Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความ อิทธิพลการใช้ตัวอักษรอธิบายภาพจิตรกรรมฝาผนัง กรณีศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดป่าเรไรย์ จังหวัดมหาสารคามและวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน

บทความ อิทธิพลการใช้ตัวอักษรอธิบายภาพจิตรกรรมฝาผนัง กรณีศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดป่าเรไรย์ จังหวัดมหาสารคามและวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน

Published by kanikl, 2020-12-24 03:16:18

Description: บทความ อิทธิพลการใช้ตัวอักษรอธิบายภาพจิตรกรรมฝาผนัง กรณีศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดป่าเรไรย์ จังหวัดมหาสารคามและวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน

Keywords: จิตรกรรม,จิตรกรรมฝาผนัง

Search

Read the Text Version

อทิ ธพิ ลการใช้ตัวอกั ษรอธบิ ายภาพจิตกรรมฝาผนัง : กรณศี ึกษาภาพจติ กรรมฝาผนัง วดั ป่ าเรไรย์ จงั หวดั มหาสารคาม และวดั ภูมนิ ทร์ จังหวดั น่าน The Pull of using letters on Moral Painting: A case study of WatPharyrai, Mahasarakam Province and WatPhumin, Nan Province. ธีระบุตร ลุสีดา นกั ศึกษาปริญญาโท หลกั สูตรวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น บทนา อกั ษร คือสญั ลกั ษณ์หรือเครื่องหมายสาหรับใชแ้ ทนหน่วยเสียงในภาษาหน่ึง ๆ โดยทว่ั ไป อกั ษรแต่ ละตวั มกั จะใชแ้ ทนหน่วยเสียงหน่ึง ๆ ซ่ึงอาจเป็ นเสียงสระ พยญั ชนะ หรือหน่วยเสียงปลีกยอ่ ยอื่น ๆ เช่น อกั ษรโรมนั อกั ษรไทย อกั ษรมอญ โดยทวั่ ไปเรียกกนั วา่ \"ตวั หนงั สือ\" (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2551) ในดินแดนทางตะวนั ออก อารยธรรมอินเดียไดแ้ พร่อิทธิพลเขา้ มาสู่บริเวณเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ประมาณ พุทธศตวรรษท่ี 11-12 ซ่ึงมีอิทธิพลดา้ นศาสนา ศิลป วฒั นธรรม ศาสตร์ต่างๆ รวมท้งั ภาษาศาสตร์ และ อกั ษรศาสตร์ ปรากฏเด่นชดั จากจารึกรูปอกั ษรที่มีลกั ษณะรูปอกั ษรท่ีใชอ้ ยูใ่ นราชวงศป์ ัลลวะ ที่อยู่ในทาง ตอนใตข้ องประเทศอินเดีย เช่นจารึกวดั มเหยงค์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช จารึกเขาวงั จงั หวดั ปราจีนบุรี จารึกศรีเทพจงั หวดั เพชรบูรณ์ เป็ นต้น (กรมศิลปากร, 2529) ศาสตราจารยย์ อร์ช เซเดส์กล่าวว่า อกั ษรพราหมีของอินเดียใตเ้ ขา้ มาสู่สุวรรณภูมิ ในช่วงราชวงศก์ ทมั พะและปัลลวะ เมื่อขอมมีอานาจข้ึนได้ ดดั แปลงเป็ นอกั ษรของตวั เอง (กาธร สถิรกุล, 2527) อีกท้งั ยงั มีผูก้ ล่าวไวว้ ่า อกั ษรมอญ พฒั นามาจาก อกั ษรพราหมี ผา่ นทางอกั ษรปัลลวะ และเป็ นแม่แบบของอกั ษรอ่ืน เช่น อกั ษรไทล้ือ อกั ษรธรรมที่ใชเ้ ขียน คมั ภีร์ในลา้ นนาและลา้ นชา้ ง (จาปา เย้อื งเจริญ, จาลอง สารพดั นึก, 2528) และเมื่อพิจารณาจากขอ้ มูลที่มีน้นั อาจสรุปไดว้ ่าอกั ษรธรรมท่ีใชอ้ ยใู่ นดินแดนของอาณาจกั รลา้ นนาและลา้ นชา้ งน้นั ถูกพฒั นามาจากอกั ษร พราหมี ผา่ นอกั ษรปัลลวะ และมีอกั ษรมอญเป็ นแม่แบบ หรือถูกพฒั นาจากอกั ษรมอญนนั่ เอง ภาพจิตกรรม ฝาผนงั ของดินแดนลา้ นนาและลา้ นชา้ งก็คงจะไม่ต่างกนั จากการพฒั นาของตวั อกั ษร ซ่ึงคงจะไดร้ ับอิทธิพล จากบรรพบุรุษท่ีเขียนสืบทอดกนั ต่อ ๆ มา แต่เมื่อผูเ้ ขียนไดล้ งพ้ืนที่ศึกษาดูงานดา้ นศิลปะและวฒั นธรรม อีสาน ระหวา่ งวนั ท่ี 3-6 กนั ยายน 2563 และลงพ้นื ที่ศึกษาดูงานศิลปะและวฒั นธรรมของภาคเหนือที่จงั หวดั น่าน ผเู้ ขียนไดเ้ ห็นตวั อกั ษรที่ปรากฏในฮูปแตม้ สิมอีสานวดั ป่ าเรไรย์ จงั หวดั มหาสารคามและตวั อกั ษรที่ ปรากฏในภาพจิตกรรมฝาผนังวดั ภูมินทร์ จงั หวัดน่าน ซ่ึงท้งั สองวดั น้ีต้งั อยู่ไกลห่างกันในทางด้าน ภูมิศาสตร์หรือสถานที่ต้งั ของวดั แตท่ วา่ ในการใชต้ วั อกั ษรอธิบายภาพจิตกรรมฝาผนงั น้นั ยงั ใชอ้ กั ษรธรรม เพื่ออธิบายเหมือนกนั อีกท้งั การเขียนอกั ษรธรรมเหล่าน้นั ก็มิไดแ้ ตกต่างกนั ไปมากเท่าไหร่ มีเพียงบางจุด เท่าน้นั ที่ผเู้ ขียนสามารถที่จะสงั เกตเห็นในความแตกต่าง

จากการที่ผู้เขียนได้ลงพ้ืนท่ีศึกษาดูงานแล้วน้ัน ทาให้ผู้เขียนเกิดข้อกังขาหรื อสงสัยว่า การใช้อกั ษรธรรมอธิบายภาพจิตกรรมฝาผนังน้ัน ระหว่างในแถบดินแดนล้านช้างและดินแดนล้านนา สถานที่ใดใชอ้ กั ษรเหล่าน้ีก่อน และมีการแพร่กระจายในการใช้อกั ษรเหล่าน้ีตามหลกั ทฤษฎีแพร่กระจาย หรือไม่ เพ่ือเป็ นการศึกษาอิทธิพลการใชต้ วั อกั ษรอธิบายภาพจิตกรรมฝาผนงั : กรณีศึกษาภาพจิตกรรมฝา ผนงั วดั ป่ าเรไรย์ จงั หวดั มหาสารคาม และวดั ภูมินทร์ จงั หวดั น่านต่อไป ความเป็ นมาของภาพจิตกรรมฝาผนังของวดั ป่ าเรไรย์ และวดั ภูมนิ ทร์ วดั ป่ าเรไรย์ วดั ป่ าเรไรย์ บา้ นหนองพอก ตาบลดงบงั อาเภอนาดูน จงั หวดั มหาสารคาม เดิมช่ือ \"วดั บา้ นหนองพอก” เป็ นวดั ราษฎร์สังกดั คณะสงฆ์มหานิกาย ต้งั วดั เมื่อ พ.ศ. 2224 ไดร้ ับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเม่ือวนั ท่ี 4 มิถุนายน พ.ศ. 2460 และได้เปล่ียนชื่อใหม่เป็ น \"วดั ป่ าเรไรย”์ เมื่อ พ.ศ. 2465 (กรมการศาสนา, 2536) บนฝาผนงั สิมวดั ป่ าเรไรย์ มีภาพเขียนท้งั ดา้ นนอกและดา้ นใน ช่างเขียนหรือช่างแตม้ ชื่อ นายสิงห์ วงศว์ าด เป็ นชาวบา้ นบา้ นคลองจอบ อาเภอพยคั ฆภูมิพิสัย จงั หวดั มหาสารคาม แบ่งเร่ืองราว ของภาพและลาดบั เร่ืองราวค่อนขา้ งชดั เจน การเขียนจะเริ่มตน้ จากขวาไปซ้าย จากล่างข้ึนบน โดยเน้ือเรื่อง ดา้ นในเป็นเรื่องพทุ ธประวตั ิ พระมาลยั อดีตพระพุทธเจา้ ส่วนผนงั ดา้ นนอกเขียนเรื่องพระลกั -พระลาม และ พระเวสสันดรชาดก (วุฒินันท์ ส่งเสริม, 2562) โดยได้สร้างสิม หรืออุโบสถแห่งน้ีเม่ือปี 2400 วาดภาพจิตกรรมฝาผนงั ในปี เดียวกนั (บุรินทร์ เปล่งดีสกุล, 2554) และใช้อกั ษรธรรมอีสานในการอธิบาย ภาพจิตกรรมฝาผนงั ดงั น้ี ภาพที่ 1 เขียนอธิบายดว้ ยอกั ษรธรรมอีสานวา่ “m:kr{b rfb ^s6ik]A” แปลความวา่ “ทา้ วพิบพดิ ดูหูราแล” หรือ “ทา้ วพเิ พกดูโหราแล”

วดั ภูมินทร์ ตามพงศาวดารของเมืองน่าน สร้างข้ึนเม่ือประมาณ พ.ศ.2139 โดยพระเจา้ เจตบุตร พรหมมินทร์ เจา้ ผูค้ รองเมืองน่านไดส้ ร้างข้ึนหลงั จากท่ีครองนครน่านได้ 6 ปี หรือประมาณ ปี พ.ศ. 2133 เดิมช่ือ “วดั พรหมมินทร์” ซ่ึงเป็ นชื่อของเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ ผูส้ ร้างวดั แต่ต่อมาในภายหลัง ชื่อวดั ไดเ้ พ้ียนไปจากเดิมเป็ นวดั ภูมินทร์ ปัจจุบนั วดั ภูมินทร์ ต้งั อยู่ที่บา้ นภูมินทร์ เลขที่ 33 ตาบลในเวียง อาเภอเมือง จงั หวดั น่าน ใกล้กับพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติน่าน ต่อมาใน ปี พ.ศ.2410 ได้มีการบูรณะ คร้ังใหญ่ ในสมยั เจา้ อนนั ตวรฤทธ์ิเดช ซ่ึงตรงปลายสมยั รัชกาลที่ 4 ซ่ึงใชเ้ วลาบูรณะ นานถึง 6 ปี (ประชุม พงศาวดารภาคที่ 10 ราชวงษป์ กรณ์, 2461) จิตรกรรมฝาผนงั ของวหิ ารวดั ภูมินทร์ มีลกั ษณะแนวทางท่ีเป็ นภาพเขียนอุดมคติ ประเพณีอนั ดีงาม เน้ือหาภาพส่วนใหญ่จะเล่าเรื่อง “คนั ธกุมาร” เป็ นนิทานชาดก ท่ีมุ่งสอนให้คนทาความดี ช่างวาดได้ สอดแทรกภาพวิถีชีวิตของชาวน่านในอดีต คทั ธณะกุมารถือเป็ นชาดกเร่ืองหน่ึง ซ่ึงแพร่หลายอยู่ในภาค อีสานและภาคเหนือ เป็ นเร่ืองของพระโพธิสัตว์ท่ีมีพ่อเป็ นช้าง(พระอินทร์แปลงกายมา) ซ่ึงไม่ได้อยู่ เล้ียงดูคัทธณะกุมารแต่อย่างใด มีเพียงแม่คอยเล้ียงดูคัทธณะกุมารแต่เพียงผู้เดียว เมื่อเติบโตข้ึน คทั ธณะกุมารไดท้ าหน้าที่ปกปูองดูแลแม่เป็ นอย่างดี แต่เม่ือคิดถึงพ่อของตนจึงออกเดินทางติดตามหาพ่อ ระหวา่ งทางไดพ้ บกบั อุปสรรคนานาประการที่น่าต่ืนเตน้ และไดต้ ่อสู้จนไดร้ ับชยั ชนะ จนในท่ีสุดไดพ้ บพอ่ ของตน รวมท้งั ยงั ได้พบกับคู่ครองจนมีบุตรด้วยกนั 2 คน แต่แล้วต่อมาบุตรท้งั สองต้องบาดหมางกัน จนทาใหต้ อ้ งรบกนั (พระจตุรวิทย์ โฆสิตมงฺคโล, 2560) นอกจากความงดงามของภาพจิตรกรรมฝาผนงั แลว้ ศิลปิ นยังได้สอดแทรกสาระสาคัญด้านอักขรวิทยา ภาษาล้านนาอีกด้วย ซ่ึงอักษรหรืออักขระท่ีใช้ ประกอบการอธิบายภาพเหล่าน้นั ช่างไดใ้ ชอ้ กั ษรธรรมลา้ นนา หรือตวั เมืองในการเขียนดงั น้ี ในขอ้ ความเขียนอธิบายดว้ ยอกั ษรธรรมลา้ นนา หรือตวั เมือง วา่ “เจา้ คทั ธไดไ้ มร้ ้อยกอเกียนร้อยเหล่มเป็นลูกนอ้ งมาน้ีแล”

ซ่ึงเม่ือผเู้ ขียนไดเ้ ห็นตวั อกั ษรของอกั ษรธรรมท้งั สองแบบแลว้ น้นั ผเู้ ขียนสามารถที่จะอ่านออกเป็น บางตวั ซ่ึงคาดเดาไดไ้ มเ่ กินความสามารถและประสบการณ์ จึงทาใหผ้ เู้ ขียนไดค้ น้ ควา้ ศึกษาเพมิ่ เติมเก่ียวกบั เร่ืองของการใชอ้ กั ษรอธิบายภาพจิตรกรรมฝาผนงั ของท้งั สองวดั และเม่ือสรุปเป็นตารางแลว้ อาจจะสรุปได้ ดงั น้ี ลาดับ วดั ปี ทสี่ ร้าง ปี ที่ ช่างเขียน อกั ษรทปี่ รากฏ วรรณกรรมท่ี โบสถ์ วาด ปรากฎ 1 ป่ าเรไรย์ พ.ศ. พ.ศ. ช่างสิงห์ อกั ษรธรรม พุทธประวตั ิ, 2400 2400 วงศว์ าด อีสาน พระมาลยั , พระเวสสันดร และ พระลกั -พระลาม 2 ภมู ินทร์ พ.ศ. พ.ศ. หนานบวั ผนั อกั ษรธรรม พทุ ธประวตั ิ, 2139 2410 ลา้ นนาและ พระมาลยั อกั ษรไทย และคทั ธณกุมาร จากตารางดงั กล่าวเห็นไดว้ า่ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ของวดั ป่ าเรไรยเ์ ขียนก่อนภาพจิตรกรรมฝาผนงั ของวดั ภูมินทร์ ประมาณ 10 ปี และในภาพจิตรกรรมของวดั ป่ าเรไรย์ ไม่มีอกั ษรอ่ืนปรากฏนอกจากอกั ษร ธรรมอีสาน ส่วนภาพจิตรกรรมฝาผนังของวดั ภูมินทร์จะมีอกั ษรไทยที่ใช้ในปัจจุบนั ปะปนอยู่บา้ ง แต่ อย่างไรก็ตาม อกั ษรท่ีปรากฏน้นั ยงั ไม่อาจจะสรุปไดว้ ่าระหวา่ งอกั ษรธรรมอีสานกบั อกั ษรธรรมลา้ นนา หรือตวั เมือง อกั ษรใดเกิดก่อน และท่ีใดไดร้ ับอิทธิพลจากท่ีใด เม่ือไดศ้ ึกษาประวตั ิศาสตร์ และความเป็นมาของอกั ษรธรรมท้งั สองรูปแบบแลว้ จึงพบวา่ ในการสืบ ทอดวฒั นธรรมทางวรรณกรรมและตวั อกั ษรน้นั พบวา่ อาณาจกั รลา้ นชา้ ง(ลาว)ไดม้ ีความสัมพนั ธ์ใกลช้ ิดกบั อาณาจกั รลา้ นนาเชียงใหม่ในสมยั ราชวงศม์ งั รายและไดเ้ คยมีการสืบทอดวฒั นธรรมจากลา้ นนาดงั ปรากฏ หลกั ฐานในพงศาวดารลา้ นชา้ งและพงศาวดารโยนกไดก้ ล่าวตรงกนั วา่ ในสมยั พระเจา้ โพธิสารราชแห่งลา้ น ชา้ ง (พ.ศ. 2063-พ.ศ. 2093) ไดส้ ่ง ราชทูตมาขอพระไตรปิ ฎก 60 คมั ภีร์และพระเทพมงคลเถระพร้อมท้งั บริวารจากลา้ นนาเชียงใหม่ ไปเผยแพร่พระธรรมในอาณาจกั รลา้ นชา้ งเมื่อ พ.ศ. 2066 ซ่ึงคร้ังน้นั วรรณกรรม พระพุทธศาสนาของลา้ นนาเชียงใหม่เจริญรุ่งเรืองมาก วรรณกรรมเหล่าน้นั ได้กระจายไปสู่ดินแดนภาค อีสาน ในขณะเดียวกนั ตวั ธรรมที่ใชใ้ นประชาคมอีสานจึงมีรูปแบบคลา้ ยกนั กบั อกั ษรญวนและอกั ษรฝักขาม ของภาคเหนือซ่ึงน่าจะมีววิ ฒั นาการมาจากอกั ษรภาคเหนือ และไดม้ ีการววิ ฒั นาการต่อมาในประชาคมของ ตนจึงพบว่ารูปแบบของอกั ษรต่างไปจากเดิมซ่ึงมีชื่อเรียกตามภาษาทอ้ งถิ่นว่า “อกั ษรตวั ธรรม” ใช้เขียน เรื่องราวที่เป็นคดีธรรม (ธวชั ปุณโณทก, 2542) ราล์ฟ ลินตนั (Ralph Linton ) อธิบายวา่ การแพร่กระจายทางวฒั นธรรม เป็ นการเปล่ียนแปลงทาง สังคมเกิดข้ึนจากการติดต่อสื่อสารกนั ระหวา่ งสงั คมท่ีตา่ งวฒั นธรรมรวมกนั และต่างแพร่กระจายวฒั นธรรม

ไปสู่กนั และกนั ส่วนใหญแ่ ลว้ เกิดจากการแพร่กระจายทางวฒั นธรรมจากภายนอกเขา้ มามากกวา่ เกิดจากการ ประดิษฐค์ ิดคน้ ใหม่ข้ึนเองในสังคม หรือถา้ มีก็มกั จะเกิดจากการนาส่ิงใหม่ ๆ จากภายนอกเขา้ มาผสมผสาน กับของที่มีอยู่ก่อนแล้ว เป็ นของใหม่ที่ไม่เคยมีมา การประทะสังสรรค์ของวฒั นธรรมน้ีเกิดจากการ แพร่กระจายทางวฒั นธรรมใดวฒั นธรรมหน่ึงหรือท้งั สองอาจเกิดจากปัจจยั ดงั ต่อไปน้ี 1.) การอพยพยา้ ยถ่ิน ของกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง 2.) การขยายดินแดนของกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง 3.)การล่าอาณานิคมของสังคมตะวนั ตก 4.) เกิดจากการเผยแพร่วฒั นธรรมโดยการส่ือสารถ่ายทอดผา่ นส่ือมวลชน ระบบการศึกษาและเทคโนโลยตี ่างๆ (พณั ณมาศ พิชิตกุล และคณะ, 2531) การยอมรับวฒั นธรรมน้ันจะตอ้ งอาศยั ปัจจยั ในการรับเอาวฒั นธรรมท่ีแพร่กระจายเขา้ มา ดังน้ี 1.) การปรับตวั และ 2.) บูรณาการทางวฒั นธรรม การแพร่กระจายทางวฒั นธรรมและเกิดการปรับตวั การผสมกลมกลืนทางวฒั นธรรมและการบูรณาการที่ชดั เจน การยอมรับวฒั นธรรมการใชอ้ กั ษรธรรมของ อีสานหรือลา้ นชา้ ง จึงถือไดว้ า่ ไดร้ ับอิทธิพลมาจาก การใชอ้ กั ษรธรรมลา้ นนาหรือตวั เมืองน้นั เอง ถึงแมว้ า่ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั วดั ป่ าเรไรย์ จะสร้างหรือเขียนข้ึนก่อนภาพจิตรกรรมฝาผนงั วดั ภูมินทร์ก็ตาม แต่ใน การใช้อักษรธรรมน้ัน ช่างผู้เขียนก็ย่อมได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษท่ีได้รับเอาวฒั นธรรม การใชอ้ กั ษรเหล่าน้ีมาจากดินแดนลา้ นนาเช่นเดิม อิทธิพลการใชต้ วั อกั ษรอธิบายภาพจิตกรรมฝาผนงั : กรณีศึกษาภาพจิตกรรมฝาผนงั วดั ป่ าเรไรย์ จงั หวดั มหาสารคาม และวดั ภูมินทร์ จงั หวดั น่าน จึงสามารถที่จะสรุปไดว้ า่ ภาพจิตกรรมฝาผนงั วดั ป่ าเรไรย์ จงั หวดั มหาสารคามอาจจะได้รับอิทธิพลการใช้ตัวอกั ษรธรรมในการอธิบายภาพจิตรกรรมฝาผนัง จากดินแดนลา้ นนา ถึงแมใ้ นภาพจิตกรรมฝาผนงั วดั ภมู ินทร์ จงั หวดั น่านจึงถูกสร้างข้ึนทีหลงั กต็ าม

เอกสารอ้างองิ กรมศิลปากร, หอสมุดแห่งชาติ. จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 อกั ษรปัลลวะ หลังปัลลวะพทุ ธศตวรรษที่ 12- 14. กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2529. กาธร สถิรกุล, ลายสือไทย 700 ปี . กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภา, 2527. จาปา เย้อื งเจริญ, จาลอง สารพดั นึก, แบบเรียนภาษามอญ. กรุงเทพฯ : ภาควชิ าภาษาตะวนั ออก มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 2528. ธวชั ปุณโณทก. (2540). อกั ษรโบราณอสี าน : อกั ขรวทิ ยาอกั ษรธรรมและไทยน้อย. กรุงเทพฯ. สยามเพรส แมเนจเมน้ ท.์ พณั ณมาศ พชิ ิตกลุ และคณะ, ขอบข่ายภูมิศาสตร์. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. 2531 บุรินทร์ เปล่งดีสกุล. (2554). พัฒนาการของจิตรกรรมฝาผนังอีสาน กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น จังหวัด มหาสารคาม และจังหวัดร้ อยเอ็ด. ขอนแก่น: รายงานการวิจัยสาถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. _____________, ประชุมพงษาวดาร ภาคท่ี 10. (2461). กรุงเทพฯ: โรงพิมพโ์ สภณพิพรรฒธนากร. (พิมพ์ คร้ังแรกในงานปลงศพพระเจา้ สุริยพงษผ์ ริตเดชฯ ปี มะเมีย พ.ศ. 2461) วกิ ิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2551). อกั ษร. สืบคน้ เม่ือ วนั ที่ 26 พฤศจิกายน 2563, จาก http://1ab.in/xAA วฒุ ินนั ท์ ส่งเสริม, การสร้างรูปแบบค่าสีเพ่ือคืนสภาพฮูปแต้ม โดยใช้วิธีดิจิทลั คัลเลอร์ไรเซชัน. สุรินทร์ : วารสารมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุรินทร์. 2562.