1 เคร่อื งสักการบูชาในพระพุทธศาสนาเมืองหลวงพระบางกบั การสรา้ งมูลค่าทางเศรษฐกิจ เฉลมิ พล แสงแก้ว1 รหัสนกั ศกึ ษา 617220002-5 “ลาวเป็นดินแดนแห่งพุทธศาสนา” มีวัดวาอารามอยู่แทบทุกหัวเมือง ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในลาว มีวัดวาอารามท่ัวประเทศกว่า 5,000 วัด มีพระภิกษุในประเทศ ราว 22,000 รปู พระธาตุหลวงเปน็ สถานท่ีสาคัญทางพุทธศาสนา และมีงานฉลองท่ีเรียกว่า “บุญนมัสการ พระธาตุหลวง” ในเดือนพฤศจิกายนวันเพ็ญเดือน 12 ของทุกปี (วิกิพีเดีย, 2561) ท่ีกล่าวมาข้างต้นเป็น พยานไดด้ วี า่ ชาวลาวมคี วามเลื่อมใสในพระพทุ ธศาสนาเพียงใด ในทุกวันพระชาวลาวพากันไปทาบุญที่วัด ตอนเช้าชาวบ้านยืนคอยใส่บาตรให้แก่พระภิกษุ มีงานฉลองพระธาตุเจดีย์ งานทาบุญตามวัดวาต่างๆ ตามประเพณีนิยมแทบทุกเดือน (องค์การท่องเที่ยวแห่งชาติ สปป.ลาว, 2537) ประเทศลาวยังคงรักษา ความบริสุทธ์แิ หง่ เชื้อชาตแิ ละวฒั นธรรมไทเดมิ มากกวา่ คนไทสาขาอื่นๆ ทั้งหมด รูปร่างอันสมส่วนของเขา รวมกับกริ ยิ ามารยาทอนั สุภาพออ่ นโยนและนม่ิ นวล สง่าผ่าเผย การศึกษาอบรมกับศาสนาท่ีนับถือของเขา เวลามีงานบุญหรืองานประเพณีทางศาสนามักพร้อมเพรียงกันทาบุญ ช่วยเหลืองานกันด้วยความเต็มใจ และยังคงรักษาวัฒนธรรมจารีตประเพณีเดิมอย่างเคร่งครัด (บุญช่วย ศรีสวัสด์ิ. 2547) โดยเฉพาะ “หลวงพระบาง” เป็นเมืองที่ องค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้เป็น มรดกโลก ซง่ึ ไดร้ บั การข้ึนทะเบียน ให้เป็นมรดกโลกด้วยเหตุผล คือ มี วั ด ว า อ า ร า ม เ ก่ า แ ก่ ม า ก ม า ย มีบ้านเรือนอันเป็นเอกลักษณ์โค โลเนียลสไตล์ ตัวเมืองต้ังอยู่ริมน้า โขงและน้าคาน ซึ่งไหลบรรจบกัน ทา่ มกลางธรรมชาติอนั งดงาม และ ชาวหลวงพระบางมีบุคลิกที่ย้ิมแย้มแจ่มใส เป็นมิตร และมีขนบธรรมเนียมประเพณีที่งดงาม ซ่ึงตรงกับ เกณฑพ์ จิ ารณาของยเู นสโก หลวงพระบางเป็นเมืองเก่าแก่ของอาณาจักรล้านช้าง ตั้งแต่สมัยสถาปนาอาณาจักร ซ่ึงแต่เดิม มีช่ือว่า เมืองชวา (ออกเสียงว่า ชัว) และเม่ือ พ.ศ. 1300 ขุนลอซ่ึงถือเป็นปฐมกษัตริย์ลาว ได้ทรงต้ังเมือง ชวาเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านช้าง และได้เปลี่ยนชื่อเมืองใหม่ว่าเชียงทอง ต่อมาในสมัยพระโพธิสาร ราชเจ้าพระองคไ์ ดอ้ าราธนาพระบาง ซึง่ เดมิ ประดิษฐานอยู่ทเ่ี มอื งเวียงคา ขึน้ มาประดิษฐาน 1 นักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรม ศลิ ปกรรม และการออกแบบ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
2 อยู่ท่เี มืองเชียงทองอนั เปน็ นครหลวง เมอื งเชยี งทองจงึ ถูกเรียกว่า หลวงพระบาง นบั แตน่ ้ันมา (บรุ ินทร์ เปลง่ ดสี กลุ , 2556) เมืองหลวงพระบางได้ชื่อว่า เป็นศูนย์กลางทางสถาปัตยกรรมและ ศิลปกรรมลาว มีความเจริญรุ่งเรืองเมื่อ ศตวรรษท่ี 16, 17, 18, และ 19 พื้นท่ี บริเวณวัดเชียงทอง (สร้างในศตวรรษท่ี 16) ธาตุหมากโม (สรา้ งในศตวรรษท่ี 16) วัดใหม่ (สร้างในศตวรรษที่ 18) ทั้งหมด น้ีได้ช่ือว่าเป็นโบราณสถานล้าเลิศแห่ง สถาปตั ยกรรมของลาว วัดเหล่านี้ประดับ ประดาด้วยลวดลายอันประณีตหุ้มด้วยทองคา และลวดลายอยู่หน้าอุโบสถน้ัน เป็นหนึ่งเดียวไม่มีใคร เหมือน มีสถานที่ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท่ีสวยงามหลายแห่ง ไว้ต้อนรับทุกท่านที่เดินทางมา ท่องเท่ียว (องคก์ ารทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ สปป.ลาว, 2537) วัดในเมืองหลวงพระบางซึ่งมีศาสนาคาร ที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์มีลวดลายโดดเด่น ไม่ซ้ากับวัดอ่ืน และแสดงถึงรูปแบบ สัญลักษณ์ และวิถีวัฒนธรรม ซ่ึงมีวัดในเขตมรดกโลกหลวงพระบาง มากถงึ 30 วัด (ธนสิทธิ์ จนั ทะรี, 2558) นับต้ังแต่สมัยพระเจ้าฟ้างุ้มเป็นต้นมา พระพุทธศาสนาได้รับการ ทานุบารุงฟ้ืนฟูให้เจริญรุ่งเรือง มีบทบาทสาคัญในการดาเนินชีวิตในทุกส่วนของสังคมล้านช้าง ท้ังในแง่ท่ี เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ เป็นศูนย์กลางของความเชื่อถือศรัทธา ในแง่จารีตวัฒนธรรมประเพณี พุทธศาสนาก็เป็นแกนหลักในการกาหนดโลกทัศน์ ค่านิยม ประเพณีที่แทรกอยู่ในวิถีชีวิตของผู้คนตั้งแต่ เกิดจนถึงตาย มีการนาหลักคติธรรมของพระพุทธศาสนา ที่ผสมผสานสอดคล้องกับความเช่ือดั้งเดิมของ คนในสังคม โดยเฉพาะความเช่ือในเร่ืองผีฟ้าผีแถนมากาหนด เป็นหลักในการควบคุมในสังคมในรูปของ ฮีต – คอง หรือ ฮีตสิบสอง คองสิบส่ี หรือในแง่ของการปกครอง ก็ยังมีการนาหลักธรรมในพุทธศาสนามา ใช้เป็นแม่บทในการสร้างตัวแม่กฎหมาย ในแง่ของการศึกษา พุทธสาสนาก็เข้าไปมีบทบาทสาคัญในการ พัฒนาด้วย (อนินทร พุฒิโชติ, 2547) ดังปรากฏเป็นรูปธรรมจากการสร้างงานศิลปะตามความเช่ือใน คมั ภรี ์เตภมู กิ ถา เปน็ เหตใุ ห้เกดิ สญั ลักษณ์ทสี่ ่ือสารด้วยงานพุทธศิลป์ประดับอาฮาม ซึ่งล้วนเป็นสัญลักษณ์ ที่บ่งบอกความเช่ือในเรื่องภพภูมิ อดีตชาติ เร่ืองบุญบาป เร่ืองกรรมและผลของกรรม เรื่อง สวรรค์ นรก (จานง กิติสกล, 2557) ซ่ึงล้วนเป็นความเช่ือทางพระพุทธศาสนา ก็ได้ถ่ายทอดสืบต่อมาจากคนรุ่นเก่าถึง คนรุ่นปัจจบุ นั ดงั จะเห็นได้จากคนเมืองหลวงพระบาง จะต่ืนมาใส่บาตรแต่เช้าเป็นประจาทุกวัน พระสงฆ์
3 ออกรบั บาตรเป็นแถวยาวเหยยี ด มีเครื่องสักการบูชาพระวางสักการะตามวัดวาอาราม ตามพระธาตุต่างๆ เป็นจานวนมาก จากการเดินทางไปศึกษาดูงานด้านศิลปวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม ณ นครหลวงเวียงจันทน์ และเมืองหลวงพระบาง ระหวา่ งวันที่ 21 – 25 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561 ของผู้เขียนสังเกตเห็นว่า ในตลาด ตามร้านค้าริมถนน ตามบริเวณแยกถนนเส้นต่างๆ และบริเวณทางเข้าวัดหรือพระธาตุ ในเมืองหลวง พระบาง จะมีเครื่องสักการบูชาท่ีทาด้วยใบตองและประดับดอกดาวเรือง วางจาหน่ายให้เห็นอยู่เป็นการ ท่ัวไปของเมอื ง และเมื่อเข้าไปในสิม ในวิหาร และพระธาตุต่างๆ ในเมืองจะเห็นเคร่ืองสักการบูชาอยู่หน้า พระพุทธรูปประธานและฐานพระธาตุอยู่ทุกแห่ง โดยเฉพาะท่ีวิหารพระธาตุพูสีจะมีผู้คนนามาบูชาเป็น จานวนมาก ซ่ึงจากการสอบถามคนขายได้ทราบว่า ส่ิงท่ีคนนาไปบูชาพระพุทธรูปหรือพระธาตุนั้น เรยี กวา่ ขนั หมากเบง็ หรือขนั บูชา กเ็ รียก ประภัสสร ผลเพิม่ (2544) ไดอ้ ธบิ ายวา่ เครอื่ งสักการะ เป็นศลิ ปะพนื้ บ้านที่สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิต ในแต่ละชุมชน เป็นงานศิลปะพ้ืนฐานที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ผสมผสานความสัมพันธ์ของสภาพ ความเป็นอยู่กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติไว้ด้วยกัน มีความแตกต่างที่สามารถแยกแยะออกได้เป็น สัญลักษณ์ของแต่ละเผ่าพันธ์ุ ตามความเช่ือในท้องถ่ินของคนในการประดิษฐ์งามนั้นๆ เครื่องสักการะท่ี ประดิษฐ์คิดค้นจึงเป็นพลังแห่งการสร้างงานศิลปะที่มีคุณค่าทั้งทางสุนทรียภาพและทางจิตใจ โดยผู้ ประดิษฐ์จะสอดใส่จิตวิญญาณแห่งความเคารพรักและศรัทธาลงไปด้วย เคร่ืองสักการะที่ใช้ในทาง พระพุทธศาสนามีรูปแบบไม่แตกต่างกันมากนัก การสร้างงานศิลปะเกิดจากภูมิปัญญาท้องถ่ินเป็นมรดก ทางวัฒนธรรมทีค่ วรไดร้ บั การทานุบารุงรกั ษาและส่งเสริม เครื่องสักการะ จึงหมายถึง วัสดุส่ิงของท่ีใช้ในงานพิธีกรรมของชาวพื้นบ้านท่ีจัดหา จัดทาจาก วัสดใุ นทอ้ งถน่ิ เพ่ือเป็นเครอ่ื งบุชา และการขอสมาลาโทษ หรือขอพร ซึง่ ความเชื่อในทางพระพุทธศาสนาท่ี พบเห็นได้ในพิธีกรรมและงานประเพณีท่ีสาคัญของล้านนาไทย เคร่ืองสักการะท่ีพบเห็นได้บ่อยครั้งคือ หมากสุ่ม หมายถึง การนาหมากท่ีผ่าซีกร้อยเรียงเป็นเส้นนามา “สุ่ม” บนโครงจนเต็มเพ่ือให้กับบุคคล ที่เคารพนับถือ หมากเบ็ง หมายถึง การนาหมากท้ังลูกจานวน 24 ผลมา “เบ็ง” คือติดตรึงเรียงกันให้ สวยงาม ต้นดอก หมายถึง การทาโครงสร้างเพ่ือนาไปใบไม้ดอกไม้มาสอดไว้ให้เต็มเป็นพุ่มดอกไม้ เป็น
4 เคร่ืองบูชาถวายพระหรือผู้มียศศักด์ิ หรือครูบาอาจารย์ผู้เป็นท่ีเคารพนับถือ ต้นเทียน เป็นการนาเทียน แท่งเล็กๆ จานวน 2 หรอื 3 แท่ง มามัดติดไม้ปลายแหลมปักบนโครงสร้าง ตกแต่งเป็นทรงพุ่ม และต้นผ้ึง หมายถึง การใช้ข้ีผึ้งทาเป็นดอกผูกปลายไม้ เสียบบนโครงสร้างมีฐานเป็น 3 หรือ 4 ขา มีจานวนดอกผึ้ง แล้วแต่จะหาได้มากหรือน้อย เพ่ือให้ผู้ที่เคารพไว้ใช้ทาเทียนเพื่อประกอบพิธีกรรมอ่ืนๆ ซ่ึงเครื่องสักการะ ท่ีว่านัน้ จะนามาใช้เป็นพุทธบูชาในงานกฐิน งานบวช และในการนาไปเคารพญาติผู้ใหญ่ เมื่อพิจารณาจะ เหน็ ว่า ในกล่มุ วัฒนธรรมไท (ล้านนา ล้านช้าง) มีการจัดทาและใช้เครื่องสักการบูชาท่ีเหมือนกันเนื่องจาก มีรากฐานวัฒนธรรมเดียวกัน ต่างกันบา้ งเพยี งวัสดุท่ีใชจ้ ดั ทาบางอย่างเท่านั้น ซ่ึงจากการสังเกตตามวัดและตามพระธาตุต่างๆ ในเมืองหลวงพระบางของผู้เขียน สิ่งท่ีชาวเมืองหลวงพระบางและนักท่องเท่ียวนาไปไหว้สักการบูชาพระพุทธรูปและพระธาตุน้ัน ก็จะประกอบด้วย ต้นผ้ึง ต้นเงิน และขันหมากเบ็งหรือขันบูชาท่ีทาด้วยใบตองประดับดอกไม้ โดยเฉพาะ ขันหมากเบ็งหรือขันบูชาพบมากที่สุด เนื่องจากมีการทาวางจาหน่ายตามตลาด ตามร้านค้า ตามวัด และ ตามพระธาตุต่างๆ อยู่เป็นการทั่วไป จากการพูดคุยกับแม่ใหญ่ม่วย อายุ 76 ปี (24 พฤศจิกายน 2561, สัมภาษณ์) ซึ่งเป็นคนขายเคร่ืองสักการบูชาอยู่บันได ทางข้ึนพระธาตุพูสี มีความสอดคล้องกับพ่อแก้ว อายุ 59 ปี (25 พฤศจิกายน 2561, สัมภาษณ์) พ่อค้าขายเคร่ืองสักการบูชาอยู่สี่แยกไปรษณีย์หลวงพระ บาง เกีย่ วกับช่ือเรียก ราคาขายและรายได้จากการขาย โดยสามารถสรปุ ข้อมูลได้ ดงั น้ี เครอ่ื งสักการบชู า ชอ่ื เรยี ก ราคาขาย 1) ขันธรรมใหญ่ 50,000 กบี (ขาย 200 บาท) 2) ขนั ธรรม 3) ขันธรรม 30,000 (ขาย 120 บาท) 4) ขัน 45 (ใส่กรวยใบตอง 20,000 (ขาย 80 บาท) ตามอายุคนบูชา) 20,000 (ขาย 80 บาท) 5) ขันธรรมน้อย 5,000 (ขาย 20 บาท) 6) ซวยสมมา(กรวยขอขมา) 1,000 (ขาย 5 บาท) ในส่วนรายได้จากการขายเครื่องสักการบูชาน้ันจะขายได้วันละประมาณ 200,000 – 250,000 กีบ (ประมาณ 1,000 บาท) ถ้าในวันท่ีมีบุญมีงานก็จะขายได้ถึง 500,000 กีบ ซ่ึงก็จะนานๆ คร้ัง จากรายได้ต่อวันถ้าคิดเป็นรายได้ต่อเดือนก็ตกเดือนละ 6 – 7.5 ล้านกีบ แต่ก็ไม่ได้ขายทุกวันบางวัน ถ้าติดธุระอย่างอ่ืนก็จะไม่ได้มา หรือบางวันขายไม่ได้เลยก็มี แต่ก็ดีกว่าไม่ทาอะไรเลย โดยลูกค้าประจา จะเปน็ ชาวเมืองหลวงพระบางท่ีจะสั่งทาไว้และมาชื้อไปไหว้พระและใช้ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ส่วนลูกค้า
5 อ่ืนๆ ก็มีชาวจีน ชาวไทยท่ีมาท่องเที่ยวและไหว้พระ มีฝร่ังช้ือบ้างนานๆทีเน่ืองจากเขาไม่ได้นับถือ พระพทุ ธศาสนา พ่อแกว้ กลา่ ว จะเห็นได้ว่า เครื่องสักการบูชาในพระพุทธศาสนาท่ีปรากฏให้เห็นในเมืองหลวงพระบาง ไม่ว่าจะ เป็นขันธรรม ขัน 45 และซวยสมมาน้ี แต่ด้ังเดิมนั้นใครจะบูชาพระหรือต้องใช้เคร่ืองสักการบูชาก็จะต้อง ลงมือทาเองด้วยศรัทธาของคนๆนั้น แต่ในวิถีปัจจุบันกับการเป็นเมืองมรดกโลกของหลวงพระบาง ที่ต้องเก่ียวพันธ์กับการท่องเที่ยวและค้าขายในระบบเศรษฐกิจ วิถีชีวิตของชาวเมืองก็เปลี่ยนแปลง ตามไปด้วย เคร่ืองสกั การบชู าจงึ เพม่ิ บทบาทมาเปน็ สินค้า เครื่องซื้อหาอีกประเภทหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับ ชาวบ้าน จากรายได้เล็กน้อย เป็นรายได้เสริม และเป็นรายได้หลักของพ่อค้าแม่ค้าหลายๆ คน ในเมืองหลวงพระบาง ซึ่งสอดคล้องกับสุจินดา เจียมศรีพงษ์ และปิยวัน เพชรหมี (2560) ที่กล่าวว่า การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะให้ตรงกับความต้องการของตลาด เป็นส่ิงจาเป็น โดยการทาให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้เกิดคุณค่าทางสังคมและมีมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างเป็น รูปธรรมมากข้ึน เพราะนอกจากเป็นการอนุรักษ์ให้ผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่นคงอยู่กับ ชุมชนแล้ว ยังเป็นการนาเอาทุนทางวัฒนธรรมของแต่ละท้องถ่ินมาพัฒนาต่อยอดเพ่ือเพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจ ทาให้ชุมชนและคนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น “ขันบูชาท่ีทาด้วยใบตองประดับดอกไม้” ที่มาจากความเช่ือ ความศรัทธา และภูมิปัญญา เป็นเคร่ืองสักการบูชาในพระพุทธศาสนาเมืองหลวง พระบาง จงึ เป็นการสรา้ งมูลค่าทางเศรษฐกิจโดยแท้
6 เอกสารอ้างอิง แกว้ . (25 พฤศจิกายน 2561). สัมภาษณ.์ พ่อคา้ ขายเคร่ืองสักการบชู า เมอื งหลวงพระบาง. จานง กติ ิสกล. 2557. คตสิ ญั ลักษณง์ านพุทธศิลป์ในอาฮามเมืองหลวงพระบาง. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวฒั นธรรม บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . ธนสทิ ธิ์ จนั ทะรี. 2558. รปู แบบและคติสญั ลักษณท์ างวฒั นธรรมในลวดลายศาสนาคาร เมอื งหลวงพระบาง. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาวจิ ัยศิลปะ และวัฒนธรรม บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. บรุ ินทร์ เปล่งดสี กลุ . 2556. จติ รกรรมร่วมสมัยลาว : ภาพสะท้อนสงั คมและวัฒนธรรม ปี ค.ศ.1959 - 2010. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาปรัชญาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวชิ าวจิ ัยศลิ ปะ และวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. บญุ ชว่ ย ศรีสวสั ด.ิ์ 2547. ราชอาณาจกั รลาว. พิมพ์คร้งั ท่ี 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพเ์ กศสยาม. ปภสั สร ผลเพ่มิ . 2544. การประดษิ ฐเ์ คร่ืองสักการะ หมากสมุ่ หมากเบ็ง ต้นดอก ต้นเทียน ตน้ ผงึ้ ในจงั หวดั เชียงใหม่. เชยี งใหม่: คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่ ม่วย. (24 พฤศจิกายน 2561). สัมภาษณ.์ แมค่ า้ ขายเคร่ืองสักการบูชา เมืองหลวงพระบาง. ศาสนาในประเทศลาว. [ม.ป.ป]. [ออนไลน์]. สืบคน้ 28 พฤศจิกายน 2561 เข้าถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ . สุจินดา เจียมศรีพงษ์ และปยิ วนั เพชรหมี. (2560, ตุลาคม – ธันวาคม). การสรา้ งมูลค่าเพิ่มของผลติ ภณั ฑ์ จากภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ไทย : กรณศี ึกษา ผ้าทอลายโบราณ. วารสารการวจิ ัยเพือ่ พัฒนาชุมชน, 10(4), หนา้ 62 – 85. องค์การท่องเทีย่ วแห่งชาติ สปป.ลาว, นสพ.เพือ่ นชีวติ . มรดกและแหลง่ ท่องเทย่ี วลาว. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพเ์ พ่ือนชีวิต; 2537. อนนิ ทร์ พุฒโิ ชต.ิ 2547. ความสมั พันธ์เชงิ นโยบายระหว่างการศกึ ษากับการพฒั นาเศรษฐกจิ ลาว ภายใต้ “จนิ ตนาการใหม่” ค.ศ. 1986-2000. ขอนแกน่ : คลังนานาธรรม.
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: