Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความ มกร - รูปแบบและความหมายในปราสาทบันทายสรี

บทความ มกร - รูปแบบและความหมายในปราสาทบันทายสรี

Published by kanikl, 2023-06-28 02:11:21

Description: มกร - รูปแบบและความหมายในปราสาทบันทายสรี

Keywords: มกร,ปราสาทบันทายสรี

Search

Read the Text Version

บทความ มกร : รปู แบบและความหมายในปราสาทบนั ทายสรี ป#ญญาวศิ ิษฐ+ สรุ สิ ุข รหัสนักศกึ ษา ๖๕๗๒๒๐๐๑๖-๘ สาขาวชิ า วิจยั วัฒนธรรม ศลิ ปกรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร+ มหาวิทยาลยั ขอนแกLน

มกร : รปู แบบและความหมายในปราสาทบนั ทายสรี ป#ญญาวศิ ษิ ฐ+ สรุ ิสขุ จากการลงพื้นที่ภาคสนามที่ ปราสาทบันทายสร,ี ปราสาทตาพรหม, ปราสาทนครวัด, ปราสาทบากอง ปราสาทพะโค, ประสาทพนมบางแคง และ ปราสาทโลเลย ในระหวBางวันที่ 25 ธันวาคม 2565 ทางดGานกรอบ หนGาบันครอบพื้นที่รูปสามเหลี่ยมหนGาจั่วที่อยูBเหนือทับหลัง โดยเฉพาะปราสาทบันทายสรีดGานกรอบหนGาบัน พบ มกร มีลักษณะที่แตกตBางจากรูปแบบศิลปกรรม ของกรอบหนGาบันปราสาททั้งหมดที่ลงพื้นที่ภาคสนามที่ กลBาวมา จากการตั้งขGอสังเกตุลักษณะของรูปแบบของมกร โดยมกรโดยทั่วไปจะมีลักษณะ มกรคายนาค แตB รูปแบบศิลปกรรมมกรของบันทายสรีปรากฏมี มกรคายสิงหR มกรคายคชสิงหR มกรคายครุฑ มกรคายพวงอุบะ มกรคายนาค และ กรอบหนGาบันเรียนแบบเครื่องไมG จึงเกิดขGอสงสัยวBาเหตุใด ปราสาทบันทายสรีจึงมีรูปแบบ ศิลปกรรมแตกตBางจากปราสาทอื่นๆมีความหมายโดยอรรถกับความเชื่อความสัมพันธRสังคมและวัฒนธรรมของ ปราสาทบนั ทายสรี จากการคGนควGาขGอมูลแถบอุษาคเนยRทั้งไทย ลาว เขมร และพมBา ตBางมีคติความเชื่อเกี่ยวกับการบูชางู โดยเฉพาะงูใหญB “มกร” (อBานวBา มะ–กะ–ระ หรือ มะ–กอน) หรือ เบญจลักษณRเป_นสัตวRตามความเชื่อของ พมBา ลGานนา สยาม และเขมรเรียกอีกอยBางวBา ตัวสำรอกหรือเหรา เนื่องจากในงานศิลปะ มกรมักจะคายหรือ สำรอกเอาวตั ถอุ ืน่ ออกมาทุกครั้ง เชBน มกรคายนาค (วชรธร สิมกิง่ , 2560) ปราสาทบันทายสรีอยูBนอกเมืองพระนครทางดGานทิศเหนือ พราหมณRยัชญวราหะ ราชครูในสมัยพระ เจGาชัยวรมันที่ 5 ใหGสรGางปราสาทบันทายสรีเพื่ออุทิศถวายพระศิวะ ปราสาทแหBงนี้เป_นปราสาทที่สรGางขึ้นโดย ขุนนาง แตกตBางไปจากปราสาทในลัทธิเทวราชาที่สรGางขึ้นโดยกษัตริยRเทBานั้นและเพื่ออุทิศใหGกับกษัตริยRหรือ บรรพบุรุษในฐานะเทพเจGา โดยปราสาทบันทายสรี มีชื่อเรียกตามภาษาเขมรวBา \"บันเตียไสร\" ซึ่งมีความหมาย วBา ปราสาทสตรี โดยต้งั แตปB ราสาทองคแR รกยนั ปราสาทองคสR ดุ ทGาย (ทนงศักด์ิ เลศิ พพิ ัฒนวR รกุล, 2562 ) ภาพที่ 1 : มกรคายนรสงิ หR ปราสาทบันทายสรี มกรคายนรสิงหR “นรสิงหR”นั้น มีความหมายจากตำนานพราหมณR นรสิงหR หรือ นรสีหR เป_นอวตารรBาง ที่ 4 ของพระนารายณR โดยมีรBางกายทBอนลBางเป_นมนุษยR และรBางกายทBอนบนเป_นสิงโต นรสิงหRเป_นผูGสังหาร

หิรัณยกศิปุ อสูรตนซึ่งไดGรับพรจากพระพรหมวBาจะไมBถูกสังหารโดยมนุษยRหรือสัตวR นรสิงหRเป_นที่รูGจักและบูชา โดยทั่วไป หิรัณยกศิปุบำเพ็ญตบะเป_นเวลานาน จนไดGรับพรจากพระพรหม ใหGเป_นผูGที่ฆBาไมBตายจากมนุษยR, สัตวR, เทวดา ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ทั้งจากอาวุธและมือ ทั้งในเรือนและนอกเรือนใหGฆBาไมBตาย หิรัณยกศิปุ ไดGอาละวาดสรGางความเดือดรGอนไปทั่วทั้งสามภพ พระอินทรRจึงทูลเชิญพระนารายณRอวตารเกิดมา เป_น นรสิงหR คือ มนุษยRครึ่งสิงหR นรสิงหRสังหารหิรัณยกศิปุดGวยกรงเล็บดGวยการฉีกอก ที่กึ่งกลางบานประตู ใน เวลาโพลGเพลG กBอนตาย นรสิงหRไดGถามหิรัณยกศิปุวBา สิ่งที่ฆBาเจGาเป_นมนุษยRหรือสัตวRหรือเทวดาหรือไมB สิ่งที่ สังหารเป_นมือหรืออาวุธหรือไมB ในเรือนหรือนอกเรือนหรือไมB และเป_นเวลากลางวันหรือกลางคืนหรือไมB คำตอบก็คือ “ไมB” นรสิงหRจึงประกาศวBา บัดนี้ พรที่ประทานจากพระพรหมไดGสลายไปสิ้นแลGว เทวดาทั้งสาม ภพจึงยินดี รูปประติมากรรมหรือรูปวาดของนรสิงหRตอนสังหารหิรัณยกศิปุ จึงมักสลักแสดงอำนาจและพลัง มกรคายนรสงิ หR ปกปอl ง โมกษะ ทำนบุ ำรงุ ความดี แสดงถงึ อำนาจทไ่ี มมB ีอะไรจะทำลายลงไดG ภาพที่ 2 : มกรคายคชสงิ หR ปราสาทบันทายสรี มกรคายคชสิงหR “คชสิงหR” คือสิงหRที่มีศีรษะเป_นชGาง เป_นสัญลักษณRของความอุดมสมบูรณR เป_นปmจจัย ใหGพืชพันธุRเจริญงอกงาม คชสิงหRมีสBวนสำคัญนGอยในศิลปะขอม แตBก็มีมาตั้งแตBศาสนสถานขอมที่เกBาที่สุด จนกระทั่งถึงสมัยปmจจุบัน คชสิงหRนี้มีมาแลGวตั้งแตBศิลปแบบสมโบรRไพรกุก เชBน บนทับหลังดGานตะวันออกของ ปราสาทสมโบรRไพรกุก ในศิลปะแบบไพรกเมงก็มีรูปคชสิงหRที่งามที่สุดปรากฏ อยBู เป_นรูปมองเห็นเฉียงคลGาย กับรูปบนทับหลังของปราสาทสมโบรRไพรกุก แตBมีมนุษยนาคกำลังขี่อยูBขGางบน ในศิลปะแบบกุเลน คชสิงหRก็ดู จะใหGอิทธิพลแกBมกร \"ซึ่งมี 4 เทGา\" และบางครั้งก็มีขนคอ เชBน ที่ปราสาทกากีหลังจากนั้นมา คชสิงหRก็มีรูปเป_น สิงหRยิ่งขึ้น เชBน ที่ปราสาทพระโค แปรรูป และ บันทายศรี ในศิลปะแบบบายน อาจเนื่องดGวยไดGรับอิทธิพลมา จากศิลปะจามแบบถาปมัม จึงมักสลักแสดงอำนาจและพลัง มกรคายคชสิงหR ความอุดมสมบูรณRเจริญงอกงาม (ชาญชยั คงเพียรธรรม, 2559) ภาพที่ 3 : มกรคายครฑุ ปราสาทบันทายสรี

มกรคายครุฑ คติ ครุฑที่ปรากฎในวรรณคดีสันสกฤต สืบเนื่องมาจากแนวความคิดเกี่ยวกับดวงอาทิตยR ใบคัมภีรRพระเวท ซึ่งใชGนกเป_นสัญลักษณR ตBอมาในยุคมหากาพยRครุฑถูกจินตาการขึ้นมาในรูปแบบของสัตวR พันทางครึ่งคนครึ่งสัตวR และโดยที่วรรณคดีมหากาพยRเนGนถึงเรื่องเทวอำนาจ ครุฑจึงกลายเป_นสัญลักษณRที่เทพ เจGาใชGแทนอำนาจ ใชGเป_นพาหนะ เป_นผูGรับใชG เป_นนักรบผูGกลGาหาญอันดับหนึ่งของพระวิษณุ และจาก แนวความคิดซึ่งไดGรับอิทธิพลจากทางเอเชียตะวันออกและความเป_นจริงในธรรมชาติเกี่ยวกับนกกินงู ทำใหGเกิด แนวความคิดที่ครุทเป_นศัตรูกับนาคดGวยครุฑในวรรณคดีภาษาสันสกฤตามคติพุทธศาสนาฝsายมหายานไมBแสดง บทบาทมากหรือ เดBนเหมือนที่ปรากฏในวรรถคดีภาษาสันสกฤตตามคติตาสนาพราหมณR เพราะ เพียงถูกนำไป เป_นพาหนะของพระธยานิพุทธอ โมฆสิทธิ เป_นเครื่องหมายเพาะของพระธยานิโพธิสัตวRวัชรปาลี ผูGปกปlอง คุGมครองนาคในรูปเผยของครุฑ ครุฑกับเป_นมิตร กับนาคตามหลักอหิงสา ครุฑในตตินี้เกิดขึ้นเพื่อ เป_นสื่อกลาง ในความพยายามอธิบายหลักปรัชญาในระดับสูงใหGสามารถเขGาใจไดGวBา มกรคายครุฑ ครุฑปกปlองความอุดม สมบรู ณRของแผBนดนิ (ธิดา มติ รกูล, 2527) ภาพที่ 4 : มกรคายพวงอบุ ะ ปราสาทบันทายสรี มกรคายพวงอุบะ “อุบะ” หมายถึงดอกไมG มีหลายลักษณะและมีชื่อเรียกตามลักษณะที่ชBางไดG ประดิษฐRขึ้น อุบะนี้นิยมเขียนแทรกเขGาไปในชBองหBางของลาย ทำใหGไดGลายที่สวยงาม สมบูรณR และอBอนชGอย มากยิ่งขึ้น ความหมายคือเกิดการเจริญงอกงามอุดมสมบูรณRไมBรูGจบ คายออกหรือสำลอกออกมาจากสัตวRผสม ในจินตนาการโดยนำเอาลักษณะเดBนของสัตวRที่ดุรGายมีกำลังมากมารวมกัน มีรูปรBางคลGายจระเขG มีลำตัวคลGาย สิงหRมีงวงเหมือนชGางแสดงถึงอำนาจเหนือสัตวRทั่วไป พบมากในศิลปะขอม คือ “มกร” เชื่อวBามีอิทธิพลของ ศิลปะอินเดียมาแตBเดิม ตBอมาไดGรับอิทธิพลศิลปะจีนเขGามาผสม แสดงถึงพลังอำนาจ ที่นำ ความอุดมสมบูรณR หรอื แสดงการปกปอl งความอุดมสมบรู ณR ณ ตรงน้ี ไมสB ญู สลาย ไมรB ูจG บ(ภภพพล จันทรวR ัฒนกลุ , 2560) ภาพท่ี 5 : มกรคายนาค ปราสาทบนั ทายสรี

มกรคายนาค จากการสมั ภาษณพR น้ื ท่ีภาคสนาม Roen chay (Touris Guide Lincense) กลาB ววBา “นาค”เป_นสัญลักษณRแหงB ความย่งิ ใหญB อดุ มสมบูรณR มวี าสนา ซ่งึ นาคคือรปู รBางของ งู เป_นสัตวRคร่งึ บกครง่ึ นำ้ เป_นธาตนุ ้ำ น้ำคือสัญลกั ษณRแหBงความอดุ มสมบูรณR หลBอเลีย้ งชีวิต ใหGชีวติ งอกงาม ท้ังมนุษยR สตั วR พืช ผลผลิต มกรคือมหาอำนาจท่ีปกปlองคมุG ครองนาค ใหคG วามอดุ มสมบรู ณRใหอG ยเูB ยน็ เปน_ สขุ ภาพที่ 6 : กรอบหนาG บันเรียนแบบเครื่องไมG ปราสาทบันทายสรี กรอบหนGาบันเรียนแบบเครื่องไมG โคปุระของปราสาทบันทายสรี ประกอบดGวยหนGาจั่วสามเหลี่ยมซ่ึง เลียนแบบมาจากอาคารเครื่องไมG หนGาจั่วเชBนนี้ปรากกฎมากBอนกับปราสาทในศิลปะเกาะแกรR และจะปรากฏ อีกกับปราสาทในศิลปะบาปวนบางหลัง เชBนปราสาทพระวิหารที่นBาสนใจก็คือ ที่ปลายหนGาจั่วมีลายตกแตBงเป_น รูปขมวดมGวนลักษณRพันธุRพืชตัวอBอนที่กำลังงอกงามจากเมล็ด หรือ อาจกลายมาจากสBวนงวงของชGาง ที่เป_น สวB นนึงของสัตวสR มมุติ มกร กไ็ ดG (ภภพพล จันทรวR ัฒนกลุ , 2560) แนวคิดความเชื่อและการสรGางสรรคRรูป มกร สรGางขึ้นเพื่อใชGประดับตกแตBงอาคารที่เกี่ยวเนื่องกับ ศาสนา ไดGแกB ศาสนาพุทธลัทธิเถรวาท ลัทธิมหายาน ศาสนาพราหมณR-ฮินดู ซึ่งความหมายหลักของมกร หมายถึง ความอุดมสมบูรณR จึงเป_นไปไดGวBาสรGางขึ้นเพื่อเป_นเครื่องหมายหรือสัญลักษณRมงคลอีกชนิดหนึ่ง สBวน รูปแบบมีทั้งที่รับมาจากศิลปะอินเดียสมัยอมราวดี คุปตะ หลังคุปตะ จากศิลปะแบบเขมร และศิลปะพุกาม โดยรูปแบบมกรไดGถูกดดั แปลงในแบบตนเองซึง่ มที ง้ั แบบงานหลวงและงานชาB งพนื้ เมอื ง สรุป “มกร” ใน ปราสาทบันทายศรี หรือเรียกตามสำเนียงเขมรวBา บันเตียไสร หมายถึง ปราสาทสตรี หรือปlอมสตรี ในบริเวณที่เรียกวBา อิศวรปุระ หรือเมืองของพระอิศวร ปราสาทแหBงนี้สรGางอุทิศถวายพระอิศวร ภายใตGพระนามวBา \"ตรีภูวนมเหศวร\" หรือ \"ผูGเป_นใหญBแหBงโลกทั้งสาม\" นอกจากนี้ศาสนาพราหมณRยังเกี่ยวขGอง ดGานศิลปกรรม โดยเฉพาะการสรGางรูปสัญลักษณRแทนการ เคารพบูชาพระศิวะ(อิศวร)และพระนารายณR(วิษณุ) ซึ่งไวGในที่สูงยังแฝงไวGดGวยวัฒนธรรมพื้นเมือง ซึ่งวัฒนธรรมลักษณะนี้ อาจเป_นวัฒนธรรมที่ทั้งอินเดียและเขมร สมัยกBอนเมืองพระนครเหมือนกันซึ่งสอดคลGองกับทฤษฎีสัญวิทยา ของ (F.de saussure) ที่เกี่ยวขGองกับระบบ สัญลักษณRที่ใหGความหมายโดยอรรถR (Denotative Meaning) ที่ปรากฎอยูBในความคิดของมนุษยRเป_น ความหมายของสังคมวัฒนธรรมกลBาวคือ ปราสาทสตรีหรือปlอมสตรี สตรีที่แสดงถึงเพศแมBมีความหมายโดย อรรถRคือการใหG “กำเนิด” การเกิดคือความงอกเงยงอกงาม มกร ซึ่งเป_นตัวแทนของอิทธิ์ฤทธิ์อำนาจปกปlอง ทำนุบำรุงความดี จึงเป_นการใหGหมาย สัญลักษณR เป_นการสรGางขึ้นเพื่อใหGแผBนดินเกิดความอุดมสมบูรณRงอกเงย งอกงามพูนสุขเป_นอนันตR ตามที่มกรไดGคายสัญลักษณR สิงหR, คชสิงหR, ครุฑ, พวงอุบะ, นาค และ เครื่องไมG ที่ แสดงถงึ ความหมายแหBงความดงี ามนัน้ ออกมา

บรรณานุกรม ชาญชยั คงเพยี รธรรม, (2559). สตั วศR ักดสิ์ ทิ ธใิ์ นสงั คมเขมร, 2566. 8-9. ธดิ า มิตรกูล, (2527). คติเรอื่ งครฑุ จากศลิ ปกรรมจากเขมร, 2566. 12-13. ทนงศกั ด์ิ เลิศพิพฒั นวR รกุล, (2562). ปราสาทบันทายศร,ี ศูนยRมนษุ ยวR ทิ ยาสิรินธร วชรธร สิมกิ่ง. (2560). มกร นาค พญาลวง. เชียงใหมB : ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป• มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.B ภภพพล จันทรวR ฒั นกุล. (2560). 30 ปราสาทขอมในเมืองพระนคร. นนทบุรี : เมอื งโบราณ โสวตั รี ณ ถลาง. (2560). FinTech: แนวความคดิ และทฤษฎีมานุษยวทิ ยา, 2566. 42-43. สัมภาษณ+ Roen chay (Touris Guide Lincense). 2565. สมั ภาษณ+. ณ ปราสาทบนั ทายสรี เมืองพระนคร เสียมเรยี บ ประเทศกมั พูชา.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook