Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความสุโขทัยเมืองโบราณสู่มรดกโลก

บทความสุโขทัยเมืองโบราณสู่มรดกโลก

Published by kanikl, 2021-06-04 05:02:54

Description: บทความสุโขทัยสมบูรณ์เมืองโบราณสู่มรดกโลก

Keywords: สุโขทัย

Search

Read the Text Version

1 สุโขทยั เมืองโบราณสู่เมืองมรดกโลก นาย โยธิน โนนทนวงษ์ นกั ศึกษาปริญญาโท สาขาวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น บทนา ภาพประกอบที่ 1 อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั สุโขทยั เป็ นราชธานีสาคญั ของไทยท่ีมีความเจริญรุ่งเรืองระหวา่ งพุทธศตวรรษที่ 18 – 20 หลงั จากน้นั จึงถูกผนวกเป็ นดินแดนภายใตก้ ารปกครองของกรุงศรีอยุธยาเม่ือราวพุทธศตวรรษท่ี 21 ร่องรอยความเจริญ ปรากฏผ่านแหล่งโบราณคดี โบราณสถานที่กระจายอยูใ่ นและนอกกาแพงเมืองสุโขทยั รวมท้งั สิ้น 193 แห่ง จาแนกเป็ นโบราณสถานกลางเมืองหรือในกาแพงเมือง จานวน 60 แห่ง เช่น วดั มหาธาตุ วดั ศรีสวาย ศาลตาผา แดง ฯลฯ โบราณสถานนอกกาแพงเมืองดา้ นทิศเหนือ จานวน 27 แห่ง เช่น วดั พระพายหลวง วดั ศรีชุม เตาเผา เครื่องสังคโลก ฯลฯ โบราณสถานนอกกาแพงเมืองดา้ นทิศใตจ้ านวน 37 แห่ง เช่น วดั เชตุพน วดั เจดียส์ ่ีหอ้ ง วดั ศรีพิจิตรกิรติกลั ยาราม ฯลฯ โบราณสถานนอกกาแพงเมืองดา้ นทิศตะวนั ออก จานวน 19 แห่ง เช่น วดั ชา้ งลอ้ ม วดั ตระพงั ทองหลาง โบราณสถานนอกกาแพงเมืองดา้ นทิศตะวนั ตกจานวน 50 แห่ง เช่น วดั สะพานหิน วดั ป่ า มะม่วง เทวาลยั มหาเกษตร สรีดภงส์ ฯล กรมศิลปากรเริ่มดาเนินการสารวจและข้ึนทะเบียนโบราณสถานเมือง เก่าสุโขทยั ปรากฎในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 57 วนั ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 ต่อมาใน พ.ศ. 2479 รัฐบาลไดต้ ้งั คณะกรรมการฟ้ื นฟูบูรณะเมืองสุโขทยั ข้ึน โดยเริ่มมีการขุดแต่งท่ีวดั มหาธาตุเป็นแห่งแรก หลงั จาก น้นั จึงขดุ แตง่ โบราณ

2 สถานที่สาคญั อื่น ๆ ท้งั ภายในกาแพงเมือง และภายนอกกาแพงเมือง ต่อมาไดต้ ้งั คณะกรรมการปรับปรุงบูรณะ โบ ร า ณ ส ถ า น จัง หวัด สุ โ ขทัย เ พ่ื อด า เ นิ นง า น ใ น ระ ย ะ ท่ี ๒ ร ะ ห ว่า ง พ .ศ . ๒ ๕ ๐๘ – ๒ ๕ ๑ ๒ พ.ศ. ๒๕๑๘ กรมศิลปากร กาหนดขอบเขตพ้ืนที่ของโบราณสถานเมืองสุโขทยั จานวน ๔๓,๗๕๐ ไร่ หรือ ประมาณ ๗๐ ตารางกิโลเมตร โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๙๒ ตอนที่ ๑๑๒ วนั ท่ี ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงพระ กรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองคเ์ พ่ือ ทรงประกอบพิธีเปิ ดอุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั เม่ือวนั อาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน ประชาชนชาวไทยร่วม เฉลิมฉลองเนื่องในมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ และพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร หลังจากน้ัน ต่อมาในการประชุม คณะกรรมการมรดกโลกสมยั สามญั คร้ังที่ ๑๕ ณ กรุงคาร์เธจ ประเทศตูนีเซีย ประกาศใหอ้ ุทยานประวตั ิสุโขทยั ศรีสัชนาลยั และกาแพงเพชร เป็ นมรดกโลกทางวฒั นธรรม เมื่อวนั ที่ ๒๕๔๓ (กลุ่มเผยแพร่ฯ กรมศิลปากร ,2563. [ออนไลน์].) ภาพประกอบท่ี 2 สัญลกั ษณ์แสดงถึงการเป็นเมืองมรดกโลก อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ถือวา่ เป็ นมรดกอนั ทรงคุณค่าท่ีมนุษยไ์ ดร้ ับจากอดีตไดใ้ ชแ้ ละภาคภูมิใจ ในปัจจุบนั และถือเป็นพนั ธกรณีในการทะนุบารุงดูแลรักษา เพ่ือมอบใหเ้ ป็นมรดกอนั ล้าค่าแด่มวลมนุษยชาติใน อนาคต มรดกทางวฒั นธรรมและทางธรรมชาติท่ีมีความโดดเด่นเป็นเลิศในระดบั สากล เมื่อไดร้ ับการยอมรับให้ เป็ นแหล่ง “มรดกโลก” แลว้ ไม่วา่ จะมีท่ีต้งั อยใู่ นขอบเขตดินแดนของประเทศใด ถือไดว้ า่ เป็ นมรดกมนุษยชาติ

3 ท้งั ปวงในโลก นี่คือนิยามและความหมายของคาวา่ \"มรดกโลก\" ซ่ึงอนุสัญญาคุม้ ครองมรดกโลกทางวฒั นธรรม และทางธรรมชาติ ได้ให้รายละเอียดและแนวทางการดาเนินงาน เพ่ือให้บรรลุถึงวตั ถุประสงค์ไว้อย่าง ชดั เจน นอกเหนือไปจากการส่งเสริมให้นานาประเทศ มีพนั ธหน้าที่ร่วมกนั ในการคุม้ ครองสงวนรักษาแหล่ง มรดกโลกท้งั ปวงไว้ เพราะหากปราศจากความร่วมมือน้ีแลว้ คุณค่าอนั โดนเด่นเป็ นเลิศของแหล่งมรดกโลก ท้งั หลายยอ่ มไม่อาจดารงอยไู่ ด้ แตอ่ าจถูกทาลายจนเสื่อมคา่ และสูญสลายไปในที่สุด นอกเหนือจากการใหค้ วาม คุม้ ครองแหล่งมรดกโลกแลว้ อนุสัญญาฯ ยงั ส่งเสริมให้ประเทศภาคีให้ความคุม้ ครองรักษาแหล่งมรดกทาง วฒั นธรรม และทางธรรมชาติที่มีคุณค่าโดดเด่นในระดบั ประเทศ และระดบั ทอ้ งถ่ินของตนอีกดว้ ย ท้งั น้ีเพราะ ตระหนักดีว่า มรดกทางวฒั นธรรมและทางธรรมชาติเหล่าน้ีจะดารงเป็ นมรดกแห่งอนาคตได้ก็ด้วยการ สร้างสรรค์ อนุรักษ์และสืบทอดของมวลมนุษยชาติในปัจจุบันน่ันเอง (ศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวง วฒั นธรรม. (๒๕๔๓).นิยามและความหมายของมรดกโลก. [ออนไลน]์ .) \"มรดกโลก\" คือ แหล่งมรดกทางวฒั นธรรมและทางธรรมชาติที่มีความโดดเด่นเป็ นเลิศใน ระดบั สากล เมื่อไดร้ บการยอมรบใหเ้ ป็ นแหล่งมรดกโลกไม่วา่ จะมีท่ีต้งั อยใู่ นขอบเขตดินแดนของประเทศใดก็ตามถือไดว้ ่า แหล่งน้นั เป็นมรดกของมนุษยช์ าติท้งั ปวงแหล่งมรดกโลกสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดงั น้ี 1.แหล่งมรดกทางวฒั นธรรม (Cultural Heritage) หมายถึง สถานท่ีซ่ึงเป็ นโบราณสถาน ไม่ว่าจะเป็ น งานทางดน้ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม หรือแหล่งโบราณคดีทางธรรมชาติ เช่น ถ้าหรือกลุ่มสถานท่ี ก่อสร้างหรือแยกเชื่อมต่อกนั ท่ีมีความเป็ นเอกลกั ษณ์หรือแหล่งสถานท่ีสาคญั ท่ีอาจเป็นผลงานฝี มือมนุษย์ หรือ เป็ นผลงานร่วมกนั ระหวา่ งธรรมชาติและมนุษยร์ วมท้งั พ้ืนที่ท่ีน่าเป็นแห่ลงโบราณคดี ซ่ึงสถานท่ีเหล่าน้ีมีคุณค่า ล้าเลิศในทางประวตั ิศาสตร์ ศิลปะมานุษยวทิ ยา หรือ วทิ ยาศาสตร์ 2. แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ (Natural Heritage) หมายถึง สภาพธรรมชาติที่มีลกั ษณะ ทางกายภาพ และชีวภาพอนั มีคุณค่าเด่นชดั ในดา้ นความล้าเลิศ หรอวทิ ยาศาสตร์ หรอสถานท่ีซ่ึงมี สภาพทางธรณีวทิ ยา และ ภูมิประเทศที่ได้รบการวิเคราะห์แลว้ ว่าเป็ นถ่ินท่ีอยู่อาศยั ของพนั ธุ์พืชและ สัตว์ ซ่ึงถูกคุกคามหรือเป็ นแหล่ง เพาะพนั ธุ์ของพืชหรือสัตวท์ ี่หายาก เป็นตน้ 3. ภูมิทศั น์ทางวฒั นธรรม (Cultural Landscape) หมายถึง พ้ืนท่ีประวตั ิศาสตร์และสิ่งแวดลอ้ มเกิดจาก การหลอหลอมองคป์ ระกอบหลาย ๆ อยา่ ง ซ่ึงรวมถึงกิจกรรมของมนุษยท์ ่ีมี ความสาคญั เท่ากบั ตวั อาคารรวมท้งั องค์ประกอบทางที่ว่างและสงแวดลอมโดยรอบโดยเป็ นการ ออกแบบภูมิทศั น์ที่สร้างข้ึนโดยความต้งั ใจของ มนุษย์ หรือเป็ นผลมาจากสังคมเศรษฐกิจ และความ เลื่อมใสในศาสนา รวมถึงซากสตั วโ์ บราณ และอาจเกิดจาก กลมวฒั นธรรมหรอองคป์ ระกอบทาง ธรรมชาติท่ีเป็นผลจากการเจริญเติบโต มีบูรณภาพทางประวตั ิศาสตร์ ซ่ึง หมายถึงความสมบูรณ์ทาง วตั ถุ และสภาพที่ไม่มีขอ้ บกพรองของวตั ถุหรอที่ ต้งั ซ่ึงเป็นผลจากการเจริญเติบโต

4 หรือเปล่ียนแปลง ตลอดเวลาจะเห็นไดว้ า่ แหล่งมรดกโลกทางวฒั นธรรมประกอบดว้ ยคุณสมบตั ิต่าง ๆ ซ่ึงมิใช่ แต่เฉพาะอนุสรณ์สถานที่สาคัญ บริเวณประวตั ิศาสตร์และสวนประวตั ิศาสตร์เท่าน้ันแต่ ยงั รวมไปถึง ส่ิงแวดลอ้ มท้งั หมดท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน และทรัพยากรมรดกทางวฒั นธรรมซ่ึงเกี่ยวพนั กบั คุณค่าของแหล่งมรดก ทางวฒั นธรรมน้นั ๆ ดงั น้นั จึงเกิดแนวคิดท่ีจะจาแนกลกั ษณะของแหล่งมรดกทางวฒั นธรรมเพ่ือจะไดท้ ราบถึง คณุ คา่ ความสาคญั ท่ีเก่ียวขอ้ ง และยงั เป็นประโยชนแ์ ก่การกาหนดข้นั ตอนนโยบายเพ่ือป้องกนั และการปฏิบตั ิ รักษาที่ชดั เจน (ปฏิธรรม สาเนียง,2560) ปัจจุบนั สุโขทยั ศรีสัชนาลยั และกาแพงเพชร เป็ นเมืองโบราณท่ีปรากฏ ร่องรอยหลกั ฐานของอารยธรรมอนั รุ่งเรืองในอดีต สะทอ้ นให้เห็นภาพของอาณาจกั รสุโขทยั ในความเป็ น “รุ่ง อรุณแห่งความสุข” เป็ นตน้ กาเนิดของประวตั ิศาสตร์ชาติไทยที่ไดพ้ ฒั นาเป็ นรัฐสาคญั ของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ในระหว่างพุทธศตวรรษท่ี 18 – 20 เป็ นเวลานานประมาณ 200 ปี ด้วยความโดดเด่นน้ีเองส่งผลให้เมือง ประวตั ิศาสตร์สุโขทยั และเมืองบริวาร ไดร้ ับการอนุรักษแ์ ละพฒั นาให้เป็ นอุทยานประวตั ิศาสตร์และไดร้ ับการ ข้ึนทะเบียนไวใ้ นบญั ชีรายช่ือแหล่งมรดกโลก เม่ือปี พุทธศกั ราช2534 ด้วยคุณค่าความโดดเด่นตามเกณฑ์ มาตรฐาน ดงั น้ี หลกั เกณฑ์ข้อที่ 1 “เป็นตวั แทนในการแสดงผลงานชิ้นเอกท่ีจดั ทาข้ึนดว้ ยการสร้างสรรคอ์ นั ชาญฉลาดของมนุษย”์ หลกั เกณฑ์ข้อท่ี 2 “เป็นส่ิงที่ยนื ยนั ถึงหลกั ฐานของวฒั นธรรมหรืออารยะธรรมที่ปรากฏใหเ้ ห็นอยใู่ นปัจจุบนั หรือวา่ ท่ี สาบสูญไปแลว้ ” โบราณวตั ถุสถานที่ปรากฏอยใู่ นเมืองประวตั ิศาสตร์ท้งั 3 เมืองน้ี แสดงใหเ้ ห็นถึงผลงาน สร้างสรรคอ์ นั ล้าเลิศของมนุษย์ ความงดงามอลงั การของสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมสุโขทยั เป็นตน้ แบบที่ส่ง อิทธิพลใหศ้ ิลปกรรมไทยในระยะตอ่ มา ความเป็ นเอกลกั ษณ์ท่ีโดดเด่นเฉพาะของเจดียท์ รงพมุ่ ขา้ วบิณฑ์ และ พระพทุ ธรูปลีลา เป็นสิ่งยนื ยนั ถึงความสาเร็จของศิลปกรรมไทยยคุ แรกน้ีไดเ้ ป็นอยา่ งดี (ศูนยข์ อ้ มูลมรดกโลก กระทรวงวฒั นธรรม. (๒๕๔๓).เมืองประวตั ิศาสตร์สุโขทยั และเมืองบริวาร. [ออนไลน์].) ภาพประกอบที่ 3 อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ในยามค่าคืน

5 อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ในปัจจุบนั ไดร้ ับการอนุรักษแ์ ละพฒั นาให้เป็ นแหล่งเรียนรู้และแหล่ง ท่องเที่ยวที่สาคญั ของประเทศ มีลักษณะการใช้พ้ืนที่ท้งั ส่วนที่เป็ นโบราณสถานที่ได้รับการดูแลโดยกรม ศิลปากร และพ้ืนท่ีขา้ งเคียงซ่ึงที่อยอู่ าศยั ของชุมชนทอ้ งถิ่น โดยกาหนดและจดั สรรการใชป้ ระโยชน์พ้ืนท่ีอยา่ ง ชดั เจน รวมท้งั ควบคุมสิ่งก่อสร้างและการใชป้ ระโยชนใ์ นพ้ืนท่ี โดยคณะกรรมการพจิ ารณาการอนุญาตใหป้ ลูก สร้างอาคารและใชป้ ระโยชน์ที่ดินในเขตโบราณสถาน ร่วมกนั พิจารณาเพ่ือนาเสนอความเห็นต่ออธิบดีกรม ศิลปากรผอู้ านาจในการอนุญาต ปัจจุบนั ชุมชนท่ีต้งั อยใู่ นพ้ืนท่ีอุทยานประวตั ิศาสตร์เร่ิมขยายตวั พร้อมๆ กบั การ พฒั นาที่ไม่สอดคล้องกับแนวทางของเมืองประวตั ิศาสตร์และเป็ นเมืองมรดกโลก เช่น การสร้างอาคาร ส่ิงก่อสร้างต่าง ๆ ข้ึนภายในเขตเมืองเก่า ตลอดจนบดบงั ทศั นียภาพ หรือสภาพภูมิทศั น์ ทาใหข้ าดความสง่างาม และคุณค่าของโบราณสถาน รวมท้งั การขาดหน่วยงานที่ตอ้ งดาเนินการ ดา้ นอนุรักษก์ ารอยา่ งพอเพียง ดงั น้นั จึง ตอ้ งสร้างความเขา้ ใจแก่ประชาชน ใหต้ ระหนกั ในคุณค่าของมรดกทางวฒั นธรรม และช่วยกนั ดูแลรักษาใหเ้ ป็ น มรดกท่ีทรงคุณค่าตกทอดไปสู่อนุชนรุ่นหลงั สืบไปนอกจากน้ีทุกวนั เพญ็ เดือน 12 หรือวนั ข้ึน 15 ค่าเดือน 12 ซ่ึง ในจงั หวดั สุโขทยั ก็ไดม้ ีการจดั งานดว้ ยเช่นกนั โดยในปี น้ีจะมีการจดั งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ จงั หวดั สุโขทยั ณ บริเวณอุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั โดยจะเน้นการอนุรักษ์สืบสานศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี ผา่ นรูปแบบงานที่ท้งั ขรึม ขลงั และอลงั การ อนั แสดงถึงเอกลกั ษณ์ของเมืองสุโขทยั และยงั มีกิจกรรมท่ี น่าสนใจมากมาย อาทิ การแสดง แสง เสียง กิจกรรมขา้ วขวญั วนั เล่นไฟ จาลองตลาดยอ้ นยคุ ตลาดแลกเบ้ีย การ ประกวดกระทงเล็ก กระทงใหญ่ การประกวดโคมชกั โคมแขวน การประกวดนางนพมาศ ขบวนแห่วฒั นธรรม จากองคก์ ารปกคลองส่วนทอ้ งถ่ิน การแสดงพลุตะไล ไฟพะเนียง กิจกรรมตกั บาตรรับรุ่งอรุณแห่งความสุข การ แสดง แสง สี \"ตานานเรือทา้ วศรีจุฬาลกั ณ์\" และกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย ซ่ึงสามารถดึกดูดนกั ท่องเที่ยวท้งั ชาว ไทยและชาวต่างประเทศใหม้ าเยอื นจงั หวดั สุโขทยั

6 อ้างองิ ปฏิธรรม สาเนียง.การส่งเสริมการจัดการทรัพยากรวฒั นธรรมเชิงพุทธในการอนุรักษ์มรดกโลก. บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตนครสวรรค,์ 2560. ศูนยข์ อ้ มูลมรดกโลก กระทรวงวฒั นธรรม. (๒๕๔๓).นิยามและความหมายของมรดกโลก. [ออนไลน์]. สืบคน้ เม่ือวนั ที่ 21 เมษายน 2564, จาก http://whc.unesco.org/ กลุ่มเผยแพร่ฯ กรมศิลปากร,2563.อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั [ออนไลน์].สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 21 เมษายน 2564, จาก https://www.silpa-mag.com/history/article_16304 ศูนยข์ อ้ มูลมรดกโลก กระทรวงวฒั นธรรม. (2543). เมืองประวตั ิศาสตร์สุโขทยั และเมืองบริวาร. [ออนไลน์]. สืบคน้ เม่ือวนั ที่21 เมษายน, จาก https://www.thaiwhic.go.th/heritage_culture.aspx.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook