กระซบิ รัก Everything อิงนา่ น Everything is a whisper of love in Nan. อิสเรส สขุ เสนี* ปู่ม่านย่าม่าน หลายคนเม่ือได้ยินอาจจะนึกถึงชายชรากับหญิงสูงวัยคู่หนึ่ง แต่หากเอ่ยคำ�ว่า “กระซิบ รักบันลือโลก” หลายคนก็อาจจะร้องอ๋อขึ้นมาทันที กระซิบรักบันลือโลกเกิดจากอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่นของภาพ จิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารของวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน ถูกหยิบยืมถ่ายทอดสอดใส่วาทกรรมให้กับภาพรอง ภาพนไ้ี ดม้ ชี วี ติ มเี รอื่ งราวทน่ี า่ สนใจจากภาพชายหหญงิ ทท่ี �ำ ทา่ ทางกระซบิ กระซาบใบหนา้ แววตากรมุ้ กรมิ่ ลกั ษณะ ทา่ ทางออ่ นชอ้ ย สสี นั ของเครอื่ งแตง่ กายและรอยสกั สดดุ ตาอกี ทงั้ ยงั มขี นาดทใี่ หญเ่ กอื บเทา่ คนจรงิ เปน็ ภาพทเ่ี ดน่ ตระหงา่ นทส่ี ามารถมองเหน็ ไดใ้ นระดบั สายตา ปจั จบุ นั ไดถ้ กู น�ำ เสนอไปในรปู แบบตา่ ง ๆ ดว้ ยวตั ถปุ ระสงคท์ งั้ ดา้ น การประชาสมั พันธแ์ ละเพ่อื จดุ มุง่ หมายทางดา้ นเศรษฐกจิ การศึกษาถึงฮูปแต้มท่ีปรากฎบานฝาผนังของวัดภูมินทร์ว่าเป็นฝีไม้ลายมือของช่างชาวไทล้ือนั้นมีผู้ที่ได้ ทำ�การศึกษามาอยา่ งยาวนาน เหตุผลจากการเทยี บเคยี ง เปรียบการจดั องค์ประกอบ เรื่องราว รายละเอยี ดของ ภาพฝาผนังที่วัดภูมินทร์กับท่ีวัดหนองบัว อำ�เภอท่าวังผาน้ัน ได้ถูกนักวิชาการในยุคก่อนระบุว่าเป็นช่างชาวไท ล้ือท่ีมาจากเมืองเชียงขวาง และอีกเหตุผลที่สร้างความน่าเชื่อถือก็คือ ภาพท่ีเขียนข้ึนจะใส่รายละเอียดการแต่ง กายของผู้ชายท่ีมีผ้าโพกศรีษะในวัดภูมินทร์มีความคล้ายกันกับภาพแบบร่างลายเส้นในสมุดพับสา (สมุดบันทึก ภาพร่างที่ทำ�มาจากใบข่อย) ที่เก็บรักษาไว้ท่ีวัดหนองบัว ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงทำ�ให้เช่ือได้ว่าช่างที่เขียนภาพ จติ รกรรมฝาผนงั ทวี่ ดั ภมู ินทรก์ ับชา่ งที่เขยี นภาพจติ รกรรมฝาผนงั ทวี่ ดั หนองบวั นน้ั เป็นชา่ งคนเดียวกัน และภาพ จติ รกรรมฝาผนงั วดั หนองบัวน่าจะเขยี นก่อนภาพจติ รกรรมฝาผนงั วัดภูมนิ ทร์ แตภ่ ายหลงั ไดม้ กี ารศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ถงึ การเชอื่ มโยงกบั บรบิ ททางประวตั ศิ าสตรท์ จี่ ะเสนอแงม่ มุ ทแ่ี ตกตา่ ง ออกไป โดยว่าด้วยเร่ืองของการเขียนภาพในเรื่องราวของคันทนกุมารน้ันเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับกำ�พร้าที่เดินทาง แรมรอนให้สอดคล้องกันกับเร่ืองราวของผู้ปกครองเมืองน่านในยุคสมัยนั้นว่าเสมือนถูกทอดท้ิงจากบิดามารดา และผู้หลักผู้ใหญ่ในยุค ดังปรากฎในพงศาวดารการกำ�เนิดชนช้ันปกครองของเมืองน่านที่ถูกสร้างเร่ืองราวการ กำ�เนิดมาจากไขส่ องฟอง ไดม้ าเป็นขนุ น่นุ และขุนฟองได้ไปปกครองเมืองนา่ นและเมอื งเวยี งจนั ทน์ แม้ในเวลาตอ่ มาจะตอ้ งตกเปน็ เมืองขน้ึ ของเมอื งเชียงใหม่และเมอื งมอญ เมอื งน่านกห็ าได้รบั ความสนใจใยดไี ม่ จนกระทัง่ ทาง เมอื งนา่ นไมม่ ผี ปู้ กครองกต็ อ้ งไปขอเจา้ หลวงตนิ๋ มาจากเมอื งเชยี งใหม่ และไดต้ กเปน็ ประเทศราชของสยาม อกี ทงั้ ในปี พ.ศ.2436 รฐั สยามกย็ งั ไมส่ ามารถตา้ นทานการรกุ รานของชาตมิ หาอ�ำ นาจอยา่ งฝรง่ั เศส จงึ เกดิ เปน็ เรอ่ื งราว ทปี่ รากฎบนฝาผนงั ภายในวหิ ารของวดั ภมู นิ ทร์ ในชว่ งของระยะเวลาในการปกครองของรชั กาลพระเจา้ สรุ ยิ พงษ์ ผริตเดช (จริ ศกั ด์ิ เดชวงคญ์ า, 2546) *นายอสิ เรส สุขเสนี 637220006-9 นักศึกษาปริญญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาวฒั นธรรม ศลิ ปกรรมและการออกแบบ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอแกน่ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 1/2563
2 ภาพจิตรกรรมฝาผนังปู่ม่านย่าม่านเป็นอีกหน่ึงจุดขายท่ีจะช่วยส่งเสริมสร้างเมืองน่านเป็นเมืองแห่ง ความรกั ความอบอนุ่ ดว้ ยการสรา้ งวาทกรรมมาสนบั สนนุ ภาพกระซบิ กระซาบภาพนจ้ี ากการแตง่ ค�ำ บรรยายภาพ เปน็ ภาษาถิน่ ลา้ นนาโดยอาจารย์สมเจตน์ วมิ ลเกษม ท่ีพรรณนาถึงบทค�ำ พูดท่แี สดงถงึ ความรักของคู่ชายหญิงได้ อย่างลกึ ซึง้ กนิ ใจ โรลองด์ บาร์ตส์ Roland Barthes (1915-1980) ไดเ้ สนอแนวคดิ ถึงสัญญะท่ีปรากฎของภาพ นั้น (Denotation) เป็นความหมายตรง เพ่ือเชื้อเชิญให้เราพยายามตีความและให้ความหมายแก่ภาพนั้นเป็น ความหมายแฝง (Connotation) ซึง่ ก็อาจจะเกนิ ไปกวา่ ที่ศลิ ปนิ หรอื ช่างภาพตงั้ ใจ (เถกงิ พัฒโนภาษ, 2551) โดย ขอ้ ความทเี่ ขยี นก�ำ กบั ปมู่ า่ น ยา่ มา่ น ทภี่ าพจติ รกรรมนนั้ หมายถงึ การเรยี กผชู้ ายพมา่ ผหู้ ญงิ พมา่ คนู่ ี้ เปน็ นยั เปน็ สามภี รรยา ซึง่ การเกาะไหล่กันเป็นธรรมชาตขิ องผู้ชายผหู้ ญิงท่เี ปน็ สามภี รรยา ถา้ เปน็ หนุ่มสาวจะถูกเนอ้ื ต้องตัว กันไม่ได้ และรปู ลกั ษณะการแต่งกายช้ชี ัดสอดคล้องกบั คำ�วา่ ปมู่ า่ น ย่าม่าน ม่านคือพมา่ ปนู่ ีค่ อื ผู้ชาย พน้ วัยเดก็ ผ้ชู ายเรียกปู่ พ้นวัยเดก็ ผหู้ ญงิ เรียกย่า ซึง่ ทีจ่ รงิ ออกเสียง “ง่า” ไม่ใชป่ ่ยู า่ ตายาย โดย หนานบวั ผัน เป็นศลิ ปินผู้ เขยี นจิตรกรรมประวัติศาสตรท์ ้งั ทวี่ ัดหนองบัว และวัดภูมินทร์ (วนิ ยั ปราบริปู, 2551) การสร้างอัตลักษณ์เพ่ือส่งเสริมต้นทุนเดิมของวัฒนธรรมพ้ืนถ่ินที่มีอยู่ให้เป็นจุดเด่นท่ีน่าสนใจแก่กลุ่ม เปา้ หมาย ซง่ึ กลมุ่ เปา้ หมายจากการสร้างอัตลักษณ์ขน้ึ มาน้ีก็มหี ลากหลายรปู แบบความตอ้ งการ ทั้งทางดา้ นกลมุ่ คนทีช่ ่นื ชอบความเปน็ ประวัติศาสตร์ ศลิ ปะ วิถชี วี ติ หรือแมก้ ระท่งั กล่มุ คนที่ชอบท่องเทยี่ วช่ืนชมบรรยากาศ ใน กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้ถือเป็นส่วนประกอบสำ�คัญที่จะช่วยผลักดันในเกิดการนำ�เสนอความเป็นอัตลักษณ์ในพื้น ถน่ิ ของตนขึน้ มาทมี่ ปี จั จัยทางด้านเศรษฐกจิ เข้ามาเปน็ แรงจงู ใจ จากรายงานการวิจยั (ศรินทร์ทิพย์ คาวาโนเบะ, 2554) นกั ทอ่ งเทย่ี วทเ่ี ดนิ ทางมาเทยี่ วทจี่ งั หวดั นา่ นนนั้ มแี รงจงู ใจตอ่ สถานทที่ อ่ งเทยี่ วในดา้ นสงิ่ ดงึ ดดู ใจมากทสี่ ดุ ซ่งึ ประกอบดว้ ยด้านแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางศาสนา ประวตั ศิ าสตร์ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ความนา่ สนใจในเรื่อง เอกลกั ษณ์ วฒั นธรรมและประเพณี ดา้ นความสวยงามของสถานทท่ี อ่ งเทยี่ ว ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเกบ็ รกั ษาตน้ ทนุ ทางวัฒนธรรมด้ังเดิมของจังหวัดน่านไว้ได้เป็นอย่างดีจึงเป็นที่ต้องการการเข้าถึงของกลุ่มนักท่องเท่ียว เบอรโล (Berlo) ไดใหค วามหมายการส่ือสาร (communication) หมายถงึ การสง่ ข้อมูลจากกลมุ่ หนึง่ ไปยังผู้รับข้อมูลอีก กล่มุ หนึ่ง โดยการใช้สัญลักษณ์ในการส่ือสารซึง่ มลี กั ษณะเป็นกระบวนการ (process) อกี อย่างหนึ่ง เชนเดยี วกับ พฒั นรปู แบบทางอตั ลกั ษณข์ องจงั หวดั นา่ นทมี่ กี ารพฒั นาและเคลอ่ื นไหวอยตู่ ลอดเวลา (dynamic) และไดน้ �ำ พา ข้อมูลเหลา่ น้ันส่งต่อไปยังผ้รู บั ใหไ้ ด้ทราบถึงความโดดเดน่ ของเมืองน่าน ภาพที่ 1 ภาพปู่ม่านย่าม่าน วาทกรรม กระซิบรักบนั ลอื โลก ในจติ รกรรมฝาผนงั ภายในวหิ ารวัดภูมนิ ทร์ จังหวดั นา่ น ทม่ี า: อิสเรส สขุ เสน.ี 2563
3 หลากหลายสง่ิ ท่ถี กู สร้างขนึ้ โดยมีภาพป่มู า่ นยา่ ม่าน กระซิบรักบนั ลือโลก และภาพอตั ลักษณ์อนื่ ๆ เชน่ เรอื แขง่ โบราณ พระธาตแุ ชแ่ หง้ มาสรา้ งแรงบนั ดาลใจในการผลติ ผลงานเพอื่ สนองตอ่ ความตอ้ งการทางเศรษฐกจิ ภาพปมู่ ่านยา่ ม่านถูกน�ำ มาใช้เป็นอตั ลกั ษณใ์ นรูปแบบตา่ ง ๆ มากมายตง้ั แตก่ ารสรา้ งงานศิลปะในรูปแบบศิลปะ สมยั ใหมท่ ส่ี ามารถพบเหน็ ไดต้ ามรา้ นขายภาพงานศลิ ปะ หอแสดงศลิ ปะ ทศี่ ลิ ปนิ พยายามถา่ ยทอดออกมาใหเ้ หน็ ในรปู แบบตา่ ง ๆ จนท�ำ ใหภ้ าพการกระซบิ รกั นไี้ ดแ้ พรก่ ระจายเขา้ ไปอยใู่ นแทบทกุ ๆ ทข่ี องเมอื งนา่ นหรอื ในทกุ ๆ สอื่ ทส่ี รา้ งสรรคข์ น้ึ โดยหอศิลปร์ ิมน่านกอ่ ตงั้ ข้ึนโดยคณุ วนิ ยั ปราบรปิ ู และเปิดให้เขา้ ชมตงั้ แต่ พ.ศ.2547 เป็นต้น ซึ่งภายในหอศิลป์งานศิลปะหลายชิ้นมุ่งสร้างสร้างสรรค์งานท่ีสอดคล้องกับการถ่ายทอดผลงานของหนานบัวผัน ศลิ ปนิ ท่เี ป็นแรงบันดานใจในงานศลิ ปะเมืองนา่ น ภาพที่ 2 งานศิลปะร่วมสมัยท่ีจัดแสดงในหอศิลป์รมิ นา่ น ตำ�บลบ่อ อ�ำ เภอเมือง จังหวดั น่าน ที่มา: อสิ เรส สขุ เสน.ี 2563 จากงานศิลปะที่มุ่งเน้นแสดงความเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของศิลปินหนานบัวผันถูกถ่ายทอดสู่งานศิลปะ ท่ีเน้นเชิงพานิชย์มากข้ึนด้วยการนำ�เอาอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่นนี้ไปเป็นส่วนประกอบต่าง ๆ ของสินค้า โดยใน ปีพ.ศ. 2560 น้ันมีนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเข้ามาเที่ยวในจังหวัดน่าน เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายท่ีมีช่วง อายุประมาณ 25-35 ปี นักท่องเท่ียวส่วนใหญ่เน้นการท่องเท่ียวที่เกี่ยวข้องกับการทำ�บุญ การพักผ่อนหย่อนใจ และการช่นื ชมงานศลิ ปะโบราณ (จติ รา ปัน้ รปู , 2561) จากรายงานของสำ�นักงานสถติ ิจงั หวัดน่านตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2552-2561 นนั้ พบวา่ จงั หวดั นา่ นมนี กั ทอ่ งเทย่ี วเพมิ่ ขน้ึ ทกุ ปอี ยทู่ ร่ี อ้ นละ 4.6 และมรี ายไดจ้ ากนกั ทอ่ งเทย่ี วอตั รา การเตบิ โตเพม่ิ ข้ึนรอ้ ยละ 8.5 (สำ�นกั งานสถติ จิ งั หวดั นา่ น, 2562) ซง่ึ หลายคนทเ่ี ขา้ มาเทย่ี วเมืองน่านนั้นตอ้ งการ ทจี่ ะไดเ้ ขา้ มาสมั ผสั ถนนคนเดนิ ขว่ งเมอื งนา่ นในยามค�ำ่ คนื เขา้ มาสมั ผสั บรรยากาศการกนิ ขา้ วในบรเิ วณขว่ งแบบ ขันโตกซึ่งเป็นวัฒนธรรมอันดีงามของเมืองน่าน ในปัจจุบันรายได้จากการการท่องเท่ียวนี้ถือเป็นรายได้ที่มีความ ส�ำ คญั ต่อการพัฒนาเมืองน่านเป็นอยา่ งยิง่ (วีระศิษฏ์ แก้วปอ่ ง, 2563)
4 ภาพท่ี 3 ภาพกระซบิ รกั บนั ลือโลกในงานศิลปะ ของตกแตง่ บ้าน สื่อประชาสมั พนั ธ์ และสนิ คา้ ของที่ระลกึ ทมี่ า: อิสเรส สขุ เสนี. 2563 การเข้ามาสัมผัสเมืองน่านถือเป็นความใฝ่ฝันของนักท่องเที่ยวหลายคนท่ีอยากจะเข้ามาสัมผัสความ เป็นธรรมชาติที่บริสุทธ์ิในเขตป่าเขาสุดชายแดนประเทศไทยท่ีมีกล่ินไออารยธรรมในแบบล้านนา ล้านช้าง การ สร้างสรรค์พ้ืนท่ีการนำ�เสนอมุมมองในวิถีชีวิตแบบสโลว์ไลฟ์ (Slow Life) ทั้งท่ีสปัน บ่อเกลือ เมืองปัว และอีก หลาย ๆ แหง่ ถกู สรา้ งอตั ลกั ษณท์ โ่ี ดดเดน่ สรา้ งความเปน็ ตวั ตนขน้ึ มาและน�ำ เสนอผา่ นชอ่ งทางสอ่ื ตา่ ง ๆ มากมาย ใหก้ ลุ่มนักทอ่ งเที่ยวได้รับรู้ถงึ ความน่าสนใจของน่าน ดว้ ยทนุ ทางวัฒนธรรมด้ังเดมิ ทมี่ มี าหลายร้อยปีได้ถูกใชเ้ ป็น จดุ ขายทส่ี �ำ คญั คอื ...ยงั ไมไ่ ดแ้ อว่ ขว่ งนา่ น กย็ งั ไมถ่ งึ เมอื งนา่ น ยงั ไมไ่ ดถ้ า่ ยรปู คกู่ บั ปมู่ า่ นยา่ มา่ น จะเรยี กวา่ มา เมืองนา่ นไดจ้ ะได๋... ภาพท่ี 4 ภาพนักทอ่ งเท่ียวถา่ ยภาพคกู่ บั อัตลักษณ์การกระซิบรกั บันลอื โลก ที่มา: อิสเรส สขุ เสนี. 2563
5 อ้างองิ จิตรา ปั้นรูป และคณะ. 2561. แนวทางการพัฒนาการตลาดท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดน่าน. วารสาร วิชาการแพรวากาฬสินธ์ุ มหาวิทยาลัยกาฬสนิ ธุ์ 5 (3). จริ ศกั ด์ิ เดชวงคญ์ า. 2546. จติ รกรรมฝาผนงั วัดภูมนิ ทร์ จงั หวดั น่าน. วารสารเมอื งโบราณ 29(4). 21. เถกิง พัฒโนภาษ. 2551. สัญศาสตร์ กับ ภาพแทนความ. วารสารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . (57)1. 41 วนิ ัย ปราบริป.ู 2551. ตัวตนศิลปนิ หนานบวั ผนั รูปแบบอัตลักษณ์สำ�คญั บนจิตรกรรมฝาผนงั วัดภมู ินทรแ์ ละวดั หนองบวั จังหวัดนา่ น”. ศิลปวฒั นธรรม. 29(7). 50 วีระศิษฏ์ แก้วป่อง และทัศนาวลัย อุฑารสกุล. 2563. ปัจจัยทุนทางสิ่งแวดล้อม ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม และทุนทางเศรษฐกิจท่ีส่งผลกระทบต่อกิจกรรมถนนคนเดินข่วงเมืองน่าน จังหวัดน่าน. วารสารสิ่ง แวดล้อมสรรคส์ รา้ งวนิ จิ ฉยั คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น 19(3). ศรนิ ทรท์ ิพย์ คาวาโนเบะ. 2554. แรงจูใจและพฤติกรรมนกั ท่องเท่ยี วชาวไทย กรณีศกึ ษาอ�ำ เภอเมือง จงั หวดั นา่ น. ปริญญาบรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร.ี สำ�นักงานสถิติจังหวัดน่าน. 2562. สถิติน่าสนใจในจังหวัด : การท่องเที่ยวเมืองน่าน ปี 2552-2561. สืบค้น เมอ่ื 28 พฤศจกิ ายน 2563. จาก http://nan.nso.go.th/ บทสมั ภาษณ์ วินัย ปราบริป.ู ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ 20 พฤศจกิ ายน 2563.
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: