Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นางในสิม รูปแบบการแต่งกายผู้หญิงในฮูปแต้มสิมอีสาน

นางในสิม รูปแบบการแต่งกายผู้หญิงในฮูปแต้มสิมอีสาน

Published by kanikl, 2020-09-13 23:05:40

Description: บทความ นางในสิม รูปแบบการแต่งกายผู้หญิงในฮูปแต้มสิมอีสาน

Keywords: ฮูปแต้ม,การแต่งกาย

Search

Read the Text Version

นางในสิม รปู แบบการแต่งกายผหู้ ญิงในฮปู แต้มสิมอีสาน MALEENY PHINITH สาขาวิชา วฒั นธรรม ศิลปกรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตรม์ หาวิทยาลยั ขอนแก่น รศ.ดร.นิยม วงคพ์ งษค์ า บทคดั ยอ่ การศกึ ษาในหวั ขอ้ “นางในสมิ รปู แบบการแต่งกายผูห้ ญงิ ในฮูปแต้มสมิ อสี าน” มวี ตั ถุประสงค์คอื เพ่อื ศกึ ษา รปู แบบการแต่งกายของผูห้ ญิงทป่ี รากฏในสมิ อีสานใน 7 วดั คอื วดั สนวนวารีพฒั นาราม วดั บ้านลาน(วดั มชั ฌิม วิทยาราม) วดั สระบวั แก้ว วดั ตะคุ วดั ดงบงั (วดั โพราราม) วดั หนองพอก(วดั ป่ าเลไลย์) วดั บ้านประตูชยั วธิ ี การศกึ ษาดว้ ยการสงั เกตุและวเิ คราะหจ์ ากเอกสารทางประวตั ศิ าสตร์ วเิ คราะห์รูปแบบกายแต่งกายทป่ี รากฏตามผนัง ของวดั ดว้ ยการศกึ ษา ส่วนประกอบทบ่ี ่งบอกถงึ รปู แบบการแต่งกายมี ทรงผม เสอ้ื ผา้ เคร่อื งประดบั จากการศกึ ษาทา ใหร้ ถู้ งึ รปู แบบการแต่งกายของนางในสมิ ในแต่ละฐานะทางสงั คมทแ่ี บ่งออกเป็น 4 กลุ่มคอื การแต่งกายของสามนั ชน หรอื ชาวบ้าน การแตง่ กายของกลุ่ม พ่อคา้ แม่คา้ ขุนนาง นางสนม การแต่งกายของเชอ้ื พระวงค์ พระมหากษตั รยิ ์ และ การแตง่ กายของกลุ่มเทพเทวดา หรอื นางฟ้า โดยรปู แบบของทรงผมทงั หมดเป็นผมสนั้ ทเ่ี รยี กวา่ ทรงผมปีก(พวงผกา คุ โรวาด,2535) เสอ้ื ผ้าท่ใี ส่ส่วนมาก จะนุ่งซิ่น ห่มผ้าเบ่ยี ง ส่วนเคร่อื งประดบั ทส่ี วมใส่จะเป็นสง่ิ ทบ่ี ่งบอกความแตกต่าง ฐานะทางสงั คมของแต่ละกลุ่ม การแต่งกาย หมายถงึ สง่ิ ทส่ี วมใส่และตกแตง่ รา่ งกายประกอบดว้ ย ทรงผม เสอ้ื ผา้ และเครอ่ื งประดบั รปู แบบ หมายถงึ ลกั ษณะทางกายภาพ รปู แต่งกายทป่ี รากฏในฮปู แตม้ สมิ อสี าน นางในสิม หมายถงึ กายแต่งกายของผหู้ ญงิ ทป่ี รากฏฮปู แตม้ สมิ อสี านทป่ี ระกอบดว้ ย 4 กล่มุ การแต่งกายของ สามนั ชนหรอื ชาวบา้ น การแตง่ กายของกลุม่ พอ่ คา้ แมค่ า้ ขนุ นาง นางสนม การแตง่ กายของเชอ้ื พระวงค์ พระมหากษตั รยิ ์ และการแตง่ กายของกลมุ่ เทพเทวดา หรอื นางฟ้า บทนา ภาคตะวนั ออกเสยี งเหนือหรอื ภาคอสี านของประเทศไทยประกอบดว้ ย 20 จงั หวดั เป็นภาคทม่ี พี น้ื ทใ่ี หญ่ทส่ี ุด และมจี านวนประชากรมากทส่ี ุดของประเทศไทย และมปี ระวตั ศิ าตร์ความเป็นมาอย่างยาวนานตงั้ แต่สมยั อานาจกั ลา้ น ช้างจนมาถึงการตกเป็นประเทศราชของสยามและถูกรวมเขา้ เป็นอาณาจกั รไทย ในปี พ.ศ 2322 (สุวทิ ย์ ธรี ศาศวตั , 2557) อสี านเป็นพ่นื ท่ี ท่มี วี ฒั นธรรมประเพณีท่สี บื ทอดกันมาแต่สมยั โบราญ โดยเฉพาะจะมีวดั ท่เี ป็นศูนย์รวมแห่ง วฒั นธรรมโดยสงิ่ สาคญั ในวดั นนั้ ก็ คอื โบสถ์แบบพน้ื บ้าน ทช่ี าวบา้ นเรยี กว่า สมิ (ไพโรจน์ สโมสร, 2532) จติ รกรรมฝา ผนังเป็นงานศลิ ปะท่ปี รากฏอย่ทู วั่ ทุกภาคของประเทศไทย ภาคอสี านกเ็ ป็นภูมภิ าคหน่งึ ท่ปี รากฏมจี ติ รกรรมฝาผนังอยู่ ตามถ้าและหน้าผาต่างๆเช่น ผาแต้ม อาเภอโขงเจยี ม จงั หวดั อุบลราชธานี จติ รกรรมฝาผนัง เหล่าน้ีไดร้ บั การยอมรบั และยกยอ่ งว่ามคี ณุ คา่ ทางดา้ นศลิ ปะมวี ธิ กี ารส่อื สารทเ่ี ป็นเอกลกั ษณ์ของทอ้ งถน่ิ ในการส่อื ความหมายถงึ ความเช่อื ของ สงั คมและวฒั นธรรม(บุรนิ ทร์ เปล่งดสี กุล,2554) จติ รกรรมฝาผนังหรอื ฮปู แต้มฝาผนัง ในสมิ อสี าน มกี ารเขยี นฮูปแต้มทงั้ ผนังดา้ นในและดา้ นนอก บางแห่งมี ทงั สองดา้ นส่วนเร่อื งราวของฮูปแต้ม ส่วนมากจะเป็นเร่อื งพุทธประวตั ิ พระเวสสนั ดร ภาพพระบฏ อดตี พระพุทธเจา้ พระมาลยั นิทานพ้นื บ้านต่างๆ เช่น สงั สนิ ไช พระลกั พระลาม และมีวิถีชีวติ ชาวบ้านแทรกอยู่ในภาพ รูปบุคคลใน เร่อื งราวตา่ งๆ มกั จะคลา้ ยกนั ถ้าเป็นบุคคลชนั้ สงู เช่นพระพุทธเจา้ กษตั รยิ ์ เทวดา จะเขยี นแบบประณีต มเี คร่อื งทรง บอกฐานะ มลี วดลายเลก็ น้อยต่างจากการวาดของช่างหลวงทม่ี กั จะใชแ้ ม่แบบลายไทบประกอบอบ่างหรหู ราวจิ ติ ร รูป สนม ขุนนาง ชาวบา้ น ส่วนใหญ่จะแต่งกายเลยี นแบบของจรงิ ในฮูปแต้มในวดั ช่างแต้มมกั วาดกลุ่มของผูส้ าวแต่งตวั

2 สวย นุ่งซน่ิ สวมเสอ้ื บางคนเบย่ี งผา้ กางร่ม ชา่ งจะวาดอยา่ งประณตี บรรจงและตงั้ ใจใสสสี นั สวยงามเหมอื นเป็นนางเอก ของฝาผนงั (สมุ าลี เอกชนนยิ ม,2548) รปู แบบการแต่งกายของผหู้ ญงิ ในรปู แตม้ เป็นส่วนหน่งึ ในการบ่งบอกถงึ วฒั นธรรม วถิ ชี วี ติ ประเพณี และความ สวยงามเป็นสง่ิ ท่บี ่งบอกถึงความเป็นตวั ตนหรอื อตั ลกั ษณ์ของท้องถน่ิ อีสาน ท่สี บื ทอดกนั มาแต่งโบราญ ช่งึ จะ เป็น ประโยชน์ในการศกึ ษาทางดา้ นรูปแบบ และประวตั ขิ องการแต่งกาย อกี ทงั้ ยงั เป้นความรแู้ ก่ผสู้ นใจและต้องการศกึ ษา ดา้ นการแต่งกายอกี ดว้ ย เนื้อหา การศกึ ษารปู แบบการแต่งกาย นางในสมิ ไดศ้ กึ ษาทงั้ หมด 7 วดั คอื วดั สนวนวารี วดั บา้ นลาน(วดั มชั ฌมิ วทิ ยา ราม) วดั สระบวั แกว้ วดั ตะคุ วดั ดงบงั (วดั โพราราม) วดั หนองพอก(วดั ป่าเลไลย)์ วดั บา้ นประตูชยั โดยศกึ ษา รปู แบบท่ี ประกอบดว้ ย ทรงผม เสอ้ื ผา้ และเครอ่ื งประดบั ทป่ี รากฏ ในรปู แตม้ ในฝาผนังของสมิ โดบผลการศกึ ษามดี งั่ น้ี 1. วดั สนวนวารพี ฒั นาราม สรา้ งขน้ึ ใน พ.ศ 2475 ตาบนหวั หนอง อาเภอบา้ นไผ่ จงั หวดั ขอนแก่น จากฮปู แตม้ ทป่ี รากฏบนฝาผนัง ในสมิ พบวา่ กล่มุ ภาพเขยี นทเ่ี ป็นชาวบา้ นจะมที รงผมปีก ใส่ผา้ ซน่ิ ไมใ่ สเ่ สอ้ื ห่มผา้ เบย่ี งไมใ่ ส่เครอ่ื งประดบั กลุ่มขนุ นาง พอ่ คา้ แมค่ า้ จะเป็นทรงผมปีก ผา้ เบย่ี งหรอื ผา้ รดั อก ใสซ่ น่ิ เคร่อื งปะดบั มตี า่ งหู สรอ้ ยขอ้ มอื สรอ้ ยคอ ส่วนกลุ่มเทพ เทวดาจะใสเ่ คร่อื งทรงเตม็ ยค เครอ่ื งประดบั ศรี ษะทรงสงู ใสผา้ ซน่ิ แตไ่ มม่ กี ารห่มผา้ เบย่ี ง ภาพที 1 แสดงการแตง่ กาย รปู แบบตา่ งๆของผหู้ ญงิ ในฮปู แตม้ วดั สนวนวารพี ฒั นาราม 2. วดั บา้ นลาน(วดั มชั ฌมิ วทิ ยาราม) สรา้ งขน้ึ ใน พ.ศ 2470 ตาบนบา้ นลาน อาเภอบา้ นไผ่ จงั หวดั ขอนแก่น จากภาพทพ่ี บเหน็ หญงิ ชาวบา้ น ไวผ้ มปีกใส่ซนิ่ มหี วั มตี นี ห่มผา้ เบย่ี งส่วนมากจะไม่ใส่เสอ้ื กลมุ่ ทเ่ี ป็นพ่อคา้ แมค่ า้ ขนุ นางหรอื นางสนม ไวผ้ มปีกมี เคร่อื งประดบั ใสเสอ้ื และห่มผา้ เบย่ี ง กลมุ่ ทเ่ี ป็นเชอ้ื พระวงค์ พระมหากษตั รยิ ์ มเี คร่อื งประดบั ศรี ษะ แตง่ ยงั ใส่เสอ้ื ผม่ ผา้ เบย่ี ง สว่ นกลุ่มเทพเทวดาจะใสเ่ ครอ่ื งทรงเตม็ ยค เคร่อื งประดบั ศรี ษะทรงสงู ใสผา้ ซน่ิ แต่ไมม่ กี ารหม่ ผา้ เบย่ี ง

3 ภาพที 2 แสดงการแตง่ กาย รปู แบบต่างๆของผหู้ ญงิ ในฮปู แตม้ วดั บา้ นลาน(วดั มชั ฌมิ วทิ ยาราม) 3. วดั สระบวั แกว้ สรา้ งขน้ึ ใน พ.ศ 2474 บา้ นวงั คณู ตาบลหนองเมก็ อาเภอ หนองสองหอ้ ง จงั หวดั ขอนแกน่ จากภาพทพ่ี บ เหน็ หญงิ ชาวบา้ นไวผ้ มปีกใสซ่ นิ่ ห่มผา้ เบย่ี งไม่ใส่เสอ้ื ในกลุม่ พอ่ คา้ แม่คา้ ขนุ นางนางสนม มกี ารนุ่งจรงกระเบน ใส่เสอ้ื แขนกดุ เสอ้ื แขนยาว มกี ารถอื กระเป๋ า ถอื รม่ ใสเครอ่ื งประดบั ในกลุ่มเชอ้ื พระวงค์ พระมหากษตั รยิ ์ มเี ครอ่ื งประดบั ศรี ษะรปู แบบของผา้ ซน่ิ มหี ลากหลาย กลุม่ เทพเทวดาจะใส่เครอ่ื งทรงเตม็ ยค เครอ่ื งประดบั ศรี ษะทรงสงู ใสผา้ ซน่ิ แตไ่ มม่ ี การห่มผา้ เบย่ี ง การแตง่ กายในฮปู แตม้ ในสมิ วดั น้มี หี ลายรปู แบบทแ่ี ตกต่างทเ่ี หน็ ไดช้ ดั คอื ไดร้ บั อธิ พิ ลจากชาวต่างชาติ เขา้ มาในวฒั นธรรมการแตง่ กาย

4 ภาพที 3 แสดงการแต่งกาย รปู แบบต่างๆของผหู้ ญงิ ในฮปู แตม้ วดั สระบวั แกว้ 4. วดั หน้าพระธาตุ วดั ตะคุ สรา้ งขน้ึ ใน พ.ศ 2330 ตาบลตะคุ อาเภอปักธงชยั จงั หวดั นครราชสมี า การแต่งกายของชาวบ้านหรอื สา มนั ชนไวผ้ มสนั้ ทรงปีกใส่ซนิ่ ห่มผา้ เบย่ี งไม่พบการใส่เครอ่ื งประดบั ในกลุ่มพ่อคา้ แม่คา้ ขนุ นางนางสนมทรงผมมผี มปีก และเกล้าผมใส่เส่อื หรอื ไม่ใส่ห่มผ้าเบย่ี งใส่ซนิ่ พบมกี ารใสกางเกงหรอื จรงกระเบน มเี คร่อื งประดบั ในกลุ่มเช้อื พระวงค์ พระมหากษตั รยิ ์ มที รงผมเกลา้ หรอื ผมยาวปะบา่ ใส่เคร่อื งประดบั ศรี ษะเคร่อื งตกแต่งรา่ งกาย รปู แบบของผา้ ซน่ิ และผา้ เบย่ื งมลี วดลายประดบั เป็นลายผา้ อนิ เดยทง่ี ดงาม (เสมอ อนุรตั น์วชิ ยั กลุ , 2536) กลมุ่ เทพเทวดานางฟ้า จะใส่เครอ่ื งทรง เตม็ ยค เครอ่ื งประดบั ศรี ษะทรงสงู ใส่ซน่ิ ทม่ี ลี วดลาย

5 ภาพที 4 แสดงการแต่งกาย รปู แบบตา่ งๆของผหู้ ญงิ ในฮปู แตม้ วดั หน้าพระธาตุ วดั ตะคุ 5. วดั ดงบงั (วดั โพราราม) สรา้ งข้นึ ก่อน พ.ศ 2500ตาบลดงบงั อาเภอนาดนู จงั หวดั มหาสารคาม หญิงชาวบ้านจะไวผ้ มสนั้ ทรงปีก ห่มผา้ เบย่ี งใส่ซน่ิ บางรปู มใี ส่กางเกงหรจื รงกระเบนไม่มเี คร่อื งประดบั ในกลุ่มพ่อค้าแม่คา้ ขนุ นางนางสนม หญงิ แม่คา้ ชาวจีนไว้ผมยาว ใส่เส้อื แขนยาวไม่ห่มผ้าเบ่ียง คนในพ้ืนท่ีจะใส่เส้อื แขยสนั้ หลอื แขนยาวห่มผ้าเบ่ยี ง ใสผ้าซิ่นท่ีมี ลวดลายหรอื จรงกระเบนท่มี ีลวดลายมีเคร่อื งประดบั คือกาไลสร้อยคอ ในกลุ่มเช้อื พระวงค์พระมหากษัตรยิ ์ สวมใส่ เคร่อื งประดบั มากกว่า สวมเคร่อื งประดบั ศรี ษะ กลุ่มเทพเทวดานางฟ้า จะใส่เคร่อื งทรงเตม็ ยค เครอ่ื งประดบั ศรี ษะทรง สงู

6 ภาพที 5 แสดงการแตง่ กาย รปู แบบตา่ งๆของผหู้ ญงิ ในฮปู แตม้ วดั ดงบงั (วดั โพราราม) 6. วดั หนองพอก(วดั ป่าเลไลย)์ สรา้ งขน้ึ ใน พ.ศ 2400 ตาบลดงบงั อาเภอนาดนู จงั หวดั มหาสารคาม การแต่งกายของชาวบ้านไวผ้ มสน้ี ทรงปีก หม่ ผา้ เบย่ี งแบบพาดสองขา้ ง หรอื ป้ายดา้ นหน่งึ ใสผา้ ซน่ิ ในกลมุ่ พ่อคา้ แมค่ า้ ขนุ นางนางสนมแมค่ า้ หญงิ ผมสนั้ ใส่เสอ้ื ห่มผา้ เบ่ยี ง นุ่งจรงกระเบน หญงิ มฐี านะไวผ้ มทรงปีกบางรปู เกล้าผม ใส่เสอ้ื แขนยาว นุ่งผา้ ซน่ิ ห่มผา้ เบ่ยี ง บาง คนถอื ร่มในกลุ่มเช้อื พระวงค์พระมหากษตั รยิ ์ สวมใส่เครอ่ื งประดบั มากกว่า สวมเคร่อื งประดบั ศรี ษะใส่ผา้ ซน่ิ กลุ่มเทพ เทวดานางฟ้า จะใสเ่ ครอ่ื งทรงเตม็ ยค เคร่อื งประดบั ศรี ษะทรงสงู ภาพที 6 แสดงการแต่งกาย รปู แบบตา่ งๆของผหู้ ญงิ ในฮปู แตม้ วดั หนองพอก(วดั ป่าเลไลย)์

7 7. วดั ประตชู ยั สรา้ งขน้ึ ใน พ.ศ 2461 ตาบลนิเวศน์ อาเภอธวชั บุรี จงั หวดั รอ้ ยเอด็ ในฮูปแตม้ วดั น้ีไม่ค่อยมกี ารแต่งกาย แบบชาวบา้ นพบทไี วผ้ มทรงปีกไมใ่ สเสอ้ื หม่ ผา้ เบย่ี งพาดสองดา้ น นุ่งผา้ ซน่ิ พบการแต่งกายของในกลุ่มพ่อคา้ แม่คา้ ขนุ นางนางสนมใส่เสอ้ื แขนยาว ไม่ห่มผา้ เบ่ยี งนุ่งซน่ิ กางรม่ กลุ่มเชอ้ื พระวงค์พระมหากษตั รยิ ์ สวมใส่ เคร่อื งประดบั เสอ้ื แขนสนั้ ใส่ผา้ เบ่ยี ง กลุ่มเทพเทวดานางฟ้า จะใส่เคร่อื งทรงเตม็ ยค เครอ่ื งประดบั ศรี ษะทรง สงู ไมห่ ่มผา้ เบย่ี ง ภาพที 7 แสดงการแต่งกาย รปู แบบต่างๆของผหู้ ญงิ ในฮปู แตม้ วดั ประตชู ยั บทสรปุ ผลการศึกษา นางในสิมรูปแบบการแต่งกายผู้หญิงในสิมอีสานประกอบด้วยทรงผม เส้ือผ้าและ เคร่อื งประดบั ทรงผมทพ่ี บเป็นทรงผมสนั้ ส่วนมากทเ่ี รยื กกนั ว่าทรงผมปีก พบทเ่ี กล้าผมคอื ในฮูปแต้มสมิ วดั ตะคุ บางรูป เสื้อผ้าส่วนใหญ่ยงั ใส่ผา้ ซนิ่ ห่มผา้ เบย่ี งหรอื รดั อก เสอ้ื เป็นแขนสนั้ หรอื แขนยาว ชาวบา้ นจะไม่นิยมใส่เสอ้ื ส่วนเทพเทวดาสว่ นมากจะไม่ห่มผา้ เบย่ี ง ในวดั สระบวั แก้ว พบเหน็ การนุ่งจรงกระเบนและมเี สอ้ื แขนกุด และผา้ ชน่ิ มรี ปู แบบแตกตา่ งจากวดั อน่ื วดั ดงบงั (โพราราม)ผา้ ซนิ่ มแี ขบทางดา้ นหน้า มกี างเกงและจรงกระเบนวดั ตะคุและวดั ป่าเลไลพบการนุ่งจรงกระเบน ส่วนวดั บ้านประตูชยั ในฮูปแต้มไม่มกี ารห่มผา้ เบ่ยี ง เคร่ืองประดบั ชาวบา้ นจะไม่ สวมเคร่อื งประดบั ในระดบั กลุ่มขุนนาง พ่อคา้ แมค้ า้ ขนุ นาง นางสนม จะใส่เคร่อื งประดบั เช่นสรอ้ ยคอ ขอ้ มอื ส่วน

8 กลุ่มเชอ้ื พระวงค์ พระมหากษตั รยิ ์ จะมเี คร่อื งประดบั มากกวา่ เช่น เคร่อื งประดบั ศรี ษะ ทบั ทรวง ตาด พาหุรดั สอ้งี สร้อยสังวาน ส่วนเทพเทวดา นางฟ้ าจะมีเคร่ืองทรงท่ีงดงาม เคร่อื งประดบั ศีรษะท่ีสูงกว่ากลุ่มเช้ือพระวงค์ พระมหากษตั รยิ ์ สรุปฮปู แตม้ การแต่งกายของนางในสมิ ในรปู แบบต่างๆจะบง่ บอกฐานะในสงั คมของคนในกลมุ่ ตา่ งๆในการ วาดหรอื แตม้ ของช่างจะมรี ายละเอยี ดทแ่ี ตกต่างกนั อย่างชาวบ้านจะเป็นรปู แบบงา่ ย ในกลุ่มพ่อคา้ แม่คา้ ขุนนาง นางสนม จะมเี คร่อื งประดบั และเสอ้ื ผา้ ทม่ี รี ายละเอยี ด กลุ่มเชอ้ื พระวงค์ พระมหากษตั รยิ ์จะมเี คร่อื งประดบั ศรี ษะ ส่วนเทพเทวดาจะมลี วดลายเคร่อื งทรงเคร่อื งประดบั ทม่ี รี ายละเอยื ดสงู กว่า เอกสารอ้างอิง บุรินทร์ เปล่งดีสกุล. 2554. พัฒนาการของจิตรกรรมฝาผนังอีสาน กรณี ศึกษาจงั หวดั ขอนแก่น จงั หวดั มหาสารคามและจงั หวดั ร้อยเอ็ด. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. ปีท่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - มถิ ุนายน 2554 ไพโรจน์ สโมสร. 2532. จิตรกรรมฝาผนังอีสาน. กรุงเทพฯ : อมั รนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ กรุ๊พ พวงผกา คโุ รวาด. 2535. ค่มู อื ประวตั ิเครอ่ื งแต่งกาย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน์ (1997) สุวิทย์ ธีรศาศวัต. 2557. ประวัติ ศาสตร์อีสาน 2322-2488. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น สุมาลี เอกชนนิยม. 2548. ฮปู แต้มในสิมอีสาน งานศิลป์ สองฝัง่ โขง. กรงุ เทพฯ : มตชิ น เสมอ อนุรตั น์วชิ ยั กุล. 2536. การศึกษาเค่ืองแต่งกายจากภาพจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์ วดั หน้าพระธาตุ อาเภอ ปักธงชัย จงั หวดั นครราชสีมา. มหาสารคาม : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม. อู่ทอง ประศาสน์วนิ ิจฉยั . 2551. ซ่อนไวใ้ นสิม ก - อในชีวิตอีสาน. กรงุ เทพฯ : ฟูลสต๊อป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook