามโทรศพั ท์.

15 เคลด็ ลับทีส่ ำคัญเพม่ิ เตมิ ใช้การแจง้ เตือน: ในการเข้าถงึ การแจ้งเตือนในโทรศัพท์ของคุณใหด้ ึงลน้ิ ชักการแจ้งเตือนลงมาจากด้านบนของ หนา้ จอด้วยนว้ิ ของคุณ แตะการแจ้งเตอื นเพื่อโต้ตอบกบั มนั หรือปดั การแจ้งเตือนไปทางซ้ายหรือขวาเพ่ือกำจดั . การกำหนดคา่ โทรศัพท์ของคณุ : การต้ังคา่ Android สามารถเขา้ ถึงได้ในแอพการต้ังค่า ในการเปิดให้เปิดแอป drawer ของคุณและแตะที่ไอคอนการตั้งค่า นอกจากนี้คุณยังสามารถดึงลิ้นชักการแจ้งเตือนลงมาแตะที่ ไอคอนทม่ี มุ บนขวาแล้วแตะปุ่มการตั้งคา่ . กำลังตดิ ตงั้ แอพ: ในการตดิ ตั้งแอพเปิดแอพ Play Store โดยแตะทชี่ ็อตคัต Play Store หรอื แตะท่ีไอคอนถุงช็ อปปงิ้ ทีม่ ุมบนขวาของลนิ้ ชักแอปของคณุ คุณสามารถค้นหาแอพและติดต้งั แอพไดอ้ ย่างงา่ ยดายจากแอพนี้. ทำการค้นหา: ในการเริ่มต้นค้นหาอย่างรวดเร็วให้แตะวิดเจ็ตช่องค้นหาของ Google ที่ด้านบนของหน้าจอ หลัก คณุ ยงั สามารถออกคำสงั่ เสียงไปยัง Android ได้อย่างรวดเรว็ จากท่ีนี่เพื่อค้นหาและดำเนินการอน่ื ๆ โดย ไมต่ ้องพมิ พอ์ ะไรเลย.

16 แตะท่าทาง ท่าทางสัมผัสทั่วไปทำงานตามที่คุณคาดหวัง แตะบางสิ่งเพื่อเปิดใช้งานเลื่อนนิ้วไปมาบนหน้าจอเพื่อเลื่อนขึ้น และลงหรือปดั จากซา้ ยไปขวาและจากขวาไปซ้ายเพื่อยา้ ยระหว่างหน้าจอ. หากต้องการกำจดั บางสิ่งเช่นการแจ้งเตือนคณุ สามารถกวาดนิ้วไปทางซ้ายหรือขวาซ่ึงจะเป็นการย้ายออกจาก หน้าจอของคณุ เพียงแตะท่ีรายการและเล่ือนน้วิ ของคณุ ไปทางซ้ายหรือขวา. ในการเลือกบางอย่างไม่ว่าจะเป็นข้อความหรือสิ่งที่คุณต้องการเลื่อนไปมาบนหน้าจอกดแบบยาว นี่เทียบเท่า คลิกและลากบน Windows.

17 มีอะไรอกี มากมายให้เรียนร้เู กยี่ วกบั Android แต่หวงั วา่ คุณน่าจะเรมิ่ ตน้ ไดโ้ ดยไม่ทำให้คณุ หนกั ใจเกนิ ไป. Steve Ballmer ยืนยันว่าคุณต้องเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่จะใช้ Android แต่ Android นั้นใช้งาน งา่ ยกวา่ เดสกท์ อปของ Windows . ต้งั ค่า iPhone, iPad หรอื iPod touch ของคณุ ดวู ิธกี ารตัง้ คา่ iPhone, iPad หรือ iPod touch ของคณุ หากคณุ กำลงั จะเปลี่ยนไปใชอ้ ปุ กรณเ์ ครือ่ งใหม่ หากคุณต้องการถ่ายโอนข้อมูลจากอุปกรณ์เครื่องอื่นไปยัง iPhone, iPad หรือ iPod touch เครื่องใหม่ของ คุณ ให้ทำตามข้ันตอนตอ่ ไปนี้ จาก iPhone, iPad หรอื iPod touch เคร่ืองอืน่ จากอุปกรณ์ Android ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณได้สำรองขอ้ มลู อปุ กรณ์ iOS เครอื่ งเดิมแลว้ เพือ่ ให้คุณสามารถถ่ายโอนคอนเทนต์ไปยัง อปุ กรณเ์ ครอื่ งใหม่ได้

18 หากคณุ กำลังตั้งคา่ อปุ กรณ์ iOS เครอื่ งแรกของคณุ หากคุณตั้งค่าอุปกรณ์เครือ่ งใหม่ของคุณแล้ว แต่ต้องการเริ่มใหม่หมด ให้ดูวิธีลบขอ้ มูลใน iPhone, iPad หรือ iPod touch ของคุณ หรือทำตามขัน้ ตอนต่อไปน้ี เปดิ อปุ กรณ์ กดปุ่มเปดิ /ปดิ ของอุปกรณ์ค้างไว้จนกว่าจะเหน็ โลโก้ Apple จากนน้ั คุณจะเหน็ คำวา่ \"สวสั ดี\" ในหลายๆ ภาษา ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้เพื่อเริ่มต้น หากคุณตาบอดหรือมองเห็นได้ไม่ชัด คุณสามารถเปิด VoiceOver หรือซู มจากหนา้ จอสวัสดไี ด้ เม่ือเครือ่ งถาม ให้เลอื กภาษาทีจ่ ะใช้ จากน้นั แตะประเทศหรือภมู ภิ าคของคณุ สง่ิ นีจ้ ะมีผลต่อลกั ษณะการแสดง ข้อมูลบนอุปกรณ์ของคุณ ซึ่งรวมถึงวันที่ เวลา รายชื่อ และข้อมูลอื่นๆ ในขั้นนี้ คุณสามารถแตะปุ่มการช่วย การเข้าถึงสีน้ำเงินเพื่อตัง้ ค่าตวั เลือกการช่วยการเข้าถึงซ่ึงทำให้คุณตั้งค่าและใช้อุปกรณ์ได้มปี ระสทิ ธภิ าพมาก ขึ้น ดขู ้อมลู ช่วยเหลอื หากอปุ กรณข์ องคณุ เปิดไม่ตดิ หรือหากเครื่องถูกปดิ ใช้งานไว้หรอื เรียกขอรหสั หากคณุ มีอปุ กรณเ์ คร่ืองอ่ืนท่ีใช้ iOS 11 หรือใหม่กวา่ ให้ใช้เริ่มต้นอยา่ งรวดเร็ว หากคณุ มีอุปกรณเ์ คร่ืองอืน่ ทใ่ี ช้ iOS 11 หรอื ใหมก่ ว่า คุณสามารถใชอ้ ุปกรณ์เครื่องนน้ั เพ่ือตง้ั ค่าอุปกรณ์เคร่ือง ใหม่ของคุณโดยอัตโนมัติด้วยเริ่มต้นอย่างรวดเร็ว นำอุปกรณ์ทั้งสองเครื่องมาวางไว้ใกล้กัน จากนั้น ทำตาม คำแนะนำ หากคณุ ไมม่ ีอปุ กรณเ์ คร่อื งอื่นท่ีใช้ iOS 11 หรอื ใหม่กว่า ใหแ้ ตะ \"ตง้ั ค่าดว้ ยตนเอง\" เพอื่ ดำเนนิ การต่อ

19 เปิดใช้งานอุปกรณ์ของคุณ คุณต้องเชื่อมต่อกับเครือข่าย Wi-Fi เครือข่ายเซลลูลาร์ หรือ iTunes เพื่อเปิดใช้งานและดำเนินการตั้งค่า อปุ กรณ์ของคุณต่อไป แตะเครือข่าย Wi-Fi ที่คุณต้องการใช้หรือเลือกตัวเลือกอื่น หากคุณกำลังตั้งค่า iPhone หรือ iPad (Wi-Fi + Cellular) คุณอาจต้องใส่ซิมการ์ดของคุณก่อน ดูขอ้ มลู ช่วยเหลอื หากคณุ ไม่สามารถเชือ่ มตอ่ Wi-Fi ได้ หรือหากคุณไมส่ ามารถเปดิ ใช้งาน iPhone ของคุณได้

20 ตัง้ ค่า Face ID หรือ Touch ID และสร้างรหัส บนอุปกรณ์บางเครื่อง คุณสามารถตั้งค่า Face ID หรือ Touch ID ได้ เมื่อใช้คุณสมบัตเิ หล่านี้ คุณจะสามารถ ใช้การจดจำใบหน้าหรือลายนิ้วมือของคุณเพื่อปลดล็อคอุปกรณ์และทำการซื้อได้ แตะดำเนินการต่อแล้วทำ ตามคำแนะนำ หรือแตะ \"ตง้ั ค่าภายหลงั จากการตงั้ คา่ \" จากนั้น ให้ตั้งค่ารหัสหกหลักเพื่อช่วยปกป้องข้อมูลของคุณ คุณต้องใช้รหัสเพื่อใช้คุณสมบัติต่างๆ อย่างเช่น Face ID, Touch ID และ Apple Pay หากคุณต้องการใช้รหัสสี่หลัก รหัสแบบกำหนดเอง หรือไม่ใช้รหัส ให้ แตะ \"ตวั เลือกรหสั \"

21 กูค้ นื หรือถ่ายโอนขอ้ มูลตา่ งๆ ของคุณ หากคุณมีข้อมูลสำรอง iCloud หรือ iTunes หรืออุปกรณ์ Android คุณสามารถกู้คืนหรือถ่ายโอนข้อมูลจาก อปุ กรณเ์ คร่อื งเกา่ ไปยังอุปกรณเ์ ครื่องใหม่ของคณุ ได้ หากคณุ ไม่มีข้อมลู สำรองหรอื อปุ กรณเ์ ครอื่ งอื่น ให้เลือกไม่โอนแอพและข้อมูล ลงช่ือเข้าใชด้ ้วย Apple ID ของคุณ

22 ป้อน Apple ID และรหัสผ่านของคุณ หรือแตะ \"ลืมรหัสผ่านหรือยังไม่มี Apple ID ใช่ไหม\" จากตรงจุดน้ัน คุณสามารถกคู้ นื Apple ID หรอื รหสั ผา่ นของคณุ สร้าง Apple ID หรอื ตงั้ คา่ ในภายหลังได้ หากคณุ ใช้ Apple ID มากกว่าหนงึ่ บัญชี ให้แตะ \"ใช้ Apple ID ทแี่ ตกตา่ งกันสำหรบั iCloud และ iTunes หรอื ไม่\" เม่อื คณุ ลงช่อื เขา้ ใช้ด้วย Apple ID ระบบอาจขอรหสั การตรวจสอบยืนยันจากอปุ กรณเ์ คร่ืองเกา่ ของคณุ เปิดรายการอพั เดทอตั โนมัติและต้ังค่าคุณสมบตั ิอ่นื ๆ ในหน้าจอถัดไป คุณสามารถตัดสินใจได้ว่าจะแชร์ข้อมูลกับนักพัฒนาแอพและอนุญาตให้ iOS อัพเดทโดย อตั โนมัติหรอื ไม่

23 ต้ังคา่ Siri และอปุ กรณ์เครอื่ งอนื่ ตอ่ จากนั้น ระบบจะขอให้คุณต้งั คา่ หรือเปดิ ใชบ้ รกิ ารและคุณสมบตั ิต่างๆ อย่างเชน่ Siri สำหรับอปุ กรณบ์ างรุ่น ระบบจะขอใหค้ ณุ พูดวลีบางวลเี พอ่ื ให้ Siri รูจ้ กั เสยี งของคุณ หากคุณได้ลงชื่อเข้าใช้ด้วย Apple ID ของคุณแล้ว ให้ทำตามขั้นตอนต่างๆ เพื่อตั้งค่า Apple Pay และพวง กุญแจ iCloud ตั้งคา่ เวลาหน้าจอและตวั เลอื กจอแสดงผลเพิ่มเติม

24 เวลาหน้าจอจะชว่ ยใหค้ ุณทราบขอ้ มูลอย่างละเอียดวา่ คุณและลกู ๆ ของคุณใช้เวลาเทา่ ไรบนอปุ กรณ์ คุณสมบตั ิ นี้ยังช่วยให้คณุ สามารถจำกดั เวลาการใช้แอพในแต่ละวนั ได้อีกด้วย หลังจากคุณตั้งค่าเวลาหน้าจอแล้ว คุณจะ สามารถเปิด True Tone ได้หากอุปกรณ์ของคุณรองรับ และใช้การซูมหน้าจอเพื่อปรับขนาดของไอคอนและ ข้อความบนหนา้ จอโฮมของคุณได้ หากคุณมี iPhone X หรือใหม่กว่า ให้ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้คำสั่งนิ้วเพื่อไปยังส่วนต่างๆ ของ อุปกรณ์ หากคุณมี iPhone 7, iPhone 7 Plus, iPhone 8 หรือ iPhone 8 Plus คุณสามารถปรับการกด สำหรบั ป่มุ โฮมของคุณได้ ทำตอ่ จนเสร็จ แตะ \"เริ่มต้นกัน\" เพื่อเริ่มใช้อุปกรณ์ของคุณ ทำสำเนาข้อมูลเพื่อความปลอดภัยโดยการสำรองข้อมูล และดู เกีย่ วกบั คณุ สมบัติอนื่ ๆ ในคมู่ ือผใู้ ช้สำหรับ iPhone, iPad หรอื iPod touch หากคณุ เพ่ิงเริ่มใช้ iPhone ให้ดูข้อมลู เพิ่มเตมิ เกยี่ วกบั วธิ ีการเร่มิ ต้นใช้งานและการใช้ iPhone การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้ผลิตโดย Apple หรือเว็บไซต์อิสระที่ Apple ไม่ได้ควบคุมหรือทดสอบ ไมถ่ อื เป็นการแนะนำหรือการรับรองใดๆ Apple จะไม่รับผิดชอบในสว่ นทเี่ กยี่ วข้องกับการเลือก ประสิทธิภาพ การทำงาน หรือการใช้งานเว็บไซต์หรือผลิตภัณฑ์ของบริษัทอื่น Apple ไม่รับรองความถูกต้องหรือความ นา่ เชอ่ื ถือของเวบ็ ไซต์ของบรษิ ทั อนื่ โปรดติดต่อผู้จำหน่ายหากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม

25 การโทร โทรออกและรบั สายโทรศพั ท์ คณุ โทรออกจากแอปโทรศพั ทแ์ ละแอปหรือวิดเจ็ตอืน่ ๆ ท่แี สดงรายชื่อติดต่อได้ เมื่อใดก็ตามที่เห็นหมายเลขโทรศัพท์ โดยปกติแล้วคุณจะแตะหมายเลขนั้นเพื่อโทรออกได้ หรืออาจจะแตะ หมายเลขโทรศพั ทท์ ่ีขดี เส้นใต้ไว้ใน Google Chrome เพื่อคดั ลอกหมายเลขไปยังแป้นหมายเลขก็ได้ หากไมม่ แี อปโทรศัพท์ ให้ดาวนโ์ หลดจาก Play Store หากดาวน์โหลดแอปโทรศพั ทไ์ มไ่ ด้ แสดงวา่ อุปกรณข์ องคณุ ไมร่ องรับแอปนี้ เม่ือดาวน์โหลดแอปแลว้ ใหท้ าํ ตามข้อความท่ปี รากฏเพ่ือกําหนดให้แอปนเ้ี ปน็ แอปโทรศพั ทเ์ ร่มิ ตน้ หมายเหตุ: ขั้นตอนบางอยา่ งใชไ้ ดเ้ ฉพาะกบั Android 7.0 ขนึ้ ไปเท่าน้นั ดวู ิธตี รวจสอบเวอร์ชนั Android โทรออก สำคัญ: หากตอ้ งการใช้แอปโทรศัพท์ คุณต้องยอมรบั ขอ้ ความทแี่ จ้งใหต้ ัง้ ค่าแอปเป็นค่าเร่ิมต้น เปดิ แอปโทรศัพทใ์ นโทรศพั ท์ เลอื กบุคคลทจี่ ะโทรหา ดังน้ี แตะ \"แปน้ หมายเลข\" เพ่ือป้อนหมายเลข แตะ \"รายชื่อติดต่อ\" เพื่อเลือกรายชื่อติดต่อที่บันทึกไว้ เราอาจแสดงรายชื่อติดต่อที่แนะนำให้คุณตาม ประวัตกิ ารโทร แตะ \"ลา่ สดุ \" เพ่อื เลือกจากหมายเลขทโี่ ทรออกลา่ สดุ แตะ \"รายการโปรด\" เพ่อื เลือกจากรายชื่อติดตอ่ ท่บี นั ทึกไวใ้ นรายการโปรด แตะโทร แตะ \"วางสาย\" เมือ่ สนทนาเสรจ็ แล้ว หากหน้าต่างการโทรย่อขนาดลง ให้ลากไอคอนการโทรไปที่ด้านขวา ลา่ งของหน้าจอ

26 เคล็ดลับ: สำหรับผู้ให้บริการบางรายและอุปกรณ์บางรุ่น คุณจะโทรวิดีโอคอลหรือโทรด้วย RTT ได้ด้วย ดูวิธี โทรวดิ ีโอคอลหรือโทรด้วย RTT รับสายหรอื ปฏเิ สธสายเรียกเข้า เมอ่ื รับสาย คุณจะเห็นหมายเลขผ้โู ทร รายชื่อติดต่อ หรอื ขอ้ มูลหมายเลขผู้โทรหากมขี ้อมูลดังกลา่ ว เมื่อตอ้ งการรับสาย ให้เลอื่ นวงกลมสขี าวไปทดี่ า้ นบนของหน้าจอขณะท่โี ทรศัพทล์ ็อกอยู่ หรือแตะรบั สาย เมื่อต้องการปฏิเสธสาย ให้เลื่อนวงกลมสีขาวไปที่ด้านล่างของหน้าจอขณะที่โทรศัพท์ล็อกอยู่ หรือแตะปิด ผู้ โทรทถี่ ูกปฏเิ สธสายจะฝากขอ้ ความไว้ได้ เมอื่ ต้องการปฏเิ สธสายและส่งขอ้ ความถงึ ผู้โทร ให้เล่อื นขึน้ จากไอคอน \"ขอ้ ความ\" เคลด็ ลับ: การรับสายเรยี กเขา้ ขณะสนทนาอยู่กบั อีกสายหนึ่งจะเปน็ การพกั สายทส่ี นทนาอยู่ ใช้ตัวเลอื กการโทรศัพท์ ขณะสนทนาอยู่ จะมีตัวเลอื กดังนี้ เมอ่ื ตอ้ งการใช้ปุ่มกด ให้แตะ \"แปน้ หมายเลข\" เมื่อตอ้ งการสลับระหว่างหูฟังโทรศัพท์ ลำโพงโทรศพั ท์ หรือชดุ หฟู งั บลูทูธท่เี ชื่อมตอ่ อยู่ ใหแ้ ตะ \"ลำโพง\" เมอ่ื ต้องการปดิ หรือเปิดเสียงไมโครโฟน ให้แตะ \"ปดิ เสียง\" เมอ่ื ต้องการหยดุ การสนทนาไว้ชว่ั คราวโดยไม่วางสาย ให้แตะ \"พกั สาย\" แตะ \"พักสาย\" อกี ครั้งเพ่ือสนทนา ตอ่ เมื่อต้องการสลับระหว่างสายทส่ี นทนาอยู่ ให้แตะ \"สลบั \" สายทีเ่ หลอื จะพักไว้ เมื่อตอ้ งการรวมสายทีส่ นทนาอยู่ทงั้ หมดเปน็ การประชมุ สาย ใหแ้ ตะ \"รวมสาย\" เมื่อตอ้ งการย่อหนา้ ตา่ งการโทร ให้ไปทห่ี นา้ จอหลัก ดูวิธไี ปยังสว่ นต่างๆ ของโทรศัพท์ เมื่อตอ้ งการยา้ ยตำแหนง่ ของบับเบิลการโทร ใหล้ ากบับเบลิ เมอ่ื ตอ้ งการซอ่ นบับเบิลการโทร ให้ลากบบั เบลิ ลงเพ่อื \"ซอ่ น\" ไว้ท่ดี ้านลา่ งของหนา้ จอ สำหรับผู้ใหบ้ ริการบางรายและอปุ กรณ์บางรนุ่ คณุ จะสลบั ไปโทรวดิ โี อคอลไดด้ ้วย โดยแตะท่ี \"วิดโี อคอล\"

27 การปอ้ นขอ้ มูล ป้อนและแก้ไขข้อความ ใชแ้ ป้นพิมพ์บนหนา้ จอเพื่อปอ้ นขอ้ ความ ภาพด้านลา่ งคอื หน้าจอบนหนา้ โทรศพั ท์ Nexus 1.แตะคำแนะนำเพ่ือพิมพ์ 2.แตะค้างไว้เพ่ือ พมิ พ์ตัวอักษรนี้ 3.แตะคา้ งไว้เพ่ือดู การตงั้ คา่ การป้อน ข้อมูลและแป้นพมิ พ์ 4.แตะคา้ งไว เ้ พ่ือ แสดงตัวเลือกเพ่มิ เติม ซึ่งรวมถึงอีโมจ 12 43 แปน้ พมิ พบ์ นแทบ็ เล็ตจะทำงานในลักษณะท่ีคล้ายกัน หากต อ้ งการให ้แปน้ พิมพ์หายไป ใหแ้ ตะปุ่ม \"กลบั \" ด้านล่าง บางแอปจะเปิดแป้นพมิ พใ์ ห โ้ ดยอัตโนมัติ ในขณะท่แี อปอื่นๆ คณุ จะต ้องแตะ ตำแหน่งที่คุณต ้องการพมิ พ์ก่อน การแก้ไขพ้ืนฐาน • ย้ายจุดแทรก แตะตำแหน่งที่คุณต ้องการพมิ พ์

28 เคอรเ์ ซอรจ์ ะกะพริบในตำแหน่งใหม่ และแทบ็ สีนำ้ เงินจะปรากฏขน้ึ ข้างใต ้ ลากแท็บเพื่อย้ายเคอร์เซอร์ • เลือกข้อความ แตะค้างไว ้หรือแตะ 2 ครัง้ ในข้อความ คำท่ใี กล ้ที่สุดจะไฮไลต์ขึน้ โดยมแี ทบ็ ท่ีปลายแต่ละด้านของข้อความที่ เลอื ก ลากแท็บเพื่อเปล่ียนการเลือกข้อความ แทบ็ จะหายไปหลังจากผ่านไปสกครู่ หากต ้องการให ้แท็บปรากฏขนึ้ ใหม่ ั ใหแ้ ตะข้อความนนั้ อีกครั้ง • ลบขอ้ ความ แตะ เพ่อื ลบข้อความทเี่ ลอื กหรืออกั ขระทอี่ ยู่ก่อน เคอร์เซอร์ • พิมพ์อกั ษรตัวพิมพ์ใหญ่ แตะปมุ่ Shift หนึ่งคร้ังเพ่ือสลบั เป็นอักษรตัว พิมพ์ใหญห่ นง่ึ ตวั อักษร หรือแตะ แป้น Shift ค้างไว ้ขณะท่ีพิมพ์ เม่ือคุณปล่อยแปน้ น้ี อกั ษร ตัวพิมพ์เล็กจะปรากฏขึ้นอีกคร้ัง • เปิด Caps Lock แตะ 2 ครั้งหรือ แตะ แปน้ Shift ค้างไว ้เพื่อให ้ เปล่ียนเปน็ แตะ แปน้ Shift อกี คร้ังเพ่ือเปลีย่ นกลับเป็นอักษรตัว พมิ พ์เล็ก • ตดั คัดลอก วาง เลือกข้อความทค่ี ุณต อ้ งการจะดำเนนิ การ จากน้นั แตะ ไอคอน ตัดหรือ คดั ลอก หากมีบางสงในคลิปบอรด์ ทจ่ี ะวาง คุณจะเห็นปุ่ม วางด้วยดงั น

29 การป้อนขอ้ มลู ด้วยท่าทาง การปอ้ นขอ้ มูลดว้ ยทา่ ทางใชได้ดีที่สดุ กบั ภาษาองั กฤษ คุณภาพจะแตกต่าง ้ กนั ไปสำหรบั ภาษาอ่ืนๆ และอปุ กรณ์บางอย่างยงั ไมร่ องรับการป้อนขอ้ มลู ด้วยท่าทาง ในการปอ้ นคำโดยใชการป้อนขอ้ มูลด้วยทา่ ทาง ให้ทำดังน้ี 1. แตะตำแหน่งทคี่ ุณต้องการพิมพ์เพื่อเปิดแป้นพมิ พ์ 2. เลอ่ื นนิ้วชาๆ ผ่านตัวอักษรของคำทค่ี ุณต้องการป้อน 3. ปลอ่ ยนวิ้ เมอ่ื คำท่คี ุณต้องการปรากฏในหน้าตวั อย่างแบบลอย หรอื อยู่ ตรงกลางแถบคำแนะนำ หากต้องการเลอื กคำอืน่ ในแถบคำแนะนำ ให้ แตะคำ ๆ น้นั หากคำที่ต ้องการไม่แสดงขณะทใี่ ชการป้อนข้อมูลดว้ ยท่าทาง คณุ สามารถ พมิ พ์ดว้ ยตนเองได้หากคณุ ทำท่าทางสำหรับคำหนง่ึ ๆ และต อ้ งการ เปลยี่ นแปลงคำดงั กลา่ ว ให้แตะคำเพ่ือดูตวั เลือกอ่นื ๆ ในแถบคำแนะนำ พมิ พ์ดว้ ยการพูด คณุ สามารถพูดเพ่ือป้อนขอ้ ความในเกือบทุกทที่ ่ีคณุ สามารถปอ้ นข้อความ ด้วยแป้นพมิ พ์บนหนา้ จอ

30 1. แตะชองข้อความ หรอื ตำแหนง่ ในข้อความท่ีคุณไดป้ ้อนลงในชอง่ ขอ้ ความแลว้ 2. แตะ แป้นไมโครโฟนบนแป้นพิมพบ์ นหนา้ จอ 3. เม่อื คณุ เหน็ รูปไมโครโฟน ให้พูดสงทคี่ ุณต้องการพมิ พ่์ เฉพาะภาษาองั กฤษ คุณยังสามารถพูดว่า “จุลภาค” “มหัพภาค” “เครื่องหมายคำถาม” “เครื่องหมายตกใจ” หรอื “อศั เจรยี ์” เพื่อป้อน เคร่อื งหมายวรรคตอน เมือ่ คุณหยุดพูด บริการจดจำเสยี งจะถอดเสียงส่งี ท่ีคณุ พูดไปและป้อนลงใน ชอ้ งขอ้ ความโดยขีดเส้นใต้ไว้ คณุ สามารถแตะแป้นลบ เพ่ือลบข้อความทีข่ ดี เส้นใตไ้ ด้หากคณุ เริ่มพิมพห์ รือปอ้ นข้อความเพม่ิ ดว้ ยการพูด เสน้ นใต้ จะหาย ไป เพอื่ ปรับปรุงการประมวลผลการปอ้ นข้อมลู ดว้ ยเสยงของคุณ Google อาจ บนั ทึกเสียงของพื้นหลังโดยรอบเป็นเวลาสองถึงสามวินาทีลงในหนว่ ยความ จำช่ัวคราวได้ ตลอดเวลา การบันทกึ น้ีจะอยใู่ นอปุ กรณ์แคช่ ่ัวขณะเดยี วเท่านั้น และไม่มกี ารสงไปยัง Google

31 อา้ งอิง (การทำงานโทรศัพท์เคล่ือนท)ี่ Siamhealth 4/3/2564 (ไอคอน, ม.ป.ป.) Motor X 4/3/2564 (โทรออกละรับสายโทรศพั ท์, ม.ป.ป.) Motor X 4/3/2564 (ตงั ้ ค่า iPhone, ม.ป.ป.) Apple 4/3/2564 (Android, ม.ป.ป.) โฮมเพจ 4/3/2564 (การป้อนข้อมลู , ม.ป.ป.) Motor X 4/3/2564

32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook