Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุมชนท่องเที่ยวบ้านภู : ผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน

ชุมชนท่องเที่ยวบ้านภู : ผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน

Published by kanikl, 2020-08-20 01:35:30

Description: ชุมชนท่องเที่ยวบ้านภู : ผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อการ
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน

Keywords: บ้านภู,ท่องเที่ยว

Search

Read the Text Version

1 ชมุ ชนทอ่ งเทีย่ วบา้ นภู : ผลกระทบทางสังคมและวฒั นธรรมทม่ี ตี ่อการ พฒั นาแหลง่ ท่องเท่ียวชมุ ชน นางสาวพุทธรกั ษ์ จนิ ดาโรจน์ เลขประจำตวั นกั ศึกษา 6172200130 บทความนี้ ผู้ศึกษาจะนำเสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวชุมชน สภาพปัจจุบันของชุมชน ทอ่ งเทีย่ วบา้ นภู ตำบลบา้ นเปา้ อำเภอหนองสูง จังหวัดมกุ ดาหาร ผลกระทบทางสงั คมและวัฒนธรรมท่ีเกิดขึ้น รวมถึง นำเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขผลกระทบดังกล่าว โดยศึกษาจากเอกสารแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และการลงพื้นท่ีในวนั ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ปัจจุบันการท่องเที่ยวมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจในประเทศเป็นอย่างมาก ภาพรวมสถานการณ์ ท่องเที่ยวภายในประเทศไทยก็ได้มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เห็นได้จากรายได้จากการท่องเที่ยวในประเทศ ไทยในเดอื นเมษายน 2561 ขยายตวั จากชว่ งเดยี วกนั ของปีทผ่ี ่านมาร้อยละ 16.07 โดยรายไดจ้ ากนักท่องเที่ยว ตา่ งชาติขยายตวั ขยายตัวร้อยละ 17.55 และ รายไดจ้ ากนักท่องเทย่ี วไทย ขยายตวั ร้อยละ 12.21 รายไดร้ วมจากการท่องเทยี่ ว ตา่ งชาติเท่ยี วไทย 731 พันล้านบาท 998 พนั ลา้ นบาท +17.55% +16.07% ขอ้ มูล ณ เม.ย. 61 ไทยเทย่ี วไทย 267 พนั ลา้ นบาท +12.21% ข้อมลู ณ เม.ย. 61 ทม่ี า กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกีฬา ดังนั้นจึงปฏิเสธไม่ได้ว่า รายได้จากการท่องเที่ยว เป็นส่วนหนึ่งของการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของ ประเทศ และ การท่องเที่ยวชุมชนเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่จะกระจายรายได้ไปสู่คนในชุมชน ซึ่งเป็น เศรษฐกิจฐานรากของประเทศ การท่องเทย่ี วชุมชน (Community Based Tourism : CBT) หมายถงึ การท่องเท่ยี วที่คำนึงถึงความ ยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม สังคม และ วัฒนธรรม กำหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดยชุมชนเพื่อชุมชน และ ชุมชนมีบทบาทเปน็ เจ้าของ มีสิทธิในการจัดการดูแลเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้แกผ่ ู้มาเยือน สิ่งสำคญั ท่ีชุมชนตอ้ ง คดิ เมอื่ ตอ้ งการจัดการท่องเที่ยวชุมชนคือ สร้างชุมชนใหม้ คี วามภาคภูมิใจในตนเอง มีทรพั ยากรทผ่ี ลิตได้เอง มี องค์การที่เข้มแข็ง แนวคิดและแนวทางคนในจากชุมชน ไม่ใช่เกิดจากการสั่งการจากหน่วยงานรัฐ อย่างไรก็ ตามหน่วยงานรัฐมีหน้าที่สนับสนุนและให้คำแนะนำ โดยเฉพาะด้านการตลาด ทั้งนี้ชุมชนจะประสบ ความสำเรจ็ หรือไม่ ข้ึนอยู่กับศักยภาพของทรัพยากร กิจกรรมการทอ่ งเท่ียว การจัดการสงิ่ อำนวยความสะดวก

2 ที่ได้มาตรฐานเพื่อรองรับนักทอ่ งเทีย่ ว และการป้องกันผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาการท่องเที่ยว ซึ่งชุมชน ต้องวางแผนการพัฒนาให้เหมาะสม จัดรูปองค์การและการบริหารที่ดี ฝึกอบรมบุคลากรให้พร้อม สร้างความ เข้าใจกันอย่างสม่ำเสมอ มีการดำเนินการภายใต้คณะกรรมการ และหาจุดเด่นในท้องถิ่นนำเสนอให้แก่ นักท่องเทยี่ ว (พจนา สวนศรี. 2546) ในสว่ นของผลกระทบชมุ ชนเม่อื มนี ักท่องเท่ียวเข้าไปในชุมชน อาจก่อผลกระทบได้ทั้งด้านบวกและ ด้านลบ (วีระพล ทองมา. 2547) ได้แก่ 1. ผลกระทบด้านบวก ส่งผลใหช้ มุ ชนมีจิตสำนึกในการพฒั นาตนเอง พึ่งพาตนเอง คิดเป็นทำเป็น มี ความพยายามเรยี นพัฒนา เกิดรายได้เพม่ิ ขึ้นเมื่อมีการรวมตวั กัน สรา้ งความเขม้ แข็งในชุมชน นำไปสกู่ าร พัฒนาทีย่ ง่ั ยนื ทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมวัฒนธรรม และ ด้านส่งิ แวดล้อม และสงิ่ สำคัญประการหนงึ่ ที่จะ นำไปสู่ความย่งั ยืนคือการรวบรวมองค์ความรู้ ภมู ปิ ัญญา สบื สานสบื ทอด ตลอดจนการนำไปใชป้ ระโยชน์ได้ เกิด ความรักความภาคภมู ใิ นความรูส้ ึกเป็นเจ้าของ มสี ่วนร่วมในทรพั ยากรของชมุ ชน เกิดกระบวนการเรยี นรู้การ ทำงานรว่ มกันในท่ีสดุ 2. ผลกระทบด้านลบ เกดิ ปญั หาสิ่งแวดล้อม อาทิ จำนวนขยะทเ่ี พ่มิ มาขน้ึ จากนักท่องเท่ียว การใช้น้ำ ระบบนเิ วศธรรมชาติ การรับวัฒนธรรมที่เขา้ มาอย่างรวดเรว็ เกิดกระแสการเลียนแบบ มคี วามขัดแยง้ ทาง ความคิด เสยี ความเป็นส่วนตัวในการทีจ่ ะต้องรองรับนักท่องเทยี่ ว และที่สำคัญคอื อาจถงึ กบั สญู เสยี เอกลักษณ์ ของท้องถน่ิ หากมีการตอบสนองความต้องการของนักทอ่ งเทยี่ วมากเกนิ ไป บ้านภตู ้ังอย่ทู ่ีตำบาลบ้านเปา้ อำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร ตั้งอยู่บนเนนิ เขาเต้ยี ๆลอ้ มรอบด้วยภูเขา ซบั ซ้อน อยหู่ า่ งจากตวั จงั หวัดมกุ ดาหาร 57 กม. ห่างจากตวั อำเภอหนองสงู 7 กม. มีเส้นทางไปยังตวั จังหวัด สองเส้นทางคือ จาก ถนนหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 2370 ไปทางอำเภอนคิ มคำสร้อย และ ถนนสาย 2042 ไป ทางอำเภอหนองสูง เปน็ ถนนลาดยางตลอดเส้น ถนนเส้นทางหลักในหมบู่ ้านเปน็ ถนนคอนกรีตเสรมิ เหล็ก 15 เสน้ ทาง ระยะทาง 3 กม. มลี ำหว้ ย 3 สาย ความยาว 8 กม. พื้นทหี่ ม่บู ้านทัง้ สิ้น 3,849 ไร่ พนื้ ท่ดี ินสาธารณะ 3 แห่ง ไดแ้ ก่ 1.ลานวัฒนธรรม ใช้ประโยชนเ์ ปน็ ศาลาอเนกประสงค์ จัดกิจกรรมรับนักท่องเท่ียว

3 2. ศูนยแ์ สดงผลิตภัณฑ์ชมุ ชน ใชป้ ระโยชนแ์ สดงและจำหน่ายผลิตภัณฑข์ องชุมชน 3. ศูนยเ์ รียนรู้ชุมชนต้นแบบ เปน็ แหล่งถ่ายทอดความรู้ของชุมชน มวี ดั 2 แหง่ ได้แก่วัดศรนี นั ทาราม และ วัดพทุ ธครี ี โรงเรยี น 2 แหง่ คอื โรงเรียนบา้ นภู (ประถม) และ โรงเรียนพลังราษฎรว์ ิทยา (มัธยม) สำหรบั ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสถานท่ีท่องเทีย่ วใกล้เคยี ง ได้แก่ วัดพทุ ธคีรี ภจู อ้ ก้อ ถ้ำโงตก ถำ้ ช้างสี ผาฮอม ลานข่อยดาน และ วังน้ำเฮ้อ เป็นตน้ กลุม่ ชาตพิ ันธ์ุของชุมชนบา้ นภูเป็นกล่มุ ผไู้ ท ซึง่ บรรพบุรุษอพยพมาจากฝ่ังซ้ายแม่น้ำโขงเมื่อปี พ.ศ. 2387 ตงั้ ภูมิลำเนาในพื้นท่ีบ้านภูรวมอายุได้ 130 ปี ผูท้ ำหมู่บ้านคนแรกได้แกเ่ จา้ สุโพสมบัติ จากอดีตถงึ ปัจจุบัน มผี ู้นำและผู้ดำรงตำแหน่งผู้ใหญบ่ ้าน บา้ นรวม 15 คน ผูใ้ หญบ่ า้ นคนปัจจุบนั หมทู่ ่ี1 นายเผด็จศกั ดิ์ แสนโคตร หมู่ที่ 2 นายทรง กองประพันธ์ ท้งั 2 หมู่ รวมประชากร 1,200 คน จำนวนครวั เรือน 250 หลงั คา อาชีพหลัก

4 ได้แก่การทำนา อาชีพของผ้หู ญงิ ทอผา้ ผู้ชายเลยี้ งสัตว์ จกั รสาน เนื่องจากเป็นหมู่บา้ นท่ีตั้งอยู่ในระหวา่ งหบุ เขา จึงใหช้ ือ่ ว่า บ้านหลบุ ภู ปจั จุบนั เรยี กชื่อว่า “บ้านภ”ู เอกลกั ษณบ์ า้ นภู ได้แก่ ภาษาผู้ไท การแตง่ กาย (ผูห้ ญิงนุ่งซ่ินทวิ /ผู้ชายน่งุ โสร่ง) อาหารพ้นื บ้าน ศิลปะการแสดง (ลำผู้ไท/การฟอ้ นกลองตุ้ม/ลงขว่ งเขน็ ฝ้าย) การทอผ้า ผา้ ลายแกว้ มุกดา พัฒนาการของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านภู ปี พ.ศ. 2541 เรมิ่ มนี กั ท่องเที่ยว เขา้ มาพักในบา้ นโดยไม่คดิ ค่าใชจ้ า่ ย และ เริม่ มีแนวคิดทจ่ี ะทำโฮมส เตยใ์ นหมบู่ ้าน ในปี พ.ศ. 2546 แต่เริ่มทำโฮมสเตยร์ ับนักท่องเทยี่ วจริงจังในปี พ.ศ. 2549 หลังจากที่มีอาจารย์ และ นักศึกษามหาวทิ ยาลัยศิลปากรเขา้ มาทำการวจิ ยั (ถวลั ย์ ผิวขำ. สมั ภาษณ์. 22 ตลุ าคม 2561) ปี พ.ศ. 2547-2548 อาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยศิลปากรเข้ามาทำการวิจยั เกย่ี วกับ ประวัติศาสตร์ วฒั นธรรมของชาวภไู ทบา้ นภู ส่งผลใหช้ าวบา้ นภูมกี ารตน่ื ตวั เหน็ ความสำคัญของประเพณแี ละ วฒั นธรรมของตนเองท่ปี ฏิบตั ิกนั มา อ.ถวัลย์ ผวิ ขำ ไดน้ ำแนวคดิ การทำโฮมสเตยเ์ ขา้ สปู่ ระชาคมหมบู่ ้าน ในปี พ.ศ. 2549 ชมุ ชนบา้ นภู ได้รบั รางวัลหมบู่ ้านอาสาพฒั นาตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ไดร้ บั รางวัล ชนะเลิศการประกวดหมูบ่ า้ น “อยเู่ ย็นเป็นสุข” มีรายการ “ทุ่งแสงตะวัน” เข้ามาถ่ายทำรายการ ทำให้บา้ นภู เปน็ ทีร่ จู้ ักมากข้นึ แตช่ ่วงแรกยังไมไ่ ด้มีการบริหารจัดการในรูปแบบของโฮมสเตย์ คอื ไม่มกี ารคดิ คา่ หวั ใน ปลายปี พ.ศ. 2549 ชมุ ชนบ้านภูโฮมสเตยไ์ ด้ให้บริการครั้งแรก เม่อื วนั ท่ี 5 พฤศจิกายน 2549 โดยได้รับความ ชว่ ยเหลอื จากศูนย์ชว่ ยเหลอื ทางวชิ าการพัฒนาชุมชน เขตท่ี 3 ชุมชนบา้ นภูได้มีชื่อเสียงในระดับภาคและ ระดบั ประเทศ จัดวา่ เป็นชมุ ชนตน้ แบบ มรี ายการโทรทัศน์เข้ามาถ่ายทำ และ มีหน่วยงานทงั้ ภาครฐั และ เอกชน เข้ามาท่องเที่ยวและดูงานเป็นจำนวนมากตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2549 มาจนถึงปจั จุบนั ตัวอยา่ งกิจกรรมท่องเทยี่ วชุมชนเชงิ วฒั นธรรม (2วนั 1คนื ) วนั แรกเม่ือนกั ท่องเท่ียวมาถงึ บา้ นภู ชาวบา้ นภูใหก้ ารตอ้ นรับบริเวณศนู ยเ์ รยี นรู้บา้ นภู บรกิ ารน้ำสมุนไพร สรุปความเป็นมาของชมุ ชน ปนั่ จกั รยาน ชมบรรยากาศ ภูเขา ทุ่งนา บริเวณรอบชมุ ชนบา้ นภู รับประทานอาหารพนื้ บ้าน ช่วงบ่ายเป็นกจิ กรรมการ เรียนรศู้ ึกษาประวตั ิบา้ นภู ชมและฝกึ ทอผา้ ลายขิต มัดย้อมคราม สธี รรมชาติ ทอผา้ ไหม เรียนรกู้ ารแปรรปู ผลิตภณั ฑ์เพื่อสขุ ภาพ สบู่ น้ำมันไพล ลกู ประคบ นิทานพื้นบา้ น การละเล่นพ้นื บา้ น และการทำของเลน่ พน้ื บ้าน ช่วงเยน็ เขา้ พกั โฮมสเตย์ พักผ่อน และออกมารวมกจิ กรรมพาแลงท่ีลานวฒั นธรรม มกี ารคล้องมาลยั รับ นกั ทอ่ งเทย่ี ว ฟ้อนผไู้ ท แห่กลองตุ้ม การแสดงศิลปวฒั นธรรมพื้นบา้ น รับประทานอาหารพ้ืนเมือง ชวน

5 นกั ท่องเท่ยี วร่วมกจิ กรรมเต้นบาสโลบ บายศรีส่ขู วญั กลับทพ่ี กั วันที่สอง ประมาณ 5.30 น. เตรียมตวั ใสบ่ าตร ตามวถิ ีผู้ไท รับประทานอาหารเช้าท่บี า้ นพัก กราบนมัสการพระพุทธรูปศักด์ิสิทธ์ิ ณ วดั ศรีนันทารามและวัด พทุ ธครี ี เลือกซอ้ื สนิ คา้ และผลิตภณั ฑว์ ัฒนธรรมและของทร่ี ะลึก ก่อนทช่ี าวบ้านจะเข้าแถวส่งนกั ทอ่ งเท่ยี ว เดินทางกลบั โดยสวัสดภิ าพ (สำนักงานวัฒนธรรมจงั หวดั มุกดาหาร. คมู่ ือท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมบา้ นภู. ไม่ ปรากฎปที ่ีพิมพ์) ภาพสะท้อนจากการไดไ้ ปเยือนชุมชนทอ่ งเที่ยวบ้านภู ถงึ แมว้ ่าผู้ศกึ ษาจะมเี วลาไมม่ ากนัก แต่ได้พบวา่ การต้อนรับนักท่องเท่ยี วของชุมชนบ้านภูเตม็ ไปด้วยความเป็นมิตร ต้งั แตล่ งจากรถ ชาวบา้ นใสช่ ดุ ผ้ไู ท แหก่ ลอง ตุม้ คลอ้ งมาลัยต้อนรับ นำไปยงั ลานวฒั นธรรม เพือ่ ชมการแสดง รว่ มเต้นบาสโลบ รบั ประทานอาหารพื้นบ้าน และจัดพิธีบายศรีสูข่ วัญ ชาวบา้ นจำนวนมากมีสว่ นรว่ มในการต้อนรบั ตง้ั แต่ทำอาหาร เสริฟอาหาร รอต้อนรับ จดั บายศรี นักดนตรี นางรำ โดยทุกคนท่ีมาช่วยงานจะไดส้ ่วนแบ่งรายไดเ้ ปน็ แรง หลังจากหกั คา่ ใชจ้ า่ ยแล้ว นอกจากรายได้แลว้ ชาวบ้านมีความร้สู ึกภมู ใิ จท่ีมีสว่ นรว่ มในการต้อนรับนักท่องเท่ยี ว และได้แสดงการเขน่ ฝ้าย ใหน้ กั ท่องเทย่ี วไดช้ ม (คุณแม่ทอง สุขสมัย ชาวบา้ นซง่ึ มาร่วมแสดงการเข่นฝา้ ย.สัมภาษณ์ 22 ตลุ าคม 2561) สว่ นเจ้าของบ้านซง่ึ จัดไวเ้ ป็นโฮมสเตย์ ได้เลา่ ว่ามีการปรับปรุงบา้ นเพ่ือรบั นกั ท่องเทยี่ ว ไดม้ รี ายได้เพมิ่ ขึ้น และ ภมู ิใจท่ไี ด้มสี ว่ นร่วมในชุมชนทอ่ งเทย่ี ว มีความช่นื ชมภาวะผนู้ ำ ของผู้นำชุมชน (นางรักคณา แก้วสนี วม เจา้ ของ โฮมสเตย์. สัมภาษณว์ ันที่ 22 ตุลาคม 2561 ในส่วนของผลกระทบในชมุ ชนบา้ นภู ทผี่ ูศ้ กึ ษาได้พบในการสังเกต สมั ภาษณ์ ในระยะเวลาสัน้ และ ศกึ ษาเอกสารทมี่ ีผศู้ ึกษาไว้ก่อนหน้า สรปุ ไดด้ งั นี้ ผลกระทบดา้ นบวก การพัฒนาบ้านภู ซ่ึงมีศักยภาพเพยี บพร้อมทงั้ ดา้ นคนในชุมชน ศักยภาพพน้ื ที่ ประวัตศิ าสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ความเป็นชาติพันธ์ุผไู้ ท ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน และ ศกั ยภาพด้านการจัดการของ ชมุ ชน ใหเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวนั้น ย่อมมผี ลกระทบดา้ นบวกมากมาย ต่อชุมชน ต่อสภาพเศรษฐกจิ และ อ่นื ๆ ดงั สรุปไดต้ อ่ ไปนี้ 1. ชุมชนเห็นความสำคัญของอัตลักษณ์ชุมชนตวั เอง ชาวบ้านมคี วามหวงแหน เห็นคุณค่าของ ประวัตศิ าสตร์ ชมุ ชนตวั เอง ไมว่ า่ จะเป็นการแตง่ กาย การแสดง พิธีกรรมต่างๆ วถิ ีชวี ิตของคนในชุมชน 2. มีรายไดเ้ พิ่มข้นึ เม่ือมนี ักท่องเทย่ี วเขา้ มา ชาวบ้านภูมีรายได้เสริม จากการทำโฮมสเตย์ คา่ แรง ในการมาต้อนรบั นักทอ่ งเทีย่ ว นักแสดง คนทำอาหาร 3. มจี ติ สำนึกในการพัฒนาตนเอง พัฒนาบุคลิกภาพ ภาษา ทักษะการเปน็ เจ้าบ้าน พฒั นาความรู้ เกย่ี วกับชุมชนของตนเอง พฒั นาอาหาร พฒั นาลายทอผา้ 4. ชมุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ มีความสามคั คีเป็นอันหนึง่ อันเดยี วกันในการร่วมมือตอ้ นรบั นัก ท่องเท่ียว กระต้นุ การมีสว่ นรว่ ม ความภาคภมู ิใจ ความรักถ่ินฐาน

6 5.สรา้ งความสัมพนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งนกั ท่องเทีย่ วกับชุมชน เมอื่ นักทอ่ งเทย่ี วเขา้ มา มีปฏสิ มั พนั ธก์ บั ชาวบา้ นในชุมชน มกี ารสนทนาแลกเปลยี่ นแนวคิดการใช้ชวี ิต แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว และ ชมุ ชน ทัง้ สองฝา่ ยได้เรียนรูแ้ ลกเปลยี่ นซึง่ กนั และกัน ผลกระทบดา้ นลบ เสนห่ ท์ ่แี ท้จริงของชมุ ชนบา้ นภูคือวถิ ชี วี ิตเรยี บง่ายของชาวบ้าน ท่ามกลางธรรมชาติท่สี วยงามกลาง หุบเขา มวี ิถีชวี ิตแบบพอเพียง แต่เมอื่ หมู่บา้ นได้รับความสนใจ เป็นแหล่งทอ่ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม สิง่ ท่เี ป็น ผลกระทบเชงิ ลบตามมาท่ชี ุมชนควรตระหนกั ทเี่ พอื่ ป้องกนั ควบคุม และ แก้ไข ไดแ้ ก่ 1. การเปล่ยี นแปลงวิถีชวี ิตและค่านิยมในชุมชน เม่อื มีนักท่องเที่ยวเข้ามา วิถีชีวิตที่เรยี บงา่ ย ทำ เกษตร ทอผา้ นอนหวั ค่ำ ตื่นเชา้ ใส่บาตร มีความเปน็ ส่วนตวั อาจต้องเปล่ยี นไปแลกกบั การตอบสนองความ ตอ้ งการของนกั ท่องเทยี่ ว มกี ารจดั กจิ กรรมรับนักท่องเท่ียว เปิดบ้านให้นกั ท่องเทย่ี วพัก แทนทีจ่ ะใชเ้ วลาอยู่ เป็นสว่ นตวั ในครอบครัว 2. การรบั วัฒนธรรมของนักท่องเทีย่ วทเ่ี ขา้ มาในชุมชนอยา่ งรวดเร็ว อาจทำให้เอกลกั ษณด์ ั้งเดมิ ของท้องถ่นิ มีการเปลย่ี นแปลงไป เช่น การปรบั ปรงุ บ้านให้สะดวกสบายข้ึน ต้อนรับนกั ท่องเที่ยว มีการ เลยี นแบบค่านิยมเกีย่ วกบั การบริโภคสินค้าทนั สมัย การแสดงมกี ารปรับให้สนุกสนานเร้าใจคนดขู ้นึ บางครง้ั ไม่ได้เป็นเอกลักษณโ์ ดยแท้ของชุมชน พูดภาษากลางแทนภาษาถิน่ เป็นตน้ ทำให้เสน่หข์ องชมุ ชนทเ่ี ปน็ สิง่ ดึงดดู นกั ท่องเทย่ี วหายไปบา้ ง แนวคิดเก่ียวกับการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่มาจากการพัฒนาหมบู่ ้านภูเปน็ แหลง่ ท่องเท่ียว ผ้ศู กึ ษาขอนำเสนอมาตรการเกยี่ วกบั การป้องกนั แก้ไขผลกระทบด้านลบที่มาจากการพัฒนาหมบู่ ้านภู เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วใน ดงั ต่อไปน้ี 1. ศกึ ษาขดี ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวของของชุมชนบา้ นภู และ จำกดั นักทอ่ งเท่ียวใน พ้ืนทีใ่ หเ้ ปน็ ไปอยา่ งเหมาะอย่างเหมาะสม (อาจจะเป็นสำหรับในอนาคต) เพื่อป้องกันปญั หาในด้าน สภาพแวดล้อม เช่นขยะ การใช้สาธารณปู โภคในหม่บู า้ น เป็นต้น 2. การประชาสัมพนั ธ์ และ เผยแพร่ การอนรุ ักษว์ ฒั นธรรม และ ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบา้ นภู เริ่มตงั้ แต่ หลกั สตู รสถานศึกษา ให้นกั เรียนรู้ประวัติความเป็นมา รัก และ หวงแหน วัฒนธรรม วิถีชีวิตอนั ดีงาม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศลิ ปะ ประเพณี ภาษา ของตนเอง ชาวบา้ นเห็นความสำคญั 3. การมสี ว่ นร่วมของคนในชุมชน มกี ารประเมิน สอบถามความคดิ เหน็ คนในชุมชน เก่ียวทิศทางการ พัฒนา และ ปัญหาท่เี กิดขึ้น ร่วมมือกนั แก้ไขไปในทิศทางเดยี วกันอยา่ งไร การพัฒนาทรพั ยากรทางการ ท่องเทย่ี วอย่างยงั่ ยืน จะเกิดไดด้ ้วยความรู้สกึ เปน็ เจา้ ของของคนในชุมชน 4. การประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานอน่ื เช่น หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วกับศลิ ปวัฒนธรรม สถานศึกษา เนื่องจากเม่อื คนภายนอกมองเขา้ มาในชมุ ชน อาจเห็นปัญหาและการเปล่ยี นแปลงทางด้านศิลปวฒั นธรรมที่

7 เกดิ ข้ึน ชัดเจนกว่าชาวบ้านในชุมชน การบรรยายใหค้ วามร้ใู นเรอ่ื งตา่ งๆ ปลูกจติ สำนกึ คนในชุมชน ให้ดำรงไว้ ถงึ เอกลักษณค์ นในชุมชน กลา่ วโดยสรุป ชมุ ชนบา้ นภูเปน็ ชมุ ชนทีป่ ระสบความสำเร็จในการพัฒนาตนเองเป็นแหล่งทอ่ งเทยี่ ว เชิงวัฒนธรรม โดยริเรมิ่ จากคนในชมุ ชนเอง เปน็ พ้นื ทท่ี ี่มีศกั ยภาพ ท้ังดา้ นศักยภาพคน ศักยภาพพื้นท่ี และ ศกั ยภาพด้านการจัดการ ได้เร่ิมเร่มิ การทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชน มโี ฮมสเตย์ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 สภาพในปี พ.ศ. 2561 ถอื วา่ เป็นชุมชนทีเ่ ขม้ แข็ง โดยภาพรวม ชุมชนบา้ นภู รักษาเอกลักษณ์ของชมุ ชนได้พอสมควร ได้มี ผลกระทบทางด้านสังคมและวฒั นธรรม ในดา้ นท่ีเกี่ยวกับวถิ ชี ีวติ ศลิ ปวัฒนธรรม ด้งั เดมิ แต่คนในชมุ ชนได้ ตระหนกั ภมู ใิ จ และ หวงแหน เห็นถึงความสำคญั ของการอนุรกั ษ์ มีความรกั และสามคั คกี นั ผู้นำชมุ ชนมีความ เข้มแข็ง เปน็ ท่ีเช่ือถือของคนในชมุ ชน ทำใหผ้ ลกระทบด้านลบของการท่องเท่ยี วที่มีตอ่ ชุมชน ยงั อย่ใู นระดบั ตำ่ นอกจากนก้ี ารท่องเทีย่ ว ยังส่งผลบวกตอ่ ชุมชน ท้งั ทางด้าน การเห็นความสำคญั ของอัตลักษณ์ชมุ ชน คุณภาพ ชวี ิต รายไดค้ นชมุ ชน มีการแลกเปล่ียนทัศนคติคนในชุมชนและนกั ท่องเท่ียวในชุมชนอยา่ งสร้างสรรค์ รวมถึง ความเป็นปกึ แผ่นของคนในชุมชนอีกดว้ ย เอกสารอ้างองิ กนกรัตน์ ดวงพิกุล และ จารุนันท์ เมธะพนั ธ์ุ (2561).โฮมสเตย์กับการจัดการทอ่ งเท่ยี วอย่างย่ังยืนในจงั หวัด น่าน. วารสารบัณฑิตวจิ ัย ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2561) มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่ สมบัติ กาญจนกิจ (2560).นนั ทนการและอุตสาหกรรมท่องเท่ยี ว.สำนกั พมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ณัฏฐพัชร มณีโรจน์(2560).การจดั การการทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชน. ารสารวิชาการ การท่อง เทย่ี วไทย นานาชาติ. กติ ตศิ ักดิ์ กล่นิ หมน่ื ไวย (2559).ศกั ยภาพและแนวทางการจดั การทอ่ งเที่ยวชมุ ชนลำปางหลวง อำเภอเกาะ คา จังหวัดลำปาง. บทความวชิ าการ วารสารสังคมศาสตร์วชิ าการ มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงราย. ภานวุ ฒั น์ ภักดีอกั ษร และ จักรพันธ์ ขัดชมุ่ แสง. (2557). รายงานการวจิ ัยเร่ือง สภาพปัญหาและ ผลกระทบ จากการเปิดธุรกิจสถานบนั เทิงยามราตรที ่ีมีต่อชุมชนเมืองเก่าจงั หวดั ภเู ก็ต.คณะการบรกิ ารและ การทอ่ งเที่ยว มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตภูเก็ต. สพุ าดา สริ กิ ุตตา (2557) . แนวทางการสรา้ งมูลคาเพิ่มของแหล่งท่องเที่ยวและผลติ ภัณพท์ อ่ งเท่ียวของ จังหวดั สงิ ห์บุรี ประเทศไทย . วารสารสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. ปริวรรต สมนกึ (2555).การจดั การท่องเท่ียวโดยชุมชนบ้านภกู บั การอนุรกั ษ์วัฒนธรรม.บทความวจิ ัย วารสารศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธาน.ี

8 อาภาวดี ทบั สิรักษ์ (2555). การพัฒนาศกั ยภาพการจัดการการทอ่ งเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ของชาวญัฮกรุ อำเภอเทพสถติ จังหวดั ชัยภูมิ. การศึกษาอสิ ระปริญญาบริหารธุรกจิ มหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ศภุ วรรณ ภริ มย์ทอง (2555).การจดั การความขัดแย้งดา้ นส่ิงแวดล้อมในชุมชนชนบทไทย : กรณี โครงการ พฒั นาการท่องเท่ียวชมหิ่งห้อยจังหวัดสมุทรสงคราม.วทิ ยานพิ นธ์ ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัย สยาม. สภุ าพร กาแกว้ (2555). แนวทางการศึกษารปู แบบการทอ่ งเที่ยวชมุ ชนบ้านน้ำฉ่า ตำบลโป่งแดง อำเภอ ขามทะเลสอ จังหวดั นครราชสีมา. วิทยานิพนธร์ ฐั ประศาสนศาสตร์มหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . จันทิมา เพชรพเิ ศษศักด์ิ (2555). แนวทางพัฒนาชุมชนชาวกยู บา้ นอาลี ตำบลสำโรงทาบ จังหวดั สุรินทร์ เพือ่ เพมิ่ ศักยภาพทางการท่องเท่ียวเชงิ วัฒนธรรมอย่างยั่งยืน.วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . ตนั ติกร โคตรชารี (2555).พฤตกิ รรมนกั ทอ่ งเทยี่ วชาวไทย ในการทอ่ งเทีย่ วเชงิ ศาสนา พระธาตปุ ระจำวัน เกิด จงั หวดั นครพนม. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. สทิ ธิโชค เดชพิบาล(2554).การมีส่วนรว่ มของชุมชนท้องถนิ่ ในการจดั การและรกั ษาคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม บรเิ วณพ้นื ที่ปา่ ชายเลน ของชมุ ชนท้องถิ่นในจังหวัดภูเก็ต. ภาคนพิ นธ์รัฐศาสตร์มหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัย ธรรมศาสตร.์ นชุ นารถ รัตนสวุ งศ์ชัย (2554).กลยุทธ์การพฒั นาการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม.บทความวิชาการ. วารสาร มนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ภทั รภร พลพนาธรรม และคณะ (2553).เครอื ขา่ ยทางสังคมเพื่อสง่ เสริมการท่องเทีย่ วตลาดน้ำบางน้อย อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา อทติ ยา แก้วพลิ า (2553). การจัดการท่องเท่ียวของชมุ ชนตลาดบ้านใหม่ อำเภอเมอื ง จังหวดั ฉะเชงิ เทรา. วิทยานพิ นธ์ การวางแผนภาคและเมือง มหาบัณฑติ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. นสิ ารัตน์ จุลวงศ์(2553). การจดั การการทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชน วสิ าหกจิ ชุมชนทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตร ลอ่ งเรือ ชมสวนเลียบคลองมหาสวสั ดิ์ อำเภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม.วทิ ยานิพนธ์ศลิ ปศาสตร์ มหาบณั ฑติ มหา วิทยาลยั ศลิ ปากร พรรณปพร ภิรมยว์ งษ.์ อตั ลกั ษณ์และการทอ่ งเทีย่ ว : กรณศี กึ ษา ผู้ไทบ้านภู ตำบลบา้ นเป้า อำเภอหนองสูง จงั หวดั มุกดาหาร.วทิ ยานิพนธ์ มานุษยวทิ ยามหาบัณฑติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . วชั รพงศ์ ทองรุ่ง (2550).แนวทางการพฒั นากิจกรรมสังคมของสมาคมผู้สื่อขา่ วเศรษฐกจิ .สารนิพนธ์สงั คม สงเคราะหศ์ าสตรม์ หาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.

9 วรี พล ทองมา และ ประเจต อำนาจ(2547). ผลทเ่ี กิดขึ้นจากการจดั กจิ กรรมการท่องเท่ยี วตอ่ ประชาชนใน พ้ืนที่ตำบลแมร่ ิม อำเภอแม่รมิ จังหวดั เชียงใหม่.ภาควิชาสง่ เสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้: เชยี งใหม่ สนธยา พลศรี(2545).หลกั สังคมวิทยา.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพโ์ อเดยี นสโตร์ สญั ญา สญั ญาววิ ัฒน.์ (2540). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั สขุ ุมและบุตร. สถานภาพองคค์ วามรู้ของ