Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปูนปั้นลายเครือเถา อิทธิพล รูปแบบ สู่พุทธศิลป์สุโขทัย

ปูนปั้นลายเครือเถา อิทธิพล รูปแบบ สู่พุทธศิลป์สุโขทัย

Published by kanikl, 2021-05-28 03:45:57

Description: บทความ ปูนปั้นลายเครือเถา อิทธิพล รูปแบบ สู่พุทธศิลป์สุโขทัย

Keywords: ปูนปั้น,พุทธศิลป์

Search

Read the Text Version

บทความภาคสนาม ปนู ปน้ั ลายเครือเถา : อิทธพิ ล รูปแบบ สพู่ ุทธศิลปส์ ุโขทัย จากการลงพ้ืนท่ีจังหวดั สุโขทัย ในวนั ท่ี 27-29 มนี าคม 2564 นายอสิ เรส สุขเสนี บทความนีเ้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของรายวชิ า 890993 SEMINAR IN ADVANCED CULTURE FINE ARTS AND DESIGN RESEARCH สัมมนาทางการวจิ ยั วัฒนธรรม ศลิ ปกรรมและการออกแบบข้ันสงู นกั ศึกษาปริญญาเอก รหัส 637220006-9 สาขาวิชาวัฒนธรรม ศิลปกรรม และการออกแบบ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

ปูนปน ลายเครือเถา : อทิ ธพิ ล รปู แบบ สูพทุ ธศิลปส โุ ขทยั 1 อสิ เรส สขุ เสนี ความงดงามในพทุ ธศลิ ปอาณาจักรสโุ ขทัยทย่ี ังหลงเหลือใหไดชม ปรากฏออกมาในรปู แบบโบราณวัตถุ และหรือสถานที่วัดวาอารามตาง ๆ ที่แสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองมั่งคั่งในวัฒนธรรม แมเวลาจะผานไป เนิ่นนานกวา 700 ป กลิ่นไอแหงความเจริญในพระพุทธศาสนาที่แสดงออกผานถายทอดใหเห็นดวยฝไมลาย ลายมือในงานพุทธศิลปบ างสว นกย็ งั คงอยูร อดปลอดภยั มาจนถงึ ทุกวนั นี้ สุโขทัยนครรัฐท่ีกลายเปน “อาณาจักรในตำนาน” ถือกำเนิดจาก “วีรบุรุษ” โดยเฉพาะการไดรับ อิทธิพลจากแนวคิดแบบโรแมนติกที่สัมพันธกับแนวคิดชาตินิยมและความรูสึกโหยหาอดีต ความคิดที่วาเรื่อง เลาเกีย่ วกบั ประวัติศาสตรส ุโขทยั คอื ประวัติความเปน มาของชาติ ยังชว ยเติมเต็มความตอ งการ “ตัวตน” และ “ที่มา” ของคนไทยไดอยางนาพึงใจ อีกทั้งกอใหเกิดการผลิตซ้ำเรื่องเลาในรูปแบบตาง ๆ ที่เอื้ออำนวยให ตำนานยังคงดำรงสถานภาพเปน ประวัติศาสตร แมจ ะขดั ตอขอ เท็จจริงทางวชิ าการในบางประการ (สายปา น ปุ ริวรรณชนะ. 2559) โดยในอดีตกาลอาณาจักรสุโขทัยเคยเปนสวนหนึ่งของดินแดนสุวรรณภูมิ ภายใตการ ปกครองของอาณาจักรขอม สมัยนั้นพระพุทศาสนาแบบมหายานไดเขามาเปนที่เคารพนับถือของประชาชน เม่อื พอขนุ บางกลางทาว ไดก อบกเู อกราชจากขอมไดใ นชวงป พ.ศ.1762-1781 ก็ไดส ถาปนาอาณาจักรสุโขทัย ขึ้นมาจวบจนถึงยุคสมัยการปกครองของพอขุนรามคำแหงมหาราช (พ.ศ.1822-1841) พระองคทรงไดนำ พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทเขามาสูอาณาจักรสุโขทัยและพระราชทานพระบรมราชูปถัมภจนกลายเปนที่ เคารพนับถือโดยทั่วไปของพระราชสำนักและประชาชน จนพระพุทธศาสนาแบบมหายานเริ่มเสื่อมลงไปแตก็ ยังคงยึดปรัชญาธรรมวัตถุของมหายานเปนแบบอยางในการสรางสรรคงานพุทธศิลปของศิลปนในยุคน้ัน

โดยเฉพาะพุทธศิลปในงานสถาปตยกรรม สวนงานพุทธศิลปในดานประติมากรรมและจิตรกรรมนั้นไดรับ 2 อิทธิพลของพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทเปนสว นใหญ (พระมหาสเุ ทพ พุทธจรรยา, 2539) จากหลักฐานในศิลปกรรมสุโขทัยนั้นไดรับแรงบันดาลใจจากวัฒนธรรมแบบลังกาเปนพุทธเถรวาทซง่ึ เปนชว งหวั เลี้ยวหัวตอ ของงานศิลปกรรมที่พบสามารถบง บอกไดว า ไมใชงานศิลปกรรมขอมเสมอไป โดยเฉพาะ การไดรับอิทธิพลตนแบบมาจากเมืองมอญทางตอนใตของพมาที่เขามาแทนที่วัฒนธรรมขอมความเช่ือในพุทธ สถานเถรวาทไดสะทอนผานงานพุทธศิลป ศาสนสถานขนาดเล็กสมสัดสวนกับพื้นที่ ที่เปนภาพสะทอนวิธีคิด วิถีแหงสังคมวัฒนธรรมของสุโขทัยไดเปนอยางดี (สันติ เล็กสุขุม, 2561) ซึ่งในชวงพุทธศตวรรษที่ 18 ที่ ประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาสวนใหญถูกทำลายจากการนับถือศาสนาพราหมณ ฮินดู ความเจริญทาง พระพทุ ธศาสนาจงึ เคล่ือนยายมาเจริญรุงเรืองที่ลงั กาและพุกาม จงึ ปรากฏเหน็ อทิ ธิพลการสรา งเจดียทรงระฆัง และทรงพุมขาวบิณฑ นิยมประดับชางโดยรอบเนื่องจากชางถือเปนผูค้ำจุนศาสนาและจักรวาลตามความเชื่อ ของทั้งพุทธและพราหมณ (ศักดิ์ชัย สายสิงห. 2551) แตก็ยังเกิดการผสมผสานโดยไมไดละทิ้งอิทธิพลเชิงชาง เขมรเสยี ทีเดียว การเลือกใชศิลาแลงเปน สวนฐานในงานกอปราสาท การเกลาขึ้นรปู สามารถทำไดงายกวาการ สกัดหินอีกทั้งยังมีความมั่นคงแข็งแรง สวนอิฐก็ถูกใชในสวนโครงสรางที่มีขนาดเล็กลงหรือที่อยูสวนบนที่ ตองการน้ำหนักที่เบาขึ้นโดยอิฐที่ใชในยสมัยสุโขทัยนั้นจะมีขนาดเล็กกวาอิฐพุกาม ซึ่งจะสงผลตอรูปแบบ ลักษณะและขนาดของงานสถาปตยกรรม วัสดุประเภทไมก็ถูกใชในงานสถาปตยกรรมของสุโขทัยดวยเชนกัน โดยเฉพาะในสวนของโครงสรางหลังคาจากหลักฐานที่ปรากฏบนเสาของวิหารที่มีรูสี่เหลี่ยมเปนสวนรับของ คานไม และการสรางงานประดับตกแตงดวยไมที่ยังคงหลงเหลือดังเชน ฝาเพดานไมที่คนพบจากคูหาปรางค พระศรรี ตั นมหาธาตุ เชลยี ง ท่ีชวนใหน กึ ถงึ ลวดลายเถาท่ีไดรับอทิ ธิพลจากจนี เขามาทางอาณาจกั รลา นนา เกิด การเช่อื มโยงลวดลายตนแบบไปสลู วดลายปนู ปนประดบั ศาสนสถาน งานประติมากรรมในยคุ สมยั อาณาจักรสโุ ขทัยมีความเจรญิ รุง เรืองนั้นเปนงานประติมากรรมทีม่ ีความ เชื่อมโยงในพระพุทธสานาเปนหลัก ศิลปนผูสรางโดยสวนมากรังสรรคเพื่อสนองตอปรัชญาธรรมกอเกิดความ งามในพุทธศิลป อิทธิพลงานประติมากรรมปูนปนศิลปะลานนาเริ่มเขามาสูอาณาจักรสุโขทัยในรัชกาลของ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถหลังจากยึดเมืองคืนมาไดจากกองทัพลานนา (พ.ศ.2008) ดังที่ปรากฏใหเห็นที่วดั นางพญา และมณฑปวดั ชมช่ืน ศรสี ชั นาลัย ลวดลายปนู ปน บนผนงั วิหารวัดนางพญาน้ีถือวา เปนประติมากรรม สุโขทัยยุคที่ 3 จากทั้งสิ้น 4 ยุค ซึ่งรูปแบบการปนในสมัยสุโขทัยยุคที่ 3 นี้เปนการปนที่พัฒนาไปจากศิลปะ สุโขทัยแบบบริสุทธิ์ มีความประณีต ประติมากรรมปูนปนประดับพุทธสถานเปนภาพแบบอุดมคติ เพิ่งพัฒนา รูปแบบตนเองใหหลุดพนไปจากรูปแบบธรรมชาติ ซึ่งปรากฏในพระราชนพิ นธพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจาอยูหวั (รัชกาลที่ 6) เมื่อครั้งยังดำรงพระยศเปน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ไดทรงเลาถึงลายปนู ปน วัด นางพญา ไวในพระราชนิพนธเรื่อง \"เที่ยวเมืองพระรวง\" ในตอนที่ 15 เมืองสวรรคโลก ภายในกำแพง เมื่อป พ.ศ. 2450 มีใจความวา “แตถาเดินตรงตอไปอีกถึงวัดที่มีของนาดูอันหนึ่ง นายเทียนเรียกวาวัดนางพระยา

และอธิบายวา นางพสุจเทวีธิดาพระยากรุงจีนและอัครมเหสีของพระยารวงเปน ผูสราง วัดนี้อยูริมกำแพงดาน 3 ตะวันออกเฉียงใตใกลประตูรามณรงค (ที่ขาพเจาเดาวาเปนประตูสะพานจัน) รอบวัดมีกำแพงแลงลอม มีพระ เจดียองคห นึ่งซึ่งไมสูงามอะไรไมตองดูก็ได แตว ิหารทอ่ี ยดู านตะวันออกเฉยี งใตของเจดียนั้นนาดู แตการท่ีจะดู ตองพิจารณาหนอยจงึ จะเหน็ ของดี เมื่อแรกขาพเจาไปก็ยงั ไมเหน็ อะไรท่ีนาดู และเกือบจะเดินกลับออกจากท่ี นั้นเสียแลว เผอิญมีพวกท่ีไปดวยกันคนหนึง่ ชีว้ าที่เสาทางดานหนามีลายปนดวยปูน ขาพเจาเขาไปตรวจดูลาย ปนนี้เห็นงามดีจึงเลยตรวจตอไปจึงเห็นวามีลายปนดวยปูนเชนนั้นอีกที่ผนังซึ่งทำเปนชองลูกกรง แตทั้งตนไผ ขาง ๆ ทั้งเถาวัลยเล้ือยพันอยูกับผนังทำใหเ ห็นลายไมถนัด เผอิญมีมีดไปดวยกันหลายเลมจึงลงมือตัดเถาวัลย และกา นกง่ิ ไผกันในทันใดนั้น และวิหารน้ันตง้ั บนลานสูงพนดินราว 3 ศอก จึงไดจัดการตอเปนแครข้ึนไปเพื่อดู ใหใกล ๆ ภายในครึ่งชั่วโมงกวา ๆ ก็พอไดขึ้นไปพิจารณาลาย ไมรูสึกวาเหนื่อยเปลาเลยที่ลูกกรงปนเปนลาย รอยรักแขงสิงห ประจำยามเทพประนม ลายเหลานี้ปนดวยปูนติดอยูกับแลง เพราะฉะนั้นนากลัวไมชานักจะ กะเทาะสูญหมดเพราะไมมใี ครรักษา ขา พเจา ไดฉายรูปลายมาพิมพล งไวในหนงั สือนดี้ ว ย เพ่ือจะไดเปนแบบให ชางที่จะคดิ ผูกลายตอไป” (พระราชนิพนธ. 2521) โดยงานประตมิ ากรรมของศลิ ปนในยุคสโุ ขทัยที่ปรากฏเปน หลักฐานที่วัดนางพญานั้นเปนเหมือนเสนแบงระหวางอิทธิพลทางฝงอยุธยากับลานนาที่ผสมผสานศิลปะเชิง ชา งดว ยลายปูนปน ท่ีวิจิตรบรรจงในแบบลา นนาเขามา ลายปูนปน ในแบบลานนาต้งั แตร ชั สมัยของพระเจา ติโลกราช (พ.ศ. 1985-2030) เรือ่ ยไปจนถงึ รัชสมัย ของพระเมืองแกว (พ.ศ. 2038-2067) ระหวา งชวงเวลานไี้ ดม ีการสรา งสถาปตยกรรมข้ึนหลายแหง และในสวน ของการประดับตกแตงสถาปตยกรรมนั้น นิยมนำลายปูนปนมาใชอยางกวางขวาง โดยลายปูนปนประดับ สถาปตยกรรมในเมืองเชียงใหม ซึ่งเกิดขึ้นในชวงของราชวงศมังรายนี้ ไดกลายเปนเอกลักษณเฉพาะของ เชียงใหมและลานนาในชวงเวลานั้น เปนแบบอยางลวดลายที่ไดรับอิทธิพลแนวความคิด มาจากแหลง ศิลปกรรมอื่น ที่ไดเขามามสี วนสัมพันธเกี่ยวขัองกบั เชยี งใหม และขณะเดียวกันชางและศิลปนของเชยี งใหม ก็ ไดนำเอาความบันดาลใจเหลานั้นมาสรางรูปแบบใหมขึ้นจนกลายเปนเอกลักษณสำคัญของทองถิ่น โดยเฉพาะ อยางยิ่งอิทธิพลจากศิลปกรรมจีน ซึ่งเขามาในรูปแบบของลวดลายจากเครื่องถวยลายครามที่ถูกนำเขามาสู เชียงใหมและลานนา ตามที่ปรากฏอยูตามแหลงที่มี ชมุ ชนและโบราณสถานทว่ั ไป นอกจากน้ลี ายประดบั บาง รูปแบบก็ไดรับมาจากศิลปะมอญแบบเมืองพุกาม และ ศิลปะสุโขทัย ที่ไดเขามากับพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ ซึ่งเจริญรุงเรืองอยูในเชียงใหมและลานนาทั่วไปใน ระยะเวลาสั้น ๆ (มารุต อัมรานนท. 2524) โดยลายปูน ปน นนั้ ถกู ใชเพื่อประดับตกแตง ใหพืน้ ผวิ ของอาคารเพื่อมี ความสวยงาม การจัดองคประกอบจากอุดมคติความคิด

ของศิลปนผูสรางดังที่ปรากฏในลวดลายการแกะสลักหินท่ีมุมเสาของปราสาทหินพิมายที่สรางขึ้นในรัชสมัย ของพระเจาชยั วรมันท่ี 7 ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 12-18 พระองคทรงรับพระพุทธศาสนานิกายมหายานแบบ อินเดียเขามา ซึ่งเดิมทีปราสาทหินพิมายถูกสรางขึ้นมาในฐานะเทวสถานของศาสนาพราหมณ รูปแบบศิลปะ เปนแบบบาปวนผสมผสานกับศลิ ปะแบบนครวัดจนไดม ีการเปลีย่ นแปลงจากการเปล่ียนมานับถือศาสนาพุทธ นกิ ายมหายานของพระเจาชยั วรมนั ที่ 7 (อภวิ ันทน อดลุ ยพเิ ชฏฐ. 2546) โดยลวดลายทป่ี ระดับตกแตงปราสาท น้ันเปน ศิลปนผูสรางไดใ ชว ิธีแกะสลักลงบนหินทรายที่ถูกเรยี งข้ึนเปนโครงสรางอาคารกอนจึงทำการแกะสลัก การแกะสลักลวดลายที่ปราสาทหินพิมายนี้สวนมากเปนแกะสลักแบบนูนสงู ควานลวดลายไปภายในคอนขาง ลึกทำใหเกิดมิติของภาพไดคอนขางมาก แตการแกะสลกั หนิ นี้จะเปนการกะเทาะออกไมส ามารถเตมิ เขาไปใหม ได หากมกี ารแกะสลกั ผิดพลาดก็อาจจะตอ งทำการเปล่ยี นหินกอนน้นั ใหม ลายกรวยเชงิ เปนลายสามารถพบเห็นไดในมุมมองที่ใกล ๆ ลายกรวยเชิงน้เี รียกตามตำแหนงของลายที่ ปรากฏอยูบริเวณเชิงหรือสวนฐานของโครงสราง เปนการสรางลวดลายเพ่ือเปน สวนเช่ือมระหวางฐานกับสวน ของเสาไมใหแข็งทื่อจนเกินไป การถายทอดอิทธิพลทางศิลปวัฒนธรรมเชิงชางแบบปาละ อินเดีย เขามาสู หลายพ้นื ทใ่ี นเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดว ยบรบิ ทพื้นที่ตา ง ๆ และกระบวนการเทคนิคเชิงชางท่ีมีการปรับปรน เปลี่ยนแปลงใหเขากับสภาพแวดลอมในพื้นที่นั้น ความเจริญรุงเรืองของอาณาจักรขอมไดขยายอาณาเขตขึ้น มาถึงสุโขทัยที่ยังคงใชวัสดุหินมาเปนโครงสรางหลัก แตดวยในพื้นที่แถบจังหวัดสุโขทัยในปจจุบันนั้นไมพบ แหลงหินทรายที่เหมาะสำหรับการแกะสลัก การใชฐานลางหรือโครงสรางหลักที่เปนแลงซึ่งสามารถเกลา รูปทรงไดคอนขางงายจึงเปนตัวเลือกสำคัญในการกอสราง แตดวยความหยาบ ความพรุนที่กอใหเกิดหลุมเกดิ ความไมเ รยี บเสมอผิวของศิลาแลงน้ันถือเปนอุปสรรคในการรงั สรรคล วดลายของศลิ ปน ผูสรางศาสนสถาน การ เรียนรหู ยิบยืมความรูเชงิ ชางจากพ้ืนที่อาณาจักรใกลเ คียงอยางอาณาจักรลานนา หรภิ ุญชัย ท่ีมีอิทธิพลตองาน พุทธศลิ ปของสโุ ขทยั เปนอยา งมาก การเลือกใชว สั ดฉุ าบผิวทเ่ี ปน ปูนท่ีไดจ ากเปลือกหอยเผาไฟแลวนำมาบดให ละเอยี ดจะไดผงปูนสขี าวนำไปหมักกบั น้ำ (สขุ กมล วงศส วรรค, 2545) เมอื่ ตอ งการใชงานจะแบง มานำผสมกับ ทรายโขลกใหเขากัน ผสมกับกาวที่ไดจากหนังสัตว เพื่อใชในการฉาบหรือสามารถปนขึ้นรูปไดงาย (สันติ เล็ก สขุ มุ , 2561) 4

ในงานประดบั ตกแตง งานสถาปตยกรรมดว ยปูนปนที่มีรายละเอียดเปนสว นสำคัญในการชวยลดขนาด พื้นผิวที่เรียบโลนใหเกิดความงดงามตามแบบฉบับเชิงชางของลานนา ดังเชนงานปูนปนประดับผนังเจดียเจ็ด ยอด ที่วัดมหาโพธาราม เชียงใหม ที่สรางในสมัยรัชกาลของพระเจาติโลกราช ที่ไดรับอิทธิพลตนแบบมาจาก วิหารมหาโพธิ์ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ปรากฏเปนงานปูนปนรูปเทวดาในทานั่งระหวางชองในสัดสวนท่ี เหมาะสมกับพื้นที่วาง รูปเทวดาทุกองคมีพระ พักตรและพระวรกายที่ไดสัดสวนสมบูรณ วง พระพักตรยาวรีคลายรูปไข ทำใหยอนมองถึง ความเกี่ยวของเชื่อมโยงกับอิทธิพลทางศิลปะ สุโขทัย โดยผนังหรือสวนพื้นหลังมีลวดลายรูป ดอกไมเปนกลุมแสดงใหเหน็ ถึงอทิ ธิพลลวดลาย ประดับแบบจีนซึ่งแพรหลายอยูในงานประดับ ของศลิ ปะพมา และสุโขทยั ลวดลายที่ปรากฏออกมาในงานปูนปนในสวนของพื้นที่วาง เพื่อใหเกิดความสมดุลในความงามของศาสนสถานนั้นถือเปนลวดลาย เพิ่มเตมิ ที่ไดรบั แรงบันดาลใจมาจากพันธุพฤกษาท่ีมีลักษณะเกี่ยวพันกัน ของกาน ใบ และดอกไม ดังปรากฏในสวนของลายเชิง ลายกาบที่จะมี ทั้ง กาบบน กาบลาง และประจำยามรัดอก โดยงานประดับดังกลาวจะ ปรากฏอยูที่เสาจระนำของเรือนธาตุเจดียทรงปราสาท ซึ่งกาบบนจะหุม ปดตอนบนของเหลี่ยมเสา ปลายแหลมของกาบชี้ลง สวนกาบลางจะมี ลักษณะทำนองเดียวกันแตปลายแหลมจะชี้ขึ้นบน ในสวนของกลายเสา ก็จะประดับดวยลายประจำยามรัดอกจะอยูในตำแหนงชวงกลางเสา ซึ่ง ในราวครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 20 ลงมา (สันติ เลก็ สขุ ุม, 2561) โดย ลายกาบของทว่ี ัดปา สกั อำเภอเชียงแสน ทกี่ อสรา งขึ้นโดยพระเจาแสนภู หนา กาล\" ปูนปน ประดับฐานเสา ในปพ.ศ. 1838 เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ \"โคปผกะธาตุ\" นั้น กรอบประตู เจดยี ทรงปราสาท ไดรับอิทธิพลทางศิลปะมาจากหริภุญชัยนั้นปรากฏเปนลายกาบท่ี คอนขางทึบตัน กาบลางปรากฏหนากาลซึ่งในระยะตอมาหนากาลเร่ิม วดั ปา สัก เมอื งเชียงแสน เลือนลางหายไปจากงานประติมากรรมในแถบนี้ การเปลี่ยนแปลง ลักษณะของงานประดับปูนปนของลายกาบในรูปสามเหลี่ยมจะประกอบไปดวยวงโคงเล็ก ๆ ตอเนื่องกันจน เกือบเปนรูปครึ่งวงกลม แสดงใหเห็นถึงอิทธิพลของลวดลายประดับในศิลปะจีนไดอยางชัดเจน ที่สามารถพบ ไดจากลวดลายประดับเครอื่ งเคลือบสมัยราชวงศหยวนและราชวงศเ หม็ง (อชิรัชญ ไชยพจนพานิช, 2552) โดย5

ในระหวางลวดลายของกาบบนและกาบลางบางแหงอาจไมพบลายประจำยามรัดอกนั้นก็ขึ้นอยูกับสัดสวน ความเหมาะสมลงตวั ของพ้ืนที่ตามเชิงชางของศลิ ปนผูส รางไดร งั สรรคข้ึน ลายกาบบนกาบลางในงานประติมากรรมปูนปนวัดนางพญา เปนโบราณสถานที่อยูในเขตอุทยาน ประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย กอสรางขึ้นเมื่อราวป พ.ศ.1800 ในรัชสมัยของพอขุนรามคำแหง มหาราช ลวดลายปูนปนที่ปรากฏบนผนังวิหารวัดนางพญายังคงหลงเหลือรายละเอียดใหพอไดศึกษาถึง รูปแบบ วัสดุ และเทคนิคเชิงชางในการปนปูน ลวดลายปูนปนบนผนังวิหารวัดนางพญานี้ถือวา เปนประติมากรรมสุโขทัยยุคที่ 3 จากทั้งสิ้น 4 ยุค ซึ่งรูปแบบการปนในสมัยสุโขทัยยุคที่ 3 นี้เปนการ ปนที่พัฒนาไปจากศิลปะสุโขทัยแบบบริสุทธิ์ ที่มี ความประณีต ประติมากรรมปูนปนประดับพุทธ สถานเปนภาพแบบอุดมคติเพิ่งพัฒนารูปแบบ ตนเองใหหลุดพนไปจากธรรมชาติ ที่สอดคลอง ลายปูนปน ผนงั ดา นนอกวิหารวดั นางพญา ศรีสชั นาลยั เชื่อมโยงกันกับลายแกะสลักไมบนฝาเพดานวัด พระศรีรัตนมหาธาตุ เชลียง อำเภอศรีสัชนาลัย สุโขทัย ที่มีลักษณะ การเกิดของลายการผูกลายที่คลายคลึงกัน ดาวเพดานไมจำหลักน้ี เปน ศลิ ปะอยุธยา ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 21-22 ลักษณะเปนแผน ไมร ปู สี่เหล่ยี มจัตุรสั แกะสลกั ลายคลา ยกลีบบัวเรียงเปนวงกลมซอน กัน 3 ชั้น กลีบชั้นนอกกับชั้นที่สองจะมีชัน้ ละ 20 กลีบ สวนชั้นท่ี 3 ติดกบั วงตรงกลางจะเปนลายกานขดประกบกันเปน รูปสามเหล่ยี ม ที่ มมุ ทง้ั 4 ประดับรปู เทพนม ประดับดวยลายพนั ธุพฤกษา ฝาเพดานไมกะสลัก ลายพันธุพฤกษาที่ปรากฏอยูทั้งที่วัดนางพญาและดาว วดั พระศรรี ัตนมหาธาตุ เชลียง สุโขทยั เพดานไมจำสลักที่พบมีความเชื่อมโยงกันในเรื่องลวดลาย การ เกี่ยวพันกันของขดของพันธุไมที่ไดรับอิทธิพลมาจากลายเถาวใน เครื่องเคลือบของจีนประกอบกับการขึ้นรูปลายเชิงในศิลปะแบบ ขอมนั้นถูกประยุกตกลมกลืนกันจากลวดลายที่เปนธรรมชาติถูก ระบบ รูปแบบที่พัฒนามาอยางตอ เนื่องของศิลปนในยุคสมัยสุโขทัย ทำใหเกดิ เปนรปู ทรงทีม่ ีความเฉพาะของยุคสมยั 6

ขอ สงั เกตใน 2 ภาพดานบนภาพหนงึ่ ตรงกลางเปน รูปกลบี ดอกไมคลา ยกับดอกโบต๋นั สว นอีกภาพปรากฏรปู บุคคล 7 อยูภายใน จะเห็นการผกู ลายทไ่ี มเหมือนกนั ซ่ึงใน 2 ลายนป้ี รากฏอยบู นฝาผนงั ฝงเดยี วกนั ของวดั นางพญา ภาพเสนโครงรางแยกสว นของการตอลายปูนปน วดั นางพญา ศรสี ัชนาลยั สโุ ขทยั ภาพการผูกลายกานขดรูปสามเหลี่ยมเขาดวยกัน โดยมีขอยึดระหวางลายวางสลับวนไปทั้งสี่ดานจน ลายเปนรูปสีเ่ หลี่ยม แลวบีบรูปทรงใหเปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปนู เพื่อใหเขากันกับรูปทรงของชอ งเสาทีผ่ นงั

วัดนางพญา ลายขดรูปสามเหลี่ยมดานลางชวนใหนกึ ถึงลายที่ปราสาทหินเมืองต่ำที่พัฒนามาจากรูปแบบการ น่ังของษที ี่ปรากฏอยใู นรายละเอยี ดของทบั หลงั ท่ีถูกตดั ทอนรายละเอยี ดใหเหลอื เพยี งรปู ทรงท่คี ลา ยคลงึ ภาพจำหลัก รปู ษีเปนสว นประกอบใน ความเหมือน ตาง คลายคลึง อิทธิพลทางงานศิลปะ ดา นบนของทับหลงั ทป่ี ราสาทเมอื งต่ำ หรือการแพรกระจายทางวัฒนธรรมที่ลวนอาจหยิบยืมหรือมี การพัฒนาใหเหมาะสมสวยงามตามอุดมคติเชิงชาง อีกทั้งการ จังหวดั บรุ รี มั ย ติดตอเชื่อมโยงระหวางกันทั้งทางดานการเมืองการปกครอง ทางดานศาสนา เศรษฐกิจ การคาที่มีมาอยางยาวนานของ ระหวางอาณาจักรท่มี ีอายุการเดินทางมากกวา สิบศตวรรษ การ ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนถายการครอบครองพื้นที่ยังหอบหิ้วนำเอา วฒั นธรรมของตนเขา มา การเลอื กเก็บส่ิงท่ีดีงามของวัฒนธรรม อื่นมาปรับใชกับวัฒนธรรมสังคมของตนเองซึ่งอาจจะพบเห็น หลงเหลอื เคา โครงเดมิ บางก็ไมใชเ ร่ืองแปลกอะไรที่จะบงบอกได ถงึ พนื้ เพรากเหงา ของวัฒนธรรมน้ัน .............................................................. อา งองิ 8 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยูหัว. (2521). เท่ียวเมืองพระรวง. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พระสทุ ธิอรรถนฤมนตร วัดเทพศริ นิ ทราวาส. พระมหาสุเทพ พทุ ธจรรยา, (2539). อิทธพิ ลพระพุทศาสนามหายานทม่ี ีตอพุทธศิลปในอาณาจกั รสโุ ขทัย. สภาการศึกษามหามกฏุ ราชวิทยาลยั . มารุต อมั รานนท. (2524). ลายปูนปน ประดับสถาปต ยกรรมในเมืองเชียงใหมสมัยราชวงศม งั ราย. วิทยานพิ นธ (ศศ.ม. (โบราณคดสี มยั ประวตั ศิ าสตร) ). มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. ศกั ดิ์ชยั สายสงิ ห. (2551). ศลิ ปะสโุ ขทัย : บทวเิ คราะหหลกั ฐานโบราณคดี จารกึ และศลิ ปกรรม. สมาคม นกั โบราณคด.ี สนั ติ เลก็ สขุ มุ . (2561). ศลิ ปะภาคเหนอื หริภุญชัย-ลานนา. นนทบรุ .ี สำนักพิมพเมอื งโบราณ. สันติ เลก็ สุขมุ . (2561). ศิลปะสโุ ขทัย. นนทบรี : สำนักพมิ พเ มืองโบราณ. สายปา น ปรุ วิ รรณชนะ. (2559). อาณาจักรสุโขทัย”: การประกอบสรางประวัติศาสตรจ ากตำนานและความ เชื่อของคนไทย. วารสารรามคาแหง ฉบับมนุษยศาสตร 35(1).

สขุ กมล วงศส วรรค. (2545). การวเิ คราะหปูนขาวจากเปลือกหอยท่แี หลง โบราณคดีบานวงั ไผ อำเภอบา น หมี่ จังหวดั ลพบุรี. บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. อชริ ชั ญ ไชยพจนพานิช, (2552). ลวดลายกับการกำหนดอายุไหลายครามสมยั ราชวงศหยวนท่ีพบในประเทศ ไทย. ดำรงวชิ าการ 8 (2). อภวิ ันทน อดลุ ยพเิ ชฏฐ. (2546). หนงั สอื ชดุ นำเที่ยวเมืองประวัติศาสตร : 3 ปราสาทหินแหง อสี านใต. สำนักพมิ พเ มืองโบราณ. ........................................................... 9