ความเหล่ือมลำ้ ทางการศกึ ษาของเดก็ หลวงพระบาง เมื่อได้ก้าวเข้ามายังเมืองหลวงพระบาง สิ่งที่น่าหลงใหลนอกจากเมืองและธรรมชาติที่สวยงามใน เมืองหลวงพระบางแล้ว อีกสิ่งหนึ่งท่ีเป็นมนต์เสน่ห์ของเมอื งหลวงพระบาง คือผู้คนชาวหลวงพระบางนั้นเอง รอยยิ้มของผู้คนที่ยิ้มให้นักท่องเที่ยวชวนสร้างความประทับใจให้กับทุกพื้นที่ในหลวงพระบางนี้คือสิ่งท่ี นกั ท่องเท่ยี วทุกคนต่างพดู เป็นเสียงเดียวกัน แต่ทว่าในอีกมุมหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวของหลวงพระบางในวันจันทร์ มีเด็กกลุ่มหนึ่งที่ไม่ได้ไป โรงเรียนโดยเด็กกลุ่มนี้กำลังยื่นสิ่งของบางอย่างที่เป็นของที่ระลึกใส่มือนักท่องเที่ยว ทำให้เกิดคำถามว่า เหตใุ ดทำไมจึงมเี ด็กบางกลมุ่ ทีไ่ ม่ได้ไปโรงเรยี น ทง้ั ท่ปี ระเทศลาวมกี ารศึกษาภาคบงั คับทเี่ ด็กๆต้องเข้าเรียน
ข้อมูลการศึกษาในประเทศลาวนั้นจัดระบบการศึกษาเริ่มตั้งแต่ระดับอนุบาลและก่อนวัยเรียน โดย โรงเรียนในประเทศลาวมีทั้งโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน เปิดรับนักเรียนเมื่ออายุ 3 ถึง 6 ปี ใช้เวลาเรียน 3 ปี มีระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง ระดับชั้นอนุบาล 3 เมื่อจบจากระดับชั้นอนุบาลก็เลื่อนชั้นไปเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาต่อไป อัตราการรู้หนังสือในประเทศลาวใน พ.ศ. 2548 อยู่ที่ 73% (83% ชาย และ 63% หญิง) การแบ่งระดับการศึกษา ประถมศึกษา ระดับประถมศึกษาในประเทศลาวใช้เวลาเรียน 5 ปี เด็กจะเริ่มเข้า เรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดบั นีค้ ือเป็นการศึกษาภาคบังคบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ใช้เวลาในการศึกษา 4 ปี และในอนาคตจะให้เด็กได้เรียนภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ใช้เวลาในการศึกษา 3 ปี อุดมศึกษา รวมถึงการศึกษาด้านเทคนิค สถาบันการศึกษาชั้นสูงหรือมหาวิทยาลัย ซึ่งอยู่ในความ ดูแล และรับผิดชอบของกรมอาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ ยกเว้นการศึกษาเฉพาะทางซึ่งอยู่ ในความดูแลของกระทรวงอื่น โดยเมอ่ื เด็กจบการศึกษาในระดับประถมและมธั ยมศึกษาแล้ว จะมีการคัดเลือก นักเรียนเพื่อเสนอกระทรวงศึกษาธิการให้เด็กได้เข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น สายอาชีพ ใช้เวลาศึกษา 3 ปี ในวทิ ยาลยั เทคนิคต่างๆ เชน่ ทางด้านไฟฟา้ ก่อสร้าง บญั ชี ป่าไม้ เป็นต้น ลาวยังดอ้ ยพัฒนาเป็นท่ีทราบกนั ดีว่าระบบการศึกษาของลาวมปี ัญหาในหลายดา้ น แต่ปัญหาที่มักจะ ถูกหยิบยกมาพูดถึงก็คือปัญหาด้านปริมาณ ซึ่งหมายถึง ปัญหาที่เด็กลาวไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาได้มาก เพียงพอที่จะสนับสนุนการทำงานในอนาคต เช่น มีเด็กลาวจำนวนไม่น้อยที่ต้องออกจากการเรียนกลางคัน ห รือครอบครัวไม่สามารถแบกรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษาทำ ให ้ไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาได้ อีกปัญหาหนึ่งที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่ากันและได้รับความสนใจ คือ ปัญหาด้านคุณภาพ ซึ่งผล การสำรวจความพึงพอใจของภาคธุรกิจและผลการสอบวัดทักษะพื้นฐาน บ่งชี้ถึงปัญหาว่าความสามารถของ เด็กนักเรียนลาวยังอยู่ในระดับต่ำ และมีทักษะไม่เพียงพอที่จะตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน แม้วา่ ท้งั สองมติ ิปัญหาจะมีความสำคญั อย่างย่ิงต่อการพัฒนาการศึกษาของลาว แตย่ ังมอี กี มิติหน่ึงท่ีเป็นปัญหา ที่สำคัญทางด้านการศึกษาที่ควรไดร้ บั การจัดการแก้ไขเช่นเดยี วกัน มิติที่สำคัญดังกล่าว ก็คือ มิติความเหลือ่ ม ล้ำทางการศึกษา ซึ่งหมายถึง ความแตกต่างในผลลัพธ์ของการศึกษา อันเป็นผลเกี่ยวเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ ที่มากกว่าแค่คุณภาพของการเรียนการสอน แต่ครอบคลุมไปถึงปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ตั้งแต่ปัจจัย เฉพาะของนักเรียนแต่ละคน ปัจจัยทางด้านครอบครัว ไปจนถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ทำไมปัญหาความเหลอื่ มล้ำทางการศึกษาของลาวจงึ มีความสำคญั ผู้เขยี นมคี วามเห็นว่า การพัฒนา เฉพาะมิตทิ างด้านปรมิ าณและคุณภาพโดยไม่คำนึงถึงมติ ิความเหลื่อมล้ำ แมว้ า่ จะชว่ ยใหเ้ ดก็ ได้รบั การศึกษาใน ระดับทสี่ ูงข้นึ และชว่ ยสร้างทักษะที่ตอบสนองต่อตลาดแรงงาน แตป่ ัญหาความเหล่ือมล้ำ ซง่ึ สะท้อนออกมาใน รูปของผลลัพธ์ทางการศึกษาที่แตกต่างกัน จะทำให้โอกาสในอนาคตของเด็กไม่เท่าเทียมกัน ซึ่งจะนำไปสู่ ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมในที่สุด ผู้เขียนได้ทำการวิเคราะห์แยกองค์ประกอบของความเหลื่อมล้ำ ทางการศึกษาของลาว โดยอาศัยข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาสภาพปัญหา เพื่อประเมินความพร้อมของทักษะ ต่างๆ ที่สำคัญสำหรับการตอบรับความท้าทายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตมากกว่าที่จะเน้นความสามารถใน สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ ผลการสอบดังกล่าวจึงสะท้อนถึงความพร้อมของเยาวชนในแต่ละประเทศ ว่ามีความพร้อมมากนอ้ ยเพียงใดในการจะดำเนินชีวิตต่อไปในอนาคต
ผลการศึกษาใหข้ ้อสรุปทน่ี า่ สนใจ ประการแรก คือ ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของลาว โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นปัญหาที่สามารถ ปรบั เปล่ยี นแกไ้ ขได้ (เช่น การขยายขนาดโรงเรยี น การเพมิ่ จำนวนครู การใหค้ วามรู้แก่บิดามารดา) มากกว่าท่ี จะมาจากปัญหาที่ไมส่ ามารถเปลยี่ นแปลงได้ (เช่น ความฉลาดทางสตปิ ัญญา) ดงั นัน้ หากภาครัฐมีการกำหนด เป้าหมายและวิธีการที่เหมาะสม ย่อมสามารถที่จะบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของลาวให้ ลดลงได้ ประการที่สอง คือ ความเหลื่อมลำ้ ทางการศึกษา สว่ นใหญเ่ ป็นผลจากความแตกต่างกันทางด้านสถานศึกษา ซึ่งมีบทบาทของความเหลื่อมล้ำโดยรวม ในขณะที่ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว เช่น การอยู่ร่วมกันของ บิดาและมารดา ระดับการศึกษาของบิดาและมารดา รวมทั้งประเภทของอาชีพของบิดาและมารดา (กลุ่ม แรงงาน กลุ่มลูกจ้าง กลุ่มสูงกว่าลูกจ้าง) จะสามารถอธิบายความเหลื่อมล้ำในการศึกษาของนักเรียนในหลวง พระบางได้ ซ่ึงสะท้อนภาพว่า ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษาของลาวกว่าครึ่งเป็นผลมาจากความ แตกต่างทางดา้ นสถาบนั ครอบครัวเปน็ หลัก เปน็ ที่น่าเสยี ดายวา่ ปญั หาความจำกดั ของขอ้ มลู ทำใหไ้ มส่ ามารถ วิเคราะห์มูลเหตุของความเหลื่อมล้ำที่เหลือในมิติที่ลึกกว่าที่ได้พบเจอเวลานี้ โดยผู้เขียนมีความเห็นว่าความ เหล่อื มล้ำในส่วนนีจ้ ะซ่อนอย่ใู นปจั จัยสว่ นตวั ของแต่ละบคุ คลและปัจจยั ครอบครวั เป็นสำคัญ เน่ืองจากตัวแปร ท่ีสำคัญๆ ทไ่ี ม่ไดร้ วมอยูใ่ นการวิเคราะห์ครง้ั นจี้ ะอยู่ในตัวแปรสองกลุ่มดังกลา่ ว เช่น ความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) ทัศนคติของเด็กนักเรียนต่อการเรียนรู้ รูปแบบการอบรมของครอบครัว หรือวัฒนธรรมการเรียนรู้ใน ครอบครัว เปน็ ต้น ปัจจัยท่ีสำคญั ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อปัญหาความเหลื่อมล้ำ ซ่ึงสามารถใช้เป็นเป้าหมายในการ ลดทอนปัญหาความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศกึ ษาของลาว ได้แก่ การสนับสนุนใหค้ วามรู้แก่บิดามารดาท้ังทางด้าน การศึกษา และการประกอบอาชีพจะเป็นการช่วยเหลือเด็กนักเรียนทางอ้อมที่ให้ประสิทธิผลที่สูง
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: