Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความ การจัดการท่อเที่ยว :บ้านภูกับการอนุรักษ์วัฒนธรรม

บทความ การจัดการท่อเที่ยว :บ้านภูกับการอนุรักษ์วัฒนธรรม

Published by kanikl, 2020-12-22 02:59:14

Description: บทความ การจัดการท่อเที่ยว :บ้านภูกับการอนุรักษ์วัฒนธรรม

Keywords: การท่องเที่ยว,การจัดการ,การจัดการท่องเที่ยว,บ้านภู

Search

Read the Text Version

การจดั การทอ่ งเทย่ี ว:บา้ นภกู บั การอนุรกั ษว์ ฒั นธรรม โดย นายธนวฒั น์ มศี รี นกั ศกึ ษาชนั้ ปีท่ี 1 รนุ่ 11 สาขาวฒั นธรรม ศลิ ปกรรม และการออกแบบ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ บทนำ ทอ่ งเท่ียวตอ้ งทางานครอบคลมุ 5 ดา้ น พรอ้ มกนั ทงั้ การเมือง เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม และสงิ่ แวดลอ้ ม บทความนีจ้ ดั ทาขนึ้ เพ่ือชีใ้ หเ้ หน็ ถงึ พฒั นาการ โดยมี ชมุ ชนเป็นเจา้ ของและมีสว่ นในการจดั การ ซง่ึ กระบวนการจดั การ และ ปัจจยั สคู่ วามสาเรจ็ ในการ กระบวนการเรยี นรูข้ อง CBT : มีองค์ ประกอบท่ีสาคญั จดั การท่องเท่ียวโดยชมุ ชน โดยนาเอาชมุ ชนเลก็ ๆ ท่ีตงั้ คือ (1) ศักยภำพของคน ตอ้ งเรม่ิ ท่ีคนในชมุ ชนท่ี อยทู่ า่ มกลางขนุ เขาและมีวฒั นธรรมท่ีมีเอกลกั ษณใ์ น จะตอ้ งรูจ้ กั รากเหงา้ ของตนเองใหด้ ีเสียกอ่ น เพ่ือความ แบบฉบบั ของตวั เองมาศกึ ษา คือ ชมุ ชนบา้ นภู ตาบล พรอ้ มในการบอกเลา่ ขอ้ มลู และคนใน ชมุ ชนตอ้ งมีความ บา้ นเปา้ อาเภอหนองสงู จงั หวดั มกุ ดาหาร ท่ีไดร้ บั การ พรอ้ มท่ีจะเรยี นรู้ มีความสามคั คี ทางานรว่ มกนั ได้ (2) สนบั สนนุ จากกรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย ศักยภำพ ของพืน้ ท่ี หมายรวมถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ องคก์ ารบรหิ ารสว่ น จงั หวดั มกุ ดาหาร และมหาวิทยาลยั และวฒั นธรรมประเพณีภมู ปิ ัญญาทอ้ ง ถ่ินท่ีสืบสานต่อ ศลิ ปากร ท่ีรวมพลงั ชว่ ยผลกั ดนั ใหเ้ กิดการ พฒั นา กนั มา คนในชมุ ชนตอ้ งรูจ้ กั ตอ้ งรกั และหวงแหนเหน็ รูปแบบการจดั การทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชนบา้ นภทู ่ีเนน้ การ คณุ คา่ ของ ทรพั ยากรในชมุ ชนของตน สามารถท่ีจะ ทอ่ งเท่ียวเชิงอนรุ กั ษ์ วฒั นธรรมภไู ทขนึ้ ในปี พ.ศ. 2549 นามาจดั การไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ และย่งั ยืน (3) กำรจดั กำร จวบจนกระท่งั ในปัจจบุ นั โดยไมไ่ ดผ้ ่านงานวจิ ยั เพ่ือ ชมุ ชนท่ีจะสามารถบรหิ ารจดั การ การทอ่ งเท่ียวโดย ทอ้ งถ่ิน ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของสานกั งานกองทนุ ชมุ ชนไดต้ อ้ งเป็น ชมุ ชนท่ีมีผนู้ าท่ีเป็นท่ียอมรบั มี สนบั สนนุ การวจิ ยั โดย บทความนีจ้ ะชีใ้ หเ้ หน็ ถงึ ความคิด มีวิสยั ทศั น์ ความเขา้ ใจเรอ่ื งการทอ่ งเท่ียวโดย พฒั นาการของการทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน กระบวนการ ชมุ ชน ทงั้ ยงั ตอ้ งไดร้ บั ความรว่ มมือจากหน่วยงานทงั้ ดาเนินงาน และปัจจยั สคู่ วามสาเรจ็ ในการจดั การ ภาครฐั ท่ีเก่ียวขอ้ ง ตอ้ งมีการพดู คยุ กาหนดแนวทางใน ทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พนั ธ์ การเตรียมความพรอ้ มชมุ ชน รูว้ ่าพืน้ ท่ีของตน จะมี ระหวา่ งชมุ ชน เพ่ือเป็นตวั อยา่ งใหก้ บั ชมุ ชนอ่ืนๆ ในดา้ น รูปแบบการทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่งั ยืนไดอ้ ยา่ งไร ควรมี การ อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน เพ่ือยกระดบั การ กิจกรรมอะไรบา้ ง และจะมี การกระจาย จดั สรรรายได้ ทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชนใหพ้ ฒั นาตอ่ ไป อยา่ งไร และ (4) กำรมสี ่วนร่วม เป็นการส่อื ความ คดิ เหน็ การถกปัญหา รวมถงึ การหาทางแกไ้ ขปัญหา แนวคดิ และทฤษฎที ใี่ ช้ในกำรศกึ ษำ ตา่ งๆ จากการระดมความคดิ จากประสบการณข์ อง นกั วจิ ยั ทอ้ งถ่ิน พจนา สวนศรี (2546: 178-179) กลา่ ววา่ “การทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน (community base sustainable tourism) คือการทอ่ งเท่ียวท่ีคานงึ ถงึ ความ ย่งั ยืนของสิง่ แวดลอ้ ม สงั คม และวฒั นธรรม กาหนดทิศทางโดยชมุ ชน จดั การโดย ชมุ ชนเพ่ือชมุ ชน และชมุ ชนมีบทบาทเป็นเจา้ ของมีสิทธิในการจดั การดแู ล เพ่ือให้ เกิดการเรยี นรูแ้ กผ่ มู้ าเยือน” โดยมองวา่ การ

กระบวนกำรจัดกำรทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนบ้ำนภู คณะกรรมการนนั้ ๆ บรหิ ารไม่ ดี เชน่ การจดั การ ทอ่ งเท่ียวไมร่ าบร่นื เทา่ ท่ีควร การบรหิ ารผิดพลาด ไม่ การจดั การทรพั ยากรกบั จานวนนกั ทอ่ งเท่ียว เป็นไปตาม แผนท่ีวางเอาไว้ กจ็ ะมีการประชมุ เพ่ือ ในการจดั การทอ่ งเท่ียวของ บา้ นภู ไดม้ ีการจดั กิจกรรม หาทางแกไ้ ข หรือลงมติกนั ใหมอ่ ีกครงั้ หน่งึ หรอื ลดวาระ แหลง่ เรยี นรูช้ มุ ชนออกเป็น 6 ฐาน ไดแ้ ก่ ฐานลดราย การจดั การลงเหลอื 2 ปี เป็นตน้ สาหรบั ลกั ษณะ จ่าย ฐานเพ่มิ รายได้ ฐานประหยดั อดออม ฐานเรยี นรู้ โครงสรา้ งการ บรหิ ารการทอ่ งเท่ียว สามารถแบง่ ออกได้ ฐานอนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ฐาน ทงั้ หมด อยู่ 6 ฝ่าย ดงั นี้ เอือ้ อารี ซง่ึ การบรหิ ารจดั การคือ ใหน้ กั ทอ่ งเท่ียว แบง่ กลมุ่ เขา้ ไปศกึ ษาในแตล่ ะฐาน ซง่ึ จานวนท่ี 1. ฝ่ ำยแม่ครัว มีหนา้ ท่ีทาอาหารตอ้ นรบั แขก เหมาะสมท่ีสดุ คือ ประมาณฐานละ 50 คน หากมี หรอื นกั ทอ่ งเท่ียวท่ีมา เยือน มีทงั้ หมดอยู่ 2 กลมุ่ ๆ ละ จานวนนกั ทอ่ งเท่ียวท่ีมากเกินไปกจ็ ะมีการแบง่ กลมุ่ 10 คน ซง่ึ ในการปฏบิ ตั ิงาน กลมุ่ แมค่ รวั ทงั้ 2 กลมุ่ จะ ออกเป็น 16 กลมุ่ และมีการหมนุ เวียนเขา้ ฐานเป็น 2 หมนุ เวียนกนั ทาอาหาร รอบ และสาหรบั ในสว่ นของ 20 วารสารศิลปศาสตร์ ท่ี พกั จะมีบา้ นท่ีเปิดใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวเขา้ พกั ไดท้ งั้ สนิ้ 61 2. ฝ่ ำยปฏคิ ม มีหนา้ ท่ีจดั การตอ้ นรบั คือ จดั หลงั ซง่ึ จะสามารถพกั ได้ หลงั ละประมาณ 3-6 คนหาก สถานท่ี บรกิ ารนา้ ด่ืม มีสามาชิกอยู่ 10 คน มีจานวนนกั ทอ่ งเท่ียวท่ีมากเกินขีดความสามารถก็จะ มี บา้ นไวค้ อยใหบ้ รกิ ารเสรมิ และสง่ ใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวเขา้ พกั 3. ฝ่ ำยกำรเงนิ และบญั ชี มีหนา้ ท่ีบรหิ ารจดั กบั เครอื ข่าย แตค่ วามไม่ เพียงพอของท่ีพกั นนั้ ยงั ไมเ่ คย การเงิน และทาหนา้ ท่ีตรวจเซก็ สมาชิกในชมุ ชนท่ีเขา้ มีมาก่อน การจดั การทอ่ งเท่ียวของชมุ ชนบา้ นภนู นั้ มารว่ มวา่ มีใครบา้ ง เพ่ือจะไดบ้ รหิ ารจดั การคา่ แรงใหก้ บั ชมุ ชนบา้ นภมู ีกลมุ่ จดั การการ ทอ่ งเท่ียว ซง่ึ คนท่ีมา คนในชมุ ชนท่ีเขา้ มารว่ มอยา่ งยตุ ิธรรม จดั การท่องเท่ียวนนั้ สว่ นมากจะใชโ้ ครงสรา้ งของ กรรมการ หมบู่ า้ นเขา้ มาบรหิ ารจดั การ และแบง่ บทบาท 4. ฝ่ ำยดนตรี มีหนา้ ท่ีเลน่ ดนตร(ี ดนตรขี อง หนา้ ท่ีการจดั การตามความเหมาะสม (คณะกรรมการ วฒั นธรรมภไู ท) เพ่ือเผยแพร่ และสรา้ งความบนั เทงิ จดั การมีทงั้ หมด 12 คน) ทงั้ นีใ้ นการจดั การนนั้ ใหก้ บั นกั ทอ่ งเท่ียว และคนท่ีเขา้ มาศกึ ษาดงู าน คณะกรรมการ จดั การจะมีวาระการจดั การ 4 ปี ซง่ึ เม่ือ ครบ 4 ปี ชมุ ชนกจ็ ะมีการประชมุ เพ่ือลงมติ คดั เลอื ก 5. ฝ่ ำยกำรแสดง มีหนา้ ท่ีทาการแสดง เช่น คณะกรรมการจดั การใหมอ่ ีกครงั้ เวน้ แตว่ า่ ราภไู ท เพ่ือใหเ้ หน็ ถงึ กบั วฒั นธรรมภไู ท มีสมาชิก ทงั้ หมด 22 คน แบง่ เป็น แมบ่ า้ น 20 คน และเยาวชน 10 คน 6. ฝ่ ำยบริหำรจัดกำร มีหนา้ ท่ีดแู ล ประสานงาน วางแผน เตรียมงานการ ทอ่ งเท่ียว มี สมาชิกทงั้ หมด 12 คน

กำรจัดกำรในกำรอนุรักษว์ ฒั นธรรมชุมชนบำ้ นภู สรุป การจดั การวฒั นธรรมบา้ นภู ชมุ ชนบา้ นภมู ี การใชก้ ารทอ่ งเท่ียวเป็นเคร่อื งมือในการ ศกั ยภาพทางดา้ นวฒั นธรรม ดงั นี้ 1. วัฒนธรรมกำร พฒั นาชมุ ชนของชมุ ชนบา้ นภู ทาใหช้ มุ ชนมีความ แตง่ กำย ผชู้ ายน่งุ ผา้ มว่ ง โสรง่ กางเกง ผหู้ ญิงน่งุ ผา้ ซ่นิ ชดั เจนในการจดั การทอ่ งเท่ียวเพ่ือเปา้ หมาย 3 ประการ ผชู้ ายกบั ผหู้ ญิงตดั เสอื้ คนละแบบกนั และไมใ่ สเ่ สอื้ ผา้ คือ 1) การอนรุ กั ษแ์ ละฟื้นฟวู ฒั นธรรม ประเพณีดงั้ เดิม รว่ มกนั 2. วัฒนธรรมกำรทำมำหำกนิ ผชู้ ายทางาน ของชมุ ชน 2) การรกั ษาฐาน ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีมีอยู่ นอกบา้ น เก่งในเรอ่ื งของการ จกั สาน กลางวนั ชอบออก ในชมุ ชนใหส้ ามารถเกิดการใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งย่งั ยืน ทงุ่ นาดแู ลสตั วเ์ ลยี้ ง ไดแ้ ก่ โค สกุ ร ไก่ และทางานสวน 3) การแลกเปล่ียนเรยี นรูร้ ะหวา่ งคนในชมุ ชนและผมู้ า ผหู้ ญิงเป็นแมบ่ า้ น ทางานบา้ นทกุ อยา่ ง สว่ นใหญ่เก่งใน เยือน โดยเฉพาะในประเดน็ แรกจะเหน็ ความชดั เจนได้ เร่อื งการทอผา้ มกั ตงั้ ก่ีทอผา้ ไมใ้ นบา้ นเกือบทกุ หลงั คา มากท่ีสดุ เน่ืองจากวา่ ชมุ ชนมีเอกลกั ษณท์ างวฒั นธรรม เรอื น 3. วัฒนธรรมทำงภำษำ ชมุ ชนบา้ นภู มีภาษา ชาวภไู ทท่ีเป็นแบบฉบบั ดงั้ เดิมของตนเองชมุ ชนโดยมี เป็นของตนเอง คอื ภาษา ผไู้ ทย ชนเผา่ ภไู ทมีอยู่ การสืบทอดรุน่ ต่อรุน่ มาอยา่ ง ยาวนานโดยไมข่ าดสาย คอ่ นขา้ งมากในจงั หวดั มกุ ดาหาร มีอยเู่ กือบทกุ อาเภอ ท่ี ทาใหส้ ามารถอนรุ กั ษแ์ ละฟื้นฟไู ดง้ ่าย โดยชมุ ชนบา้ นภู มี มากไดแ้ ก่ อาเภอหนองสงู อาเภอคาชะอี อาเภอนิคม ได้ ดาเนินกิจกรรมการทอ่ งเท่ียวในหลากหลายรูปแบบ คาสรอ้ ย อาเภอดงหลวง ภาษาผไู้ ทยเป็นภาษาท่ีเรยี นรู้ ถงึ แมว้ า่ ชมุ ชนแหง่ นีจ้ ะไมไ่ ด้ เกิดจากการวจิ ยั ทอ้ งถ่ิน ไดเ้ รว็ กวา่ ภาษาอ่ืนๆ เช่น ขา่ โซ่ และมีเพียงภาษาพดู ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของสานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การ ภาษาเขียนไมม่ ี ตอ้ งอาศยั อกั ษรไทยในการเขียน วจิ ยั กต็ าม แตด่ ว้ ยพลงั ความสามคั คีเป็นนา้ หน่งึ ใจ 4. ประเพณีชุมชนภูไทบ้ำนภู ชาวภไู ทยดึ ถือประเพณี เดียวกนั กอปรดว้ ยความภมู ใิ จ รกั ในบา้ นเกิดของตน ตามฮีตสบิ สอง คลองสบิ ส่ี ในหมชู่ นเผา่ ผไู้ ทยเป็นหลกั เป็นแรงหนนุ ให้ ชมุ ชนบา้ นภเู ป็นตน้ แบบของการพฒั นา ประเพณีทกุ อยา่ งเก่ียวขอ้ งกบั ศาสนา โดยคลองสิบส่ี ชมุ ชนโดยใชก้ ารทอ่ งเท่ียวเป็นเคร่อื งมือในการพฒั นา คลอง มาจากคาวา่ ครรลอง แปลวา่ แนวทางการดาเนิน โดยยดึ หลกั เศรษฐกิจ พอเพยี งเป็นแนวทางในการ ชีวติ เพ่ือใหเ้ ป็นสิรมิ งคลต่อชีวิตตนเองและครอบครวั มี ดาเนินงานใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี อยู่ 14 แนวทาง คอื มี 3 ฝ่าย (ฝ่าย ฆราวาส , บรรพชิต และผปู้ กครอง) สว่ นฮีต สิบสอง เป็นประเพณีการ ทาบญุ ประจาเดือนเป็นสว่ นใหญ่ 5. ลำนวัฒนธรรมมี กิจกรรมการแสดงวิถีชีวิตการหาอยหู่ ากิน การฟอ้ น ประกอบลายตามจงั หวะเสียงกลองตมุ้ นาไปสศู่ นู ย์ เรยี นรูช้ มุ ชน ไดช้ มซือ้ หาสง่ิ ของ เครอ่ื งใช้ ผลติ ภณั ฑ์ ชมุ ชนท่ีหลากหลายในบรเิ วณลานวฒั นธรรม ภาค กลางคืนจะ ทาพธิ ีบายศรสี ขู่ วญั กินขา้ วพาแลงแกงกระ บงั้ เสรมิ ความเป็นสริ มิ งคลแก่ผมู้ าเยือน พรอ้ มกบั การ แสดงดนตรีพืน้ เมืองของกลมุ่ ภผู าขาวสาวภผู าแดงซง่ึ มี การฟอ้ น ประกอบหลายรายการ

เอกสำรอ้ำงองิ จงั หวดั มกุ ดาหาร. 2550. รายงานการประชมุ คณะอนกุ รรมการดา้ นเศรษฐกิจ จงั หวดั มกุ ดาหารครงั้ ท่ี 9/2550.ชมุ ชนบา้ นภ.ู 2549. เอกสารชมุ ชน เศรษฐกิจพอเพียงตน้ แบบภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ . พจนา สวนศร.ี 2546. เอกสารการสอนชดุ วิชา การจดั การนนั ทนาการและการ ทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติ. หนว่ ยท่ี 8-15. นนทบรุ :ี มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. วฒั นธรรมพืน้ บา้ นลา้ นนา. 2553. เชียงใหม:่ [ออนไลน]์ เวบ็ ไซต:์ http://lpn.nfe. go.th/montiga/main.html. 22 กรกฎาคม 2553.