ส่องอำนาจผา่ นจารกึ อกั ษรในฮูปแต้มอีสาน ………………………………………………………….. นายวิทยา วุฒิไธสงรหัส 617220025-3 นกั ศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา ปรญิ ญาเอก สาขาวฒั นธรรม ศลิ ปกรรม และการออกแบบ รนุ่ ที่ 9 คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มีผู้ทำการศึกษาจิตรกรรมฝาผนังอีสาน หรือ ฮูปแต้มน้ัน มีจำนวนมากในพื้นท่ีอีสานในแต่ละพ้ืนที่มี รูปแบบเชิงช่างท่ีมีความแตกต่างกันไป ดังน้ันบทความน้ีจึงเป็นการนำเสนอเพียงจารึกอักษรท่ีปรากฏใน ฮูปแต้มอีสานโดยมีประเด็นท่ีผู้วิจัยสนใจเมื่อลงพ้ืนสนามก็คือปรากฏฮูปแต้มแล้วทำไมจึงมีจารึกปรากฏไป พร้อมกับจิตรกรรมฝาผนัง และ ทำไม ตัวจารึกที่ปรากฏน้ัน จึงมีความหลากหลาย เช่น อักษรไทย อักษรไทย (สำนวนอีสาน) อักษรไท-น้อย อักษรลาว และ อักษรธรรม และแล้วทำไมผู้วิจัยต้ังข้อสังเกต ว่าบริบทพ้ืนท่ีท่ีมีการลงพื้นท่ีในภาคสนามทั้งอีสานใต้ บริเวณโคราช อีสานกลาง บริเวณสารคาม ขอนแก่น ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ในพ้ืนท่ีจังหวัดเหล่าน้ีก็ปรากฏฮูปแต้ม และจารึกประกอบฮูปแต้ม รวมทั้งมีการเขียนตัว อักษรไทยน้อย อักษรลาว กำกับภาพที่เป็นการอธิบายและส่งสารแก่ผู้ศึกษา หรือ เสพฮูปแต้ม ผู้วิจัยจึงเห็น ปรากฏการณ์บางอย่างท่ีปรากฏในฮูปแต้ม ในพื้นที่ทผ่ี ู้วิจยั ลงภาคสนาม คือ จารึกอักษรท่ีปรากฏนั้นทำไมจงึ มี ความแตกต่างกัน หากมองลงในพ้ืนท่ีภาคอีสานโดยภาพรวม เช่น อีสานใต้ วัดหน้าพระธาตุ อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา โซนอีสานใต้เป็นพ้ืนที่ติดกับภาคกลางปรากฏฮูปแต้มที่มีรูปแบบความละม้ายคล้ายช่างหลวง มาก ทั้งรูปแบบ เชิงช่าง เทคนิค สี การวางองค์ประกอบ รวมทั้งจารึกอักษรท่ีปรากฏก็เป็นภาษาไทย เมื่อขยับขึ้นมาในบริเวณพ้ืนที่อีสานกลางสิมท่ีมีฮูปแต้มในจังหวัดขอนแก่น เช่น วัดสนวนวารี บ้านหัวหนอง วัดสนวนวารีพัฒนาราม และสิมวัดบ้านลาน อำเภอบ้านไผ่ และในอำเภอหนองสองห้อง คือ วัดสระบัวแก้ว จังหวัดขอนแก่น และในจังหวัดมหาสารคาม ได้มีสองวัดไกล้กัน คือ สิมวัดโพธาราม และ วัดป่าเรไร หรือวัด บ้านหนองพอก อ.นาดูน จ.มหาสารคาม ก็ปรากฏฮูปแต้ม และมีจารึกอักษร และขยับพ้ืนท่ีสูงข้ึนมาเหนือ จังหวัดมหาสารคาม คือ สมิ วัดประตูชยั ต.นิเวส อ.ธวชั บุรี จ.รอ้ ยเอ็ด มีฮปู แตม้ และจารกึ อกั ษร ซึ่งผูว้ จิ ัยขอเอา เฉพาะสิมท่ีปรากฏฮูปแต้ม ท่ีได้ลงพ้ืนท่ีภาคสนามเพ่ือเป็นข้อมูลเบ้ืองต้น ซ่ึงผู้วิจัยจึงตั้งข้อคำถามว่า ปรากฏการณ์จารกึ อักษรที่พบน้ี ที่มลี ักษณะความแตกต่างนี้ เปน็ ไปได้หรือไม่ว่าบรเิ วณทมี่ อี ิทธิพลจากล้านชา้ ง จากทางเหนือจะเป็นจารึกเฉพาะเพียงอักษรไทน้อย ลาว อักษรธรรม ใช่หรือไม่ และกลุ่มภาคใต้ของอีสาน สะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจการปกครองของรัฐที่ส่งผลต่อการเขียนจารึกเป็นอิทธิพลสยามใช่หรือไม่ ส่วนในบริเวณ อีสานกลางนั้นเป็นรูปแบบของช่างท้องถ่ิน ได้ปรากฏจารึกอักษรท่ีมีการรับเอาจากทั้งอิทธิพล ทางเหนือ คือล้านช้างที่เป็นไทน้อย และอักษรภาษาไทยที่อาจได้รับอิทธิพลจากการปกครองจากสยาม ใช่ หรือไม่ มีอทิ ธิพลหรอื อำนาจอ่นื ๆ อะไรหรอื ไม่ หรือ เปน็ เพียงความรแู้ ละความเข้าใจการเขียนของชา่ งแตม้ “สิม” สิมของภาษาอีสาน หมายถึงโบสถ์ มักสร้างอย่างเรียบง่าย สมถะ เป็นอาคารขนาดเล็กตกแต่ง ดว้ ยวัสดุท้องถน่ิ ความโดดเดน่ ของสิม นอกจากรปู ทรงและสถาปัตยกรรม ยังมสี ิ่งชว่ ยเชดิ ชใู ห้สิมมคี ุณค่ายงิ่ ขึ้น นั่นคือ “ฮูปแต้ม” (ภาษาถิ่นอีสาน) หรอื จิตกรรมฝาผนัง ฮูปแต้มอีสานมักวาดอยู่ตามผนังสิม วาดเต็มพ้ืนท่ีท้ัง
ภายใน และภายนอก เนื่องจากสิมมีขนาดเล็ก อีกทั้งวัดบางแห่งทางภาคอีสานยังไม่อนุญาตให้ผู้หญิงเข้าไปใน สิม การแต้มฮูปแต้มจึงนิยมทำท้ังด้านนอก และด้านใน โดยภาพด้านในมักเป็นเรื่องราวเก่ียวกับพุทธศาสนา เช่น พระเวสสนั ดรชาดก พุทธประวัติภาพผนังดา้ นนอก วาดเพ่ือให้ชาวบา้ นเรยี นรูผ้ า่ นวรรณกรรมท้องถิ่น ซึง่ มี ขอ้ คิด คติสอนใจ ชว่ ยขัดเกลานสิ ยั เช่น สินไซ พระมาลา เปน็ ตน้ (ไพโรจน์ สโมสร. 2532). ฮูปแต้มที่ปรากฏในสิมอีสานนั้น (อาจารย์ไพโรจน์ สโมสร,จิตรกรรมฝาผนังอีสาน 2532) บอกว่าช่าง แตม้ ทั้งหลายเปน็ ช่างพนื้ บา้ นโดยแท้ และช่างทีไ่ ด้มกี ารศกึ ษาร่ำเรียนมาสองกลุ่มคือ กลมุ่ ทีไ่ ดอ้ ทิ ธิพลช่างหลวง กรุงเทพฯ และอิทธิพลช่างหลวงกรุงเทพฯ คือ จะมีรูปแบบการเขียนแบบประเพณีนิยมผสมกับเทคนิควิธีการ แบบพน้ื บ้าน เช่น วดั ตะคุ หรือวัดหน้าพระธาตุ อำเภอปักธงชัย จงั หวดั นครราชสีมา และวัฒนธรรมผสมล้าน ช้าง- กรงุ เทพฯ กล่มุ น้ีสว่ นใหญ่เป็นช่างแถบลุ่มน้ำโขงช่างกลุ่มน้ีวาดภาพผสมผสานกนั เพอ่ื สืบทอดวัฒนธรรม เดิมตนแต่ก็ยังคงศึกษาการเขียนแบบช่างกรุงเทพฯ เอาไว้ด้วย ช่างเหล่าน้ีอาจจะมีการรับจ้างเขียนทั้งฝั่งซ้าย แม่น้ำโขงและรมิ ฝง่ั ขวาด้วยในแถบลมุ่ น้ำโขง เชน่ วัดหัวเวียงรังสี วัดโพธิช์ ัยนาพึง วัดทงุ่ สีเมืองดังน้ันรูปแบบก็ ไม่ชัดเจน ดังนั้นตามคติน่าจะเป็นเร่ืองพ้ืนที่และเวลาน้ันก็หมายความว่า สิม สร้างสมถะเรียบง่ายไม่ใหญ่โต เพียงเพอื่ สนองประโยชนใ์ ช้สอยทางสงฆ์ คือ การเข้าไปทำพิธีบวชหรือทำวัตรเช้าเย็น กรณีบวชก็จะเข้าเฉพาะ นาค และพระอุปัชชาฌย์ พระลำดับ ญาติโยม หรือ พ่อแม่ ก็จะอยู่ด้านนอกจะเห็นได้ว่าเริ่มจะมีความสัมพันธ์ เกิดข้ึนมาก็คือ หลังคาปีกนกของสิมที่ยื่นออกมากว้างก็เพ่ือสนองประโยชน์ชุมชนอย่างเห็นได้ชัด คือญาติหรือ สตรีท่ีไม่สามารถเข้าในสิมได้น้ันก็จะมีการรอคอยจนกิจของสงฆ์เสร็จมองไปถึงพ้ืนที่ท่ีเหมาะสม คือท่ีรอได้ยิน เสียง บางสิมสามารถมองเห็นพระเจ้าใหญใ่ นด้านในได้หรือทส่ี ำคัญ คือ มองเห็นฮูปแตม้ รอเวลาจึงทำใหเ้ วลาไม่ นาน และเป็นประโยชน์ เปรียบเสมือนส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีคนรอเวลา อ่านรอเพื่อให้ถึงเวลา (พระครูบุญชยากร เจ้า อาวาสวัดไชยศรี ,สัมภาษณ์,26 ธันวาคม 2554) ดังนั้นฮูปแต้มอีสานจะปรากฏเนื้อหาหลากหลาย ดังนี้ คือ 1.เรื่องราวทางพุทธศาสนา เช่น พุทธประวัติ ทศชาติ ชาดก ประเพณี คติธรรม 2.วรรณกรรมท้องถิ่น เช่น สินไซ พะลัก พะลาม เร่ืองตลกขบขัน หรือ แนวกามศิลป์ (ไพโรจน์ สโมสร ,สิ่งแฝงเร้นในจิตรกรรมฝาผนัง อีสาน,2532) ผู้วิจัยจะวิเคราะห์ตั้งแต่อีสานใต้ คือ วัดตะคุ อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา เป็นชุมชนของคนโคราช ชุมชนวัดตะคุมีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ คือเป็นเมืองหน้าด่านการปกครองมีความเป็นพหุวัฒนธรรม (ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์,2560) วัดหน้าพระธาตุยังมีความเป็นฐานะสัมพันธ์กับพุทธศาสนาส่วนกลาง ในกรุงเทพ ผ่านพระสงฆท์ ่ีไปศึกษาในกรุงเทพกลายเปน็ พระผู้ใหญ่ส่งผลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรมฮปู แตม้ ท่ีมีรูปแบบคล้าย รัตนโกสินทร์ แบบราชนิยม ร.3 (คณะศิษยย์ านศุ ษิ ย์พระครูอภิบาลธรรมธาตุ.2543) ฮปู แต้มวัดหน้าพระธาตุ มิไดป้ รากฏว่าเขียนในสมัยหนแต่ดูรปู แบบน่าจะอยู่ในช่วง รัชกาลท่ี 3-4 ช่าง แต้มอาจเป็นช่างมีฝีมือที่เรียนจากภาคกลาง หรอื มาจากภาคกลางเพ่ือทำภารกิจ และช่างกลุ่มนม้ี าอาศัยอยู่ใน ตะคไุ ด้เรยี นรู้วิถีวฒั นธรรมท้องถิน่ จึงหยิบเอาปรากฏการณ์ และความรเู้ ขียนลงในฮูปแต้ม จารึกอักษรท่ีปรากฏ วัดตะคนุ ้ี เปน็ อักษรไทยกลาง สำนวนแบบไทยภาคกลาง ลายมอื วิจตร และบรรจง มีความละเอยี ด วัดหน้าพระธาตุ (วัดตะคุ) ก่อต้ังเมื่อ พ.ศ. 2330 เดิมมีช่ือว่า “วัดตะคุ” (ตะคุ เป็นภาษาโคราช ใช้ เรียกชื่อของหญ้าชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายต้นอ้อหรือหญ้าพง) ต่อมาคณะสงฆ์ให้ใช้ชื่อว่า “วัดหน้าพระธาตุ”
สันนิษฐานว่าเป็นวัดเก่าแก่ท่ีสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลท่ี 1) สร้าง โดยชุมชนที่อพยพมาจากนครเวียงจันทน์ แต่ก็คงได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ในใหญ่ในช่วงรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 3) เน่ืองมาจากศิลปะของพระอุโบสถ (สิม) และหอไตร ล้วน แตเ่ ป็นศลิ ปะแบบพระราชนยิ มในรชั กาลที่ 3 ทั้งสน้ิ จากหลักฐานที่ชัดเจนที่สุดที่สามารถอธิบายประวัติของวัดได้คือ วัดหน้าพระธาตุ (วัดตะคุ) มี เจ้าอาวาสรูปแรกคือ พระครูอินทรีย์สังวร (ท้าว) อดีตเจ้าคณะใหญ่เมืองปักธงชัย ซ่ึงไม่ทราบประวัติความ เปน็ มา ทราบแตเ่ พียงมรณภาพในปี พ.ศ. 2442 ดงั นนั้ จึงกำหนดอายุของวัดหน้าพระธาตุ (วัดตะค)ุ วา่ เก่ากว่า ปี พ.ศ. 2442 ขน้ึ ไป ภาพที่ 1 แสดงถึงความละเอียด ปราณตี ของจารกึ ภาพท่ี 2 ปรากฏอกั ษร ไทย สำนวนไทย “เมอื งโยนก”
วัดหนา้ พระธาตุ ยกตวั อยา่ ง พ.ศ.ท่วี าด ชา่ งแต้ม รปู แบบจารึกอักษร ช่างมฝี มี อื ภาษาไทย อักษรไทย หลกั ฐาน เมืองโยนก ราว 2330 สมิ ในพน้ื ท่ี ในอีสานกลาง คอื วดั ในจังหวดั ขอนแกน่ ซึ่งมีจำนวน 3 วัด วดั สนวนวารพี ัฒนาราม จัดต้ังประกาศเป็นวัดเม่ือปี พ.ศ.2410 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.2469 ส่วนตัวสิมสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2460 วัดสนวนวารีพัฒนาราม เดิมช่ือวัดโนนงิ้ว เพราะบริเวณ วัดเป็นป่างวิ้ ขาว ตั้งเม่ือ พ.ศ. 2465 ไดร้ ับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวนั ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2469 สมิ สร้าง เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2466 หลวงพอ่ แทน ธรี ธัมโม ให้ขอ้ มูล วา่ สิมได้สรา้ งข้นึ ในสมัยพระอาจารย์เวา้ เป็นเจ้าอาวาส สรา้ ง สิมบริเวณกลางลานวัด มีนาย ทองผา เป็นช่างก่อสร้างใช้เวลาเพียง 1 ปี โดยเร่ียรายเงินบริจาคจากคนใน หมู่บ้านสิ้นเงินประมาณ 200 บาท ในการสร้างช่างทองผาเป็นผเู้ ผาอิฐ นำหินปูนเป็นก้อนมาเผาบดจนเป็นปูน ขาว ใช้สออิฐ (ปูน+ทราย+ยางบง) ส่วนในเสมานำมาจากคนู างงาม อำเภอชนบท เป็นเสมาหินซ้อนกัน 3 แผ่น หมายถึง พระรัตนตรัย ฮูปแต้ม ช่างหยวกกับนายแดงเป็นช่างแต้ม ลักษณะสถาปัตยกรรมได้รับอิทธิพลจาก ชา่ งฝีมือช่างญวน ตัวโบสถ์เป็นอาคารแบบก่ออิฐถือปูน กว้าง 5 เมตร ยาว 7.5 เมตร มีทางเข้าด้านหน้า (ทิศ ตะวันออก) เพียงด้านเดียว ผนังด้านข้างเจ้าวงโค้งตามความนิยมของญวน ผนังสิมมีฮูปแต้มท้ังด้านนอกและ ด้านใน ใช้สีฝุน่ แตม้ เร่ืองราววรรณกรรมพ้ืนบ้าน โดยเน้นสนี ้ำเงินชนดิ พิเศษ ใช้สีขาวของปูนฉาบเปน็ สีพื้น โดย ไม่ลงสีรองพ้ืน ด้านนอกเป็นเร่ืองสินไซหรือสังข์ศิลป์ชัย วรรณกรรมลุ่มน้ำโขงท่ีได้รับความนิยม ส่วนด้านใน แสดงเรือ่ งราว เก่ยี วกบั พระเวสสันดรชาดก วัดสนวนวารีพฒั นาราม เป็นอีกแห่งหนึ่งที่มฮี ูปแต้มสวยงาม โดยเฉพาะในนิทานพ้ืนบ้านเร่ืองสินไซ ฮู ปแต้มบนผนังสิมของวัดสนวนวารี สามารถทำความเข้าใจเรื่องรางได้ง่ายไม่สับสนซับซ้อน โดยมีผังบอกลำดับ เรื่องราวของฮูปแต้มทั้งภายนอก และภายในสิมให้ศึกษาก่อนชม จึงง่ายต่อการเข้าใจเร่ืองราวในฮูปแต้ม ทัง้ หมด แม้การเขียนเร่ืองราวจะไมร่ ้อยเรยี งลำดับ และสลบั ไปมาบา้ ง หรือแมแ้ ตส่ ัดส่วนทไี่ ม่คงที่ เลก็ บา้ งใหญ่ บ้าง แต่เหล่านี้คือเสน่ห์ของฮูปแต้มอีสาน ท่ีสร้างสรรค์งานอย่างอิสระเสรี ไม่มีกรอบหรือแบบแผนเคร่งครัด อย่างงานช่างหลวง เปน็ ไปอยา่ งเรียบๆแบบพ้นื บ้าน
ภาพท่ี 3 จารกึ เป็นอกั ษรไทย แตอ่ า่ นเปน็ สำนวนอสี าน “สนิ ไซ เร็ว กับช้าง 4 ตวั แปลวา่ สินไช สกู้ บั ชา้ ง 4 ตัว ภาพที่ 4 มอี ักษรธรรม และ อกั ษรไทย
วดั สนวนวารี หลักฐาน พ.ศ.ท่ีวาด ช่างแตม้ จารึกอกั ษร พ.ศ.2469 แต่เรียงมะหาซาด ช่างหยวกและนาย พบอักษรธรรม อกั ษรไทย แต่ หมดแลว้ แดง สำนวนอีสาน และ วัดบ้านลาน บ้านลาน อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น วัดมัชฌิมวิทยาราม อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น วัดมัชฌิมวิทยาราม หรือวดั บ้านลาน และเรยี กอีกชื่อหนึ่งว่า “วัดกลาง” วัดเกา่ แก่ทีส่ ันนิษฐาน ว่าสร้างขน้ึ ราว ปีพ.ศ. 2470 มีภาพเขียน ฮูปแต้มที่งดงามอยู่รอบด้านนอกตัวสิม เป็นฮูปแต้มแสดงเร่ืองราวเกีย่ วกับเวสสันดร ชาดกเรียงลำดับจากด้านหนา้ ทิศตะวันออก ทิศเหนอื ทิศตะวันตก และทศิ ใต้ เริ่มจากกัณฑท์ ศพรถงึ นครกัณฑ์ รวม 9 ห้อง มีคำบรรยายใต้ภาพ การแสดงเร่ืองราวและลำดับภาพ ส่ือให้เข้าใจง่าย โดยแต่ละห้องมีจารึก บรรยายทั้งอักษรไทย และชัดเจน เน้นการใช้สีฝ่นุ วรรณะเย็น คือสฟี ้า สีน้ำเงิน สีเขียว และสีเหลือง เป็นฝีมือ ช่างแต้ม 2 คนคือ พ่อสุวรรณ ปีวสาร ชาวจังหวัดร้อยเอ็ด และพ่อลี แสนทวี จิตรกรฝีมือดีอีกคนหน่ึงในสมัย นั้น ภาพที่ 5 ปรากฏจารึก อักษรไทย สำนวนแบบไทย “ศาลาอาศรมจงกรมในพรมวหิ ารแห่งเวสฤาษ”ี วัดบา้ นลาน หลักฐาน พ.ศ.ท่ีวาด ช่างแตม้ จารกึ อกั ษร ราวปพี .ศ. 2470 พบ อกั ษรไทย แตส่ ำนวนไทย ศาลาอาศรมจงกรมใน พอ่ สวุ รรณ ปวี สาร พรมวหิ ารแห่งเวส ชาวจงั หวัดร้อยเอ็ด ฤาษี” และพอ่ ลี แสนทวี
และ ในพ้ืนที่ไกลก้ ัน คือ วัดสระบัวแก้ว อ.หนองสองห้อง ซ่ึงไม่ไกลนกั จากอ.บ้านไผ่ ปรากฏฮูปแต้มอสี าน วัด สระบัวแก้ว ตั้งอยู่ที่ บ้านวังคูณ ตำบลหนองเม็ก สิมวัดน้ีสร้างข้ึนเมื่อราวปี พ.ศ.2474 เมอ่ื แรกสร้างสิมของวัด นี้เปน็ สิมไมก้ ลางนำ้ อยู่บริเวณด้านใต้ของวดั ต่อมาได้ขดุ ลอกสระ นำดินมาถมปรับที่ แล้วสร้างเป็นสิมบกหลัง น้ีข้ึนโดยหลวงปู่ผุย ซ่ึงเป็นเจ้าอาวาสในขณะน้ัน ได้จำลองแบบจากวัดบ้านยาง อำเภอบรบือ จังหวัด มหาสารคาม มีช่างแต้มท้องถ่ินจาก อำเภอวาปีปทุม จังหวดั มหาสารคาม มาร่วมกนั เขยี นฮปู แตม้ เต็มผนังทั้ง 4 ด้าน ตัวสิมสร้างแบบก่ออิฐถือปูน เป็นสิมทึบท่ีมีประตูทางเข้าออกเพียงประตูเดียว ภายในและภายนอกของ สิมงดงามด้วยฮูปแต้ม แสดงเรอื่ งราวรามเกียรต์ิ พทุ ธประวตั ิ นรกภูมิ สินไซและวิถีชีวิตของผู้คนในอดีต โดยมี อกั ษรธรรมเขียนกำกับบนฮูปแตม้ ฮูปแต้มของวัดสระบัวแก้วนี้ ต่างจากฮูปแต้มวัดอ่ืนคือ มีการใช้เส้นแถบแบ่งองค์ประกอบของภาพ ออกเปน็ ตอนต่างๆ ลักษณะการเขียนฮูปแตม้ เม่ือพิจารณาจากฝีแปรงและการแตะแต้มภาพบางสว่ น จะเห็นว่า มีลักษณะคล้ายศิลปะตะวันตกในยุคอิมเพรสช่ันนิสม์ และ เม่ือ ดูจารึก วัดนี้จะมีความหลากหลายมาก ท้ัง จารึกอกั ษรไทย อกั ษรไทน้อย อกั ษรธรรม อกั ษรไทย สำนวนอสี าน ภาพที่ 6 แสดงถึงความหลากหลายของจารึก vyอ ั
ภาพท่ี 7 พบอกั ษรธรรม อั v ภาพที่ 8 อักษรไทย สำนวนอีสาน เชน่ อ่านวา่ รปู เสอื ของฮาบมะนาสวนเส็งพระรามแล (หมายถึง เสอื ของ ทศกนั ณ์ แขง่ กบั พระราม) แสดงถึงว่าเขียนเปน็ ภาษาไทย แต่ยงั คงสำนวนอสี านตามคำพูดสำนวนอีสานของ ทอ้ งถ่ิน ภาพท่ี 9 อักษรไทยน้อย
วดั สระบัวแกว้ หลักฐาน พ.ศ.ที่วาด ช่างแต้ม จารึกอักษร ภาพที่ 6-9 ราวปี พ.ศ.2474 ชา่ งแต้มท้องถิน่ จาก พบ อกั ษรไทย อักษรไทยน้อย อำเภอวาปปี ทุม อักษรธรรม และ อกั ษรไทย จังหวัดมหาสารคาม สำนวนอสี าน ขยับพ้ืนที่อีสานข้ึนมาบริเวณอีสานกลาง คือ จังหวัดมหาสารคาม ปรากฏฮูปแต้ม อีก 3 วัด แต่ผู้วิจัย ลงภาคสนาม เพยี ง 2 วดั ที่อ.นาดูน จ.มหาสารคาม คือ วัดป่าเรไร หรือวัดหนองพอก และ ห่างกัน ประมาณ 500 เมตร คอื วัดโพธาราม หรือ บ้านดงบัง วัดป่าเลไลย์ ต้ังอยู่ที่บ้านหนองพอก ตำบลดงบัง สร้างขึ้นราวปี พ.ศ.2224 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเม่ือปี พ.ศ.2460 วัดแห่งน้ีเดิมมีชือ่ วา่ “วัดหนองพอก” ต่อมาในปี พ.ศ.2485 ได้เปลีย่ นช่ือเปน็ วัด ปา่ เลไลย์ ภายในวัดมีสิมซึ่งไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างในสมัยใด ตัวสิมเป็นอาคารแบบก่ออิฐถือปูนทรง สเ่ี หลี่ยมผืนผ้าแบบทึบ นับเป็นสิมพื้นบ้านบริสุทธ์ิ ท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะ มีเสารับปีกนก หลังคาทรงจั่วช้ันเดียว มีปีกปกคลุมโดยรอบ หน้าบันไดทำเรียบมีชานจั่ว ตัวสิมยกสูงจากฐาน บนฐานมีระเบียงล้อมรอบทางข้ึนเป็น บนั ไดนาค จุดเด่นของสิมหลังนี้คือฮูปแต้มที่มีฝีมืองดงามมาก ปรากฏให้เห็นอยู่ท้ังด้านนอกและด้านในของสิม ด้านนอก เป็นฮูปแต้มเร่ืองรามเกียรติ์ และพระเวสสันดรชาดก ด้านในเป็นพุทธประวัติ พระมาลัย และพระอดีตพุทธะ การเขียนภาพใช้สีฝุ่นวรรณเย็นได้แก่ สนี ้ำตาล สีเขียวคาม สนี ้ำเงิน เป็นหลักคุณค่าทางวฒั นธรรมพื้นบ้านของ ศลิ ปกรรมช้ินนี้ คือ ช่างแตม้ ชาวพนื้ เมืองช่ือ “สงิ ห์” จารกึ ทพ่ี บวัดน้ี เปน็ การเขยี นอักษรไทยน้อย และ อักษรธรรม
ภาพที่ 10 พบจารกึ อกั ษรไทยน้อย “อา่ นวา่ โตฤาษี) วัดป่าเลไลย์ หลักฐาน พ.ศ.ทีว่ าด ช่างแตม้ จารกึ อกั ษร ภาพ10 ต้ังวสิ ุงคามสมี า ช่างแตม้ ชาว พบ อักษรไทยน้อย อกั ษร พ.ศ.2460 ไม่ พื้นเมอื งชอ่ื “สงิ ห์” ธรรม ปรากฏหลกั ฐาน ว่าสรา้ งในสมยั ใด วัดโพธาราม อำเภอนาดนู จังหวดั มหาสารคาม วดั โพธาราม ตั้งอยทู่ ี่บา้ นดงบัง เป็นวัดเก่าแกท่ ่ีสรา้ งขน้ึ ตง้ั แต่ปี พ.ศ.2343 ลักษณะของสิมเป็นสิมพ้ืนบ้านอสี าน อย่างแท้จริง สร้างข้ึนเท่ือปี พ.ศ.2451 อาคารก่ออิฐฉาบปูนพ้ืนเมือง ฐานสิมยกสูง หลังคาเป็นเครื่องไม้ มุง กระเบ้ือง ตัวสิมก่อผนังทึบ เจาะช่องหน้าต่าง ภายนอกและภายในสิมวัดโพธาราม งดงามด้วยฮูปแต้มฝีมือ เย่ียมเปรียบได้ด่ังงานช่างหลวงของภาคกลาง ทว่ากลับเป็นช่างท้องถ่ิน คืออาจารย์ซาลาย และนายสิงห์ เทคนิคการแต้มสีของวัดน้ี ใช้สีฝนุ่ วรรณะเย็น ได้แก่ สฟี ้า สีคราม สเี ขียว และสีขาว เป็นหลัก ด้านในเป็นภาพ เรื่องราวพุทธประวัติพระเวสสันดรชาดก และรามสูร เมขลา ส่วนด้านนอกเป็นเร่ืองของสินไซ พระเวสสันดร พระมาลัย และพทุ ธประวัติ ซงึ่ แต่ละภาพแตล่ ะตอน มบี รรยายภาพประกอบเป็นอกั ษรธรรมด้วย ปรากฏจารกึ เปน็ อกั ษรธรรม โดยมาก
ภาพที่ 11 พบจารกึ อกั ษร ธรรมในการใช้อธบิ ายภาพ วดั โพธาราม หลักฐาน พ.ศ.ทว่ี าด ชา่ งแตม้ จารกึ อกั ษร ภาพ11 พ.ศ.2451 อาจารย์ซาลาย และ พบ อกั ษรธรรม นายสิงห์ และ ในพ้ืนที่ จังหวัดร้อยเอ็ด วัดประตูไชย ประวัติวัดประตูชัย สร้างในปี พ.ศ.2441 ตั้งช่ือตามช่ือหมู่บ้าน ประตูชัยที่หมายถึงประตูสู่อำเภอธวัชบุรี แต่เดิมชื่อบ้านคำไฮ สิ่งก่อสร้างภายในวัดประกอบด้วยโบราณสถาน สำคัญ คือ สิม(อุโบสถ) ท่ีสร้างในปี พ.ศ.2441 และบูรณะใน พ.ศ.2461 โดยพระสงฆ์และชาวบ้าน ตามจารึก ด้านหลังพระประธานในสิม ท่ีผนังทั้งภายในและภายนอกเขียนภาพจิตรกรรมแบบพ้ืนถิ่นอีสานเต็มพ้ืนที่ โดย ช่างช่ือนายสี สะมุด และนายสุย สุ่มมาตย์ เมื่อปี พ.ศ.2461 ภายในห้องเขียนภาพอดีตพุทธเจ้าและพระศรี อาริยเมตไตร ประทับนั่งเรียงกัน 2 แถว ด้านหลังพระประธานเขียนภาพพระพุทธเจ้าประทับยืน 4 พระองค์ ส่วนภายนอกเขียนเร่ืองพระเวสสันดร พระมาลัย และสังข์สินไซ หน้าบันเขียนภาพเทวดานมัสการพระบรม สารรี กิ ธาตุ 2 องค์ จารึกทป่ี รากฏวัดนี้ มที งั้ เอกลักษณ์ของสิมวัดประตูชัย คอื ภาพจิตรกรรฝาผนังทเ่ี ขยี นข้ึนก่อน พ.ศ.2500 ในสมัยเดียวกับภาพ จติ รกรรมที่วดั กลางม่ิงเมอื ง วัดไตรภูมิคณาจารย์ วัดจักรวาลภูมิพนิ ิจ วดั ขอนแก่นเหนอื และวดั มาลาภริ มย์ ซ่ึง สะท้อนฝมี ือเชิงช่างอีสานพื้นบา้ นได้อยา่ งแท้จริง
ภาพท่ี 12 จารกึ เป็นอกั ษรไทย ภาพท่ี 13 จารกึ เป็นอกั ษรไทยนอ้ ย วดั ประตชู ัย หลักฐาน พ.ศ.ท่ีวาด ชา่ งแต้ม จารกึ อักษร ภาพ12-13 พ.ศ.2461 พบ อกั ษรไทย อกั ษรไทยนอ้ ย นายสี สะมุด และ นายสยุ สุ่มมาตย์ ผวู้ ิจัยจงึ สรปุ เปน็ รปู แบบตารางเพอ่ื ให้เหน็ ภาพไดง้ ่ายขึน้ เพอ่ื การเปรยี บเทยี บ 1.วดั หน้าพระธาตุ ยกตวั อยา่ งหลกั ฐาน พ.ศ.ทว่ี าด ช่างแต้ม รปู แบบจารึกอักษร 2.วัดสนวนวารี เมอื งโยนก ชา่ งมฝี มี อื ภาษาไทย อกั ษรไทย ไมช่ ดั เจน แต่ แตเ่ รยี งมะหาซาด นา่ จะราว ร.3 ชา่ งหยวกและนาย พบอกั ษรธรรม อกั ษรไทย แต่ หมดแล้ว พ.ศ. 2330 แดง สำนวนอสี าน พ.ศ.2469 3.วัดบา้ นลาน ศาลาอาศรมจงกรมใน ราวปีพ.ศ. 2470 พ่อสวุ รรณ ปีวสาร พบ อกั ษรไทย แตส่ ำนวนไทย 4.วดั สระบวั แกว้ พรมวหิ ารแห่งเวส ชาวจงั หวัดรอ้ ยเอด็ ฤาษี” และพ่อลี แสนทวี ภาพที่ 6-9 ราวปี พ.ศ.2474 ช่างแตม้ ทอ้ งถ่นิ จาก พบ อักษรไทย อกั ษรไทยน้อย อำเภอวาปีปทุม อกั ษรธรรม และ อักษรไทย จงั หวัดมหาสารคาม สำนวนอีสาน
วัดป่าเลไลย์ ภาพ10 ตงั้ วสิ งุ คามสมี า ชา่ งแต้มชาว พบ อักษรไทยนอ้ ย อักษร พ.ศ.2460 ไม่ พ้ืนเมอื งชื่อ “สิงห์” ธรรม ปรากฏหลกั ฐาน ว่าสร้างในสมยั ใด วดั โพธาราม ภาพ11 พ.ศ.2451 อาจารยซ์ าลาย และ พบ อกั ษรธรรม วดั ประตชู ยั ภาพ12-13 พ.ศ.2461 นายสงิ ห์ พบ อกั ษรไทย อักษรไทยนอ้ ย นายสี สะมดุ และ นายสุย สมุ่ มาตย์ จากตารางจึงสรุปได้วา่ แม้วา่ สิม และฮูปแตม้ รวมทงั้ จารึก ของอีสาน จะเป็นงานศิลปะพ้ืนบา้ นท่ีอาจ ไม่สวยหรูเสมอื นงานช่างหลวงของภาคกลาง ทวา่ การถ่ายทอดเรือ่ งราวของชา่ งแต้มน้นั กต็ รงไปตรงมา เหมอื น กบั จารึกอักษร ท่ีแต่ละพื้นท่ีไม่มีความแน่นอน และตายตัวว่าจะใช้อักษรไหน และ ฝีมือการเขียนเป็นอย่างไร ประณีต หรือไม่ ยกเว้นวัดตะคุ แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการลงพ้ืนที่ดูกล่มุ ฮูปแต้มบรเิ วณอีสานเหนือ ท่ีติดกับ ทางหลวงพระบาง และ เวียงจันทน์ และ อีกกลุ่ม ที่บริเวณอุบลราชธานี ซ่ึงถ้าหากมีการลงพ้ืนที่ อาจจะมี การเห็นปรากฏการณ์ หรอื บริบททางวฒั นธรรม สัมคม หรืออิทธิพลทางการเมืองหรือ รัฐชาติ เหมือนดงั ผูว้ ิจัย ตั้งคำถามไว้ในการเขียนบทความครั้งนี้ และ ยังต้องลงถึงรายละเอียดของช่างแต้ม ประวัติการศึกษา และ ความรู้ทางเชิงช่าง ของช่างแต้มอีกด้วย ถึงอย่างไรก็ตาม จารึกและฮูปแต้มท่ีปรากฏ จาก เป่ียมล้นด้วยความ ศรัทธา และต้ังใจเหล่านี้จึงเป็นเสมือนส่ือสะท้อนความรู้สึกนึกคิด ความสามารถ และภูมิปัญญาของคน สมัยก่อน ที่สามารถนำมาเป็นหลักฐานบันทึกเรื่องราวในอดีตของผู้คน ชุมชน และประเพณี วัฒนธรรม ตลอด จนถึงเรอ่ื งราวของพทุ ธศาสนา ผู้วิจยั จึงตั้งขอ้ สงั เกตวา่ ปรากฏการณืจารึกอักษรท่ีพบน้ี ที่มลี ักษณะความแตกตา่ งนี้ มีอิทธพิ ลหรอื อำนาจอะไรหรือไม่ หรือ เป็นเพียงความรู้และความเขา้ ใจการเขียนของชา่ งแตม้ หากมาดูประวัติการใช้ตัวอักษรที่บันทึกภาคอสี านนนั้ ธวชั ปณุ โณทก(2548) เรียกอกั ษรของอีสานว่า ไทน้อย ใช้ค่กู นั กบั อกั ษรธรรมในสังคมล่มุ น้ำโขงมาแตโ่ บราณ ไทน้อย ใช้เปน็ อักษรราชการของล้านช้างในการ บันทึกเรื่องราวต่างๆ เช่น กฎหมาย วรรณกรรมนิทาน ส่วนอักษรธรรมใช้การบันทึก พระคัมภีร์ ตำรา ชาดก คาถา เป็นอักษรสักสิทธิ์ จากหลักฐานต่างๆ สันนิษฐานว่า ไทน้อยพัฒนามาจากอักษรสุโขทัย เป็นต้นแบบ เพราะในจารึกลายเขียนในผนังถ้ำท่ีหลวงพระบาง ถ้ำนางอัน พบจารึกอักษร ท่ีเชื่อว่า ไกล้เคียงกันกับอักษร สมัยพระเจ้าลิไท แห่งสุโขทัย (พศ.1890-1911) แต่หลังจาก นั้น ได้อิทธิพล ทางศาสนามาจาก ล้านนา จึงได้ อิทธิพลจากตัวฝักขามล้านนา ทำให้ไน้อย ปรับรูปแบบผสมกับฝักขาม เป็นแบบ เฉพาะตนได้ชัด ท่ีเรียกว่าไท น้อย อักษรไทน้อยนั้น ในอดีตชาวอีสานกลุ่มท่ีพูดภาษาถิ่นไทย (หรือภาษาไทย-ลาว) มีอักษรเป็นของ ตนเองใช้ 2 ชนิด คือ อักษรธรรม และอักษรไทน้อย อักษรโบราณอีสานเป็นอักษรท่ีบันทึกสรรพวิชาการต่างๆ ในภาคอีสานและอาณาจักรล้านช้างมาโดยตลอด อักษรไทน้อย เป็นอักษรที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในกลุ่มคน
ไทยลุ่มแม่น้ำโขง คือล้านช้างและภาคอีสานของประเทศไทยมาตั้งแต่โบราณที่ใช้เขียนเอกสารทั่วไป รวมทั้ง เอกสารราชการ ภายหลังชาวอีสานนั้นเลิกใช้ตั้งแต่สมัยขยายการศึกษาระบบโรงเรียนจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค เป็นต้นมา ซ่ึงเริ่มต้นสมัยรัชกาลที่ 5 และอักษรไทยภาคกลางเข้ามามีอิทธิพลเต็มท่ีเมื่อประกาศใช้ พระราชบัญญัติประถมศึกษาเม่ือ พ.ศ. 2464 เป็นต้นมา หลังจากน้ันอักษรโบราณอีสานก็ถูกละเลยจากชาว อีสานเร่ือยมาจนถึงปจั จบุ นั (สราภรณ์ สวุ รรณแสง และ รตั นา จนั ทรเ์ ทาว์,2559) สรุป เป็นไปได้หรือไม่ว่า การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม โดยอำนาจทางการเมืองหรือไม่ เช่น ใน อำนาจจากทางสยาม ท่ีต้องการขยายอำนาจทางการสร้างความเป็นไทยในชุดน้ัน เพราะ จะทำให้อีสานเป็น สว่ นหนึ่ง จงึ ปฏริ ปู การปกครองสว่ นภมู ิภาค พ.ศ. 2435 ทไ่ี ทยใช้นโยบายสร้างความเปน็ รัฐชาติ จงึ ตงั้ โรงเรยี น ประถม และใช้หลักสูตรจากส่วนกลาง (เบญจวรรณ นาราสัจจ์,2551) ตรงกับ สมชาย นิลอาธิ 2544 กล่าวถงึ การลดบทบาทอักษรไทนอ้ ย ดงั น้ี 2435 จัดต้งั โรงเรียนหลวง ขึน้ ในวัด พ.ศ.2441 ประกาศจดั การเล่า เรียนในหัวเมือง ใช้แบบเรียนจากส่วนกลาง ช่วงนี้อักษรไทน้อย ธรรม ตัวขอม ยังคงรับใช้สัมคมในฐานะยุค ปฏิรูปการศึกษา ช่วงน้ี อิทธิพลการเข้ามาของอักษรไทย นัวไม่มีอิทธิพลมากนัก เพราะเจอการสร้างใบลาน จารด้วยตัวธรรม และ ไทน้อยอย่างแพร่หลาย(ยุทธพงษ์ มาตรย์วิเศษ.2548) ในสมัย ร.6 มี พรบ ประถมศึกษา พศ.2465 จึงมีการจัดการศึกษาประถม แทนโรงเรียนวัด จึงมกี ารนำอักษรไทยมาใช้มาก ทำให้ ไทน้อย และ ตัวธรรม ลดบทบาทลงเช่น หากดูแผนท่ี กรุงเทพฯ กับโคราช ไม่ไกลกันมากนัก จึงเป็นไปได้ว่า รับอิทธิพลจากกรุงเทพฯ ส่วน ด้านบน ความเป็นลา้ นชา้ ง ก็ขยายอทิ ธิพลทางวัฒนธรรม เข้ามาในพ้ืนทีอ่ ีสาน ตอนบน แถบลุ่มน้ำโขง ทำให้ ปรากฏ รูปแบบและเชิงช่าง ศิลปะ แบบ ลาวล้านช้าง และ ท้องถ่ินสูง มีความ อิสระทางความคดิ การออกแบบ ไมม่ ีขนบ รวมทั้งอกั ษรท่ีจารึกในฮูปแต้ม ก็ ได้สำนวนแบบ ลาว และท้องถ่ิน ถึงแม้จะเขียน โดย อักษรไทย แต่ สำนวนเป็นแบบอีสาน เช่น วดั สนวนวารี พัฒนาราม วัดสระบัวแก้ว และ แถบลุ่มน้ำชี คือ อีสานกลางส่วนมากในจังหวัดมหาสารคาม และ ร้อยเอ็ด ปรากฏอักษรธรรมเป็นส่วนมาก (เฉพาะสิมที่ผู้วิจัยลงพ้ืนท่ี) ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมองว่า พ้ืนท่ีใดก็ตามท่ีอยู่บริเวณ กลางๆ นั้น ได้รับอิทธิพลทาง แนวคิด สังคม การแพร่กระจายทางการเมือง การศึกษาได้ทุกทาง เป็นเสมือน ทางผ่านทางวัฒนธรรม เหมือนกับแนวคิดของการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม ท่ีกล่าวว่า การแพร่กระจายจะไปได้ก็ต่อเม่ือ ความ อำนวยสะดวกในทางการเดินทางท่ีไม่มีอุปสรรค และ ภูมิภาคที่ไกลก้ ันดังเช่น สำนักอเมรกิ ัน โดย Clark Wissler และ Alfred Kroeber ซ่ึงมีความน่าเชื่อถือในแง่ท่ีว่า วัฒนธรรมจะแพร่กระจายจากจุดศูนย์กลาง (จุดกำเนิด)ไป ตามพื้นที่เท่าที่มันจะไปได้ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกัน และยุคสมัยใกล้เคียงกัน ทำให้เราเห็นภาพวัฒนธรรมเป็น กลุ่มๆ และแพร่กระจายไปทุกๆ ที่ที่ไม่มีอุปสรรคทางภูมิศาสตร์ขวางก้ันตามสภาพทางภูมิประเทศที่มนุษย์ สามารถเดินทางไปถึงได้ หลักของการแพร่กระจาย วัฒนธรรมหน่ึงๆ จะแพร่กระจายไปยังแหล่งอ่ืนๆ ได้ต้องยึดหลักว่า วฒั นธรรม คือ ความคิด และพฤติกรรม (ผลของความคิด) ท่ีติดตัวบุคคล บุคคลไปถึงท่ีใดวัฒนธรรมกจ็ ะไปถึง ท่ีนั่น ดังนั้น การแพร่กระจายของวัฒนธรรมจะข้นึ อยกู่ บั ปัจจัยต่อไปนี้
1. หลักภูมิศาสตร์ ต้องไม่มีอุปสรรคทางภูมิศาสตร์ขวางก้ัน เช่น ไม่มีภูเขาสูง ทะเลกว้าง ทะเลทราย หมิ ะ ป่าทบึ เปน็ ต้น เพราะสง่ิ เหลา่ น้เี ปน็ อปุ สรรคต่อการเดินทางของคนท่ีมีวัฒนธรรมตดิ ตัว 2. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ การที่ผู้คนต้องเดินทางติดต่อไปมาหาสู่กันส่วนมาก เน่ืองมาจากปัญหาทาง เศรษฐกิจ บ้างก็ต้องการไปเท่ียวเตร่ดูส่ิงแปลกใหม่ แต่ กต็ ้องมีเงินทองจึงจะไปเท่ียวถิ่นอื่นได้ คนท่ีมีเศรษฐกิจ ดีจงึ มโี อกาสนำวฒั นธรรมตดิ ตัวไปสงั สรรคก์ ับวฒั นธรรมอื่นได้ 3. ปัจจัยทางสังคม ได้แก่ การจงใจไปแลกเปล่ียนวิธีการ พฤติกรรมใหม่และความรู้ เป็นต้น การไป ศึกษายังถ่ินอ่ืนจึงเป็นการไปแพร่กระจายวัฒนธรรมโดยตรง การรู้จักรักใคร่ และการแต่งงานกับคนต่าง วัฒนธรรม การไปร่วมปฏิบัติตามพิธีกรรมทางศาสนา และการอพยพโยกย้ายถ่ินเพราะเกิดภัยทางสังคม เช่น เกดิ สงคราม และความขดั แย้ง การประสพภยั ธรรมชาติ เชน่ ขา้ วยากหมากแพง แห้งแล้ง และการยึดครองโดย ผู้รุกราน เหลา่ นลี้ ว้ นเปน็ ปจั จยั ใหเ้ กดิ การแพร่กระจายทางวัฒนธรรมทงั้ สน้ิ 4. การคมนาคมที่ดี เปน็ ปัจจัยเอ้ือต่อการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม เช่น ถนนดี พาหนะสำหรับการ โดยสาร และการเดินทางในระยะทางไมไ่ กลเกินไปนัก ล้วนแล้วแตเ่ ป็นการเร่งการแพร่กระจายทด่ี ีอีกดว้ ย ดังนั้นวัฒนธรรมและอิทธิพลทางการศึกษาและการเมืองจึงปรากฏในรูปแบบของจารึกอักษร จึง ปรากฏจารึก หลายรูปแบบ เช่นในสิมหลังเดียว พบอักษรไทย อักษรไทน้อย (ภาษาลาว) และ ตัวธรรม ซึ่ง เป็นไปได้ว่า ชาวลาวได้เคยอพยพมาอยู่ในอีสาน หรือ กวาดต้อน เมื่อ พศ.2371 ซ่ึง มาอยู่กระจัดกระจาย หลายแห่ง รวมท้ังภาคกลางด้วย (.Bonnie Pacala Brereton. เอกสารปะกอบการสัมมนา ฮูปแต้ม มรดก วฒั นธรรม สองฟากฝ่งั ,2560) อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัย มองว่า การใช้อักษรต่างๆ ท่ีว่านี้นั้นท่ีปรากฏในรูปแบบต่างๆน้ี ก็คือ อิทธิพล ทางการเมือง ดังจะเห็นได้จาก ในอดีต มีการแยกแผ่นดินสองฝ่ังโขง ในยุคล่าอาณานิคม ทำให้เกิดการสร้าง ความแตกต่างทางอัตลักษณ์ของคนทั้งสองฟากฝั่ง ดังเช่น ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ กล่าวถึงว่า สยามเสียดินแดน ฝง่ั ซ้ายให้ฝร่ังเศสเพราะว่า เหตุผลทางการเมือง ร.5 จึงโปรดให้เปล่ียนชื่อดินแดน ที่เป็นมณฑลชัน้ นอกท่ียังคง อยู่ในปกครองของสยาม เพ่ือไม่ให้ดินแดนที่เรียกว่า ลาว เกิดความต่างจากสยาม มลฑลลาวพวน จึงมาเป็น มณฑลฝ่ายเหนือ มณฑลลาวกาว เปลี่ยนเป็น มณฑลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ย่ิงเป็นการตอกย้ำ ความต่าง ของคนสองฝั่ง ทำใหเ้ ป็นการตอกย้ำลงไปอีกว่า ต้องยอมรับภาษาไทย อย่างไม่มีเง่ือนไข โดยเฉพาะภาษาจาก สว่ นกลางทีต่ ้องการสรา้ งความเปน็ ไทย ดังนั้นอสี านจึงเป็นสว่ นหนึ่งของสยามประเทศ เขา้ สยู่ คุ รัฐชาติสมัยใหม่ มีปฏสิ มั พนั ธ์กบั อำนาจการปกครองแบบรัฐจารตี สยามเข้ามา(สวุ ทิ ย์ ธรี ศาสวัต 2546) และ จารึกในฮูปแต้มอสี านนนั้ อาจเป็นไปไดว้ ่า ช่างแตม้ นน้ั เป็นผู้ท่อี ยู่ในเหตกุ ารณ์ทางการเมือง จึง นำประสบการณ์มาถ่ายทอด เช่น ส่ือสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น ลวดหนาม พานรัฐธรรมนูญ ทหาร ซ่ึง สัมพันธ์กับ ศภุ ชัย สิงห์ยะบุศย์ (2560) ทำการศกึ ษาวิจยั ฮูปแต้มอีสานในบรบิ ทสังคมวัฒนธรรมท้องถ่ินสยามประเทศ ว่า รูปแบบฮูปแต้ม และเร่ืองราวท่ีปรากฏสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมอีสานในมิติอัตลักษณ์วัฒนธรรมชุมชน
ท้องถิ่น และ มิติสัมพันธก์ ับอำนาจการปกครองและความทนั สมัยจากกรงุ เทพ ท่แี ผ่เข้าสู่อีสานในสมัย ร.5 เป็น ตน้ มา หรือ จารกึ อักษรที่ปรากฏน้นั ช่างแต้ม หรือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เป็นเพียงแค่ ต้องการอธิบายความเป็น การสอนธรรม เพื่อ เป็นการอธิบายเพ่ือให้ชุมชนชาวพุทธรับรู้ เข้าถึง เป็นการส่ือ หรือ ส่งสาร แก่ผู้รับสาร เท่าน้ัน
เอกสารอ้างอิง ไพโรจน์ สโมสร. (2532). จิตรกรรมฝาผนังอีสาน. พิมพค์ รงั้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ: อมั รนิ ทรพ์ รนิ้ ตงิ้ กรุ๊พ จากดั . สมุ าลี เอกชนนยิ ม. (2548). ฮปู แตม้ ในสมิ อสี าน งานศิลป์ สองฝ่ังโขง. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ: มติชน สวุ ทิ ย์ ธีรศาสวตั และคณะ 2546 ประวตั ศิ าสตรเ์ ศรษฐกจิ หมู่บา้ นอีสาน ขอนแก่น คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ยทุ ธพงศ์ มาตยว์ เิ ศษ.(2548)อกั ษรไทนอ้ ยยุคโลกาภวิ ตั น.์ อินฟอเมช่นั สานกั วิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ขอนแก่น ศนู ยข์ อ้ มลู ลาว. (2560) ฮปู แตม้ มรดกวัฒนธรรมสองฟากฝ่ัง.พิมพค์ รง้ั ท่ี 1 ขอนแก่น โรงพิมพข์ อนแก่น การพมิ พ์ สราภรณ์ สวุ รรณแสง และรตั นา จนั ทรเ์ ทาว(์ 2559)การสบื ทอดภาษาอสี าน.วารสารบณั ฑิตศกึ ษา มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 กรกฏาคม-ธนั วาคม 2559 http://www.qrcode.finearts.go.th/index.php/th/historic-site/hs-roi-et/item/415-hs-roiet-010
บทความทางวชิ าการ จากการศึกษาฮปู แตม้ อสี าน เรื่อง ส่องอำนาจผ่านจารึกอกั ษรในฮูปแตม้ อสี าน ………………………………………………………….. เสนอ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม วงศพ์ งษ์คำ โดย นายวทิ ยา วฒุ ไิ ธสง รหัส 617220025-3 นกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา ปริญญาเอก สาขาวัฒนธรรม ศลิ ปกรรม และการออกแบบ รนุ่ ท่ี 9 คณะศิลปกรรมศาสตร์
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: