Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ถิ่นฐานบ้านสาวะถี

ถิ่นฐานบ้านสาวะถี

Published by kanikl, 2020-10-02 05:51:21

Description: ถิ่นฐานบ้านสาวะถี หนังสือที่ระลึกงานกฐิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปี 2563

Keywords: บ้านสาวะถี

Search

Read the Text Version

44 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ เดิมวดั ไชยศรีตง้ั อยูบ่ รเิ วณท่เี ป็นอนามยั ปัจจุบัน พอระยะตอ่ มาชาวบ้าน อยากไดส้ ุขศาลา ทางวดั จงึ ยกศาลาหลงั หนง่ึ ใหเ้ ป็นท่ีทำาการ วดั ไชยศรีจึงขยับมา ตงั้ อยูถ่ ัดมาทางทิศตะวันตกเล็กน้อย  เจ้าอาวาสยคุ แรกไม่ปรากฏนาม จนถึงสมยั หลวงปู่ออ่ นสา จงึ ค่อยปรากฏ หลกั ฐาน จึงถอื ว่าทา่ นเป็นเจ้าอาวาสรปู แรก  ในสมัยหลวงป่อู อ่ นสาวัดเจริญร่งุ เรอื ง มาก  ท้ังในด้านการศึกษา การปฏิบตั ิธรรมและการก่อสร้างถาวรวัตถุ มีพระภกิ ษุ สามเณรเป็นจำานวนมากสิง่ ก่อสรา้ งส่วนมากทาำ ด้วยไม้ เชน่ กฏุ ิ ศาลา กแ็ กะสลกั ลวดลายแบบฝีมอื ชา่ งทอ้ งถิน่ ด้วยเหตุที่หลวงปู่อ่อนสาเองทา่ นก็มฝี มี อื แกะสลกั ออกแบบงานด้านน้ีดว้ ย  ท่านมรณภาพเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๑  ส่งิ กอ่ สร้างที่ปรากฏเหลืออยใู่ นปัจจบุ ันคือสมิ หรอื โบสถ์  เริม่ สรา้ งราวปี พ.ศ. ๒๔๔๓ ไดร้ ับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๙ เป็นโบราณสถาน ที่สาำ คัญ เพราะท่ผี นงั ท้ังด้านนอกและดา้ นในมภี าพจิตรกรรมฝาผนงั หรอื ฮูปแตม้ เร่ืองสนิ ไซเปน็ ส่วนมาก  มเี รื่องนรกภูมิบา้ งเฉพาะดา้ นหน้าตรงผนังข้างประตสู มิ ด้านซ้าย     ต่อจากนัน้ หลวงปู่เปลี่ยน ฐิตะปัญโญ เจ้าอาวาสรปู ต่อมา ท่านก็ไดน้ ำาพา ญาติโยมพฒั นาวดั ไชยศรสี ืบตอ่ มาได้เปน็ อย่างดี   ด้วยเพราะหลวงปู่ท่านเปน็ ที่ เล่อื มใสศรัทธาของชาวบา้ น อีกทั้งหลวงปทู่ า่ นยงั ดาำ รงตำาแหนง่ ท้ังพระอุปัชฌาย์ และเจ้าคณะตำาบลสาวะถีดว้ ย ท่านได้มรณภาพ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๓  หลังยคุ หลวงป่เู ปลีย่ น  พระและชาวบ้านก็พยายามช่วยกันสบื สานพฒั นา วัดมาตลอด  แตด่ ้วยความไม่พร้อมของชมุ ชนและพระสงฆ์เองตลอดทง้ั ประสบ ปัญหาหลายดา้ น ทา้ ยทสี่ ุดถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๐ วดั ไชยศรี กแ็ ทบไมม่ ีแม้พระจะอยู่ จำาพรรษา  ทำาใหศ้ รทั ธาชาวบ้านก็ลดลงไปดว้ ย  เป็นชว่ งเวลาทวี่ ดั ไชยศรีไดป้ ระสบ วกิ ฤติและไดส้ ูญเสยี โบราณวตั ถุและศลิ ปวตั ถุไปอยา่ งมากมาย เพราะขาดคนดูแล รักษาและทีส่ าำ คญั กวา่ นัน้ ก็คอื ไดส้ ูญเสยี แหลง่ เรยี นรู้ศูนย์รวมใจของชุมชนไปเกือบ จะหมดส้นิ ตอ่ มาเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ พระอาจารยว์ สนั ต์ มหาปญุ โญ หรอื พระครบู ญุ

ถิ่น่� ฐานบ้า้ นสาวะถีี 45 ชยากร ในปจั จบุ นั   ท่านได้ย้ายจากจังหวดั นครพนม มาจำาพรรษาอยู่ทีว่ ัดไชยศรี อนั เปน็ วดั บ้านเกดิ แห่งน้ ี ทา่ นได้นำาพาชาวบ้านและพระเณร ฟ้นื ฟปู ฏิสงั ขรณ์วัด ไชยศร ี ทั้งในด้านประเพณวี ฒั นธรรม พลิกฟนื้ ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นและถาวรวัตถุ เสนาสนะในวัด ใหก้ ลบั มาอยใู่ นสภาพทจี่ ะรองรับศรัทธาและเปน็ ศนู ยร์ วมจติ ใจ ของชุมชนอกี ครัง้ หน่งึ เปน็ ผลให้ศรัทธาท่ีชาวบา้ นจะพึงมแี กว่ ดั ไชยศรี ก็ไดร้ ับการ ฟ้ืนฟใู หก้ ลบั มาสู่ความเจริญรงุ่ เรือง ดงั ท่ีปรากฏอยู่ในปจั จุบนั   สิมวดั ไชยศรกี ่อนการบูรณะ ถ่ายภาพโดย : อาจารยไ์ พโรจน์ สโมสร อนุเคราะหภ์ าพถ่ายโดยครอบครวั สโมสร อุโบสถ (สมิ ) วดั ไชยศรี วดั ไชยศรี (วดั ใต้) หมู่ที่ ๘ ตาำ บลสาวะถี อาำ เภอเมอื งขอนแกน่ จังหวดั ขอนแก่น ตง้ั วดั เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๘ ไดร้ ับพระราชทานวิสงุ คามสีมาตามประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษา เมื่อวนั ที่ ๑๒ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ อโุ บสถ หรอื สิมวดั ไชยศรี จัดเป็นสถาปัตยกรรมพ้นื ถนิ่ อีสานที่สรา้ งขึ้น ในชว่ งกลางพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕ ซ่งึ มคี วามโดดเดน่ ในเชงิ ชา่ ง ๒ ประการ คือ ๑. สถาปตั ยกรรม ชนิดสมิ ทบึ ทส่ี รา้ งขนึ้ ภายใต้อทิ ธิพลช่างญวน ตัวอาคาร กอ่ อิฐถือปนู อยู่ในผงั สเี่ หล่ียมผืนผ้าขนาด ๓ ห้อง ตง้ั อย่บู นฐานสูง มมี ุขยนื่ ออกมา

46 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ ด้านหนา้ เดิมมงุ หลงั คาดว้ ยแผน่ ไมท้ ่เี รียกวา่ “แปน้ เกลด็ ” มีบนั ไดทางขึน้ เฉพาะ ดา้ นหน้า ราวบันไดทาำ เป็นรปู มา้ ก่ออฐิ ฉาบปนู ผนงั ด้านขา้ งเจาะชอ่ งหนา้ ตา่ งจริง เฉพาะช่องกลาง พ้นื ท่อี าคารด้านนอกตอ่ หลงั คาพาไลยน่ื ออกมาและมีร้ัวระแนงไม้ ทปี่ ระดบั ดว้ ยแผน่ ไม้แกะสลกั เป็นรูปมา้ ลอ้ มรอบ สมิ หลังนีค้ วบคมุ การก่อสร้างโดย หลวงปอู่ อ่ นสาซึง่ เปน็ เจ้าอาวาสในขณะนั้น ภายหลงั มีการเปลยี่ นทรงของหลงั คา รอ้ื ม้าประดบั ราวบันไดและรว้ั ระแนงไมอ้ อก แล้วจงึ กอ่ กาำ แพงแก้วเพิ่มเตมิ ๒. จิตรกรรมฝาผนงั หรอื “ฮูปแตม้ ” วาดเตม็ พืน้ ทีท่ ั้งผนงั ด้านนอกและ ดา้ นในของอาคารด้วยเทคนคิ การใชส้ ขี าวทารองพื้นก่อนรา่ งภาพ ระบายดว้ ยสี ฝุ่นวรรณะเย็น ได้แก่ คราม เหลอื ง ขาว เขยี ว นำ้าตาล และดาำ เนือ้ เรื่องสว่ นใหญ่ เกี่ยวขอ้ งกบั วรรณกรรมลมุ่ นา้ำ โขงเรื่อง “สังข์ศลิ ป์ชัย” หรือท่ีชาวอสี านเรียกวา่ “สนิ ไซ” ความโดดเด่นของฮปู แต้มที่วัดไชยศรี คือ มกี ารแสดงเน้ือหาเร่อื งสนิ ไซที่ ครบถว้ นสมบรู ณม์ ากทีส่ ุดทยี่ ังเหลอื อยในปจั จบุ ัน ถงึ แมจ้ ะมกี ารลาำ ดับภาพและ เรือ่ งราวที่ไมต่ อ่ เนื่องกัน แตช่ ่างได้ใชก้ ลวธิ กี ารบรรยายภาพ ด้วยตัวอักษรไทยน้อย ประกอบ สันนษิ ฐานวา่ หลวงปอู่ ่อนสาไดศ้ กึ ษาเรอ่ื งราวจากหนังสอื ผูกใบลานแล้ว จึงกาำ หนดตาำ แหน่งของภาพที่จะวาดลงบนผนงั ส่วนจติ รกรหรือ “ชา่ งแตม้ ” น้นั เปน็ ชาวอำาเภอบรบือ จงั หวดั มหาสารคาม นาำ โดยนายทอง ทพิ ย์ชา และคณะ นอกจากเร่ืองสนิ ไซแล้ว ทผ่ี นังด้านนอกยังวาดภาพพระพทุ ธรปู ประทับน่งั เหนอื ซุ้มหน้าต่าง มภี าพนรกภมู ิทผ่ี นงั ด้านหน้า สว่ นผนงั ด้านในมีภาพวาดแตล่ ะ ด้านดงั นี้ ทิศใตเ้ ปน็ ฉากการสู้รบระหวา่ งสินไซกับกองทัพของยักษก์ มุ ภณั ฑ์ ทิศ เหนือเป็นการสู้รบระหว่างสินไซกับกองทัพของวรุณนาค ทิศตะวันตกเป็นภาพม้วน ชาดก(สรปุ ) เพ่ือเฉลยว่าตัวละครแต่ละตวั ไดม้ าเกดิ เปน็ บคุ คลใดในสมัยพุทธกาล เชน่ สินไซคอื พระพทุ ธเจา้ ยกั ษก์ มุ ภณั ฑค์ อื พระโมคคัลลานะ สงั ข์ทอง คอื พระ สารีบุตร สีโหคอื พระอานนท์ นางสุมณฑาคือนางวิสาขา เปน็ ตน้ และทิศตะวันออก ตำาแหน่งเหนือประตูทางเข้าวาดภาพยักษ์กุมภัณฑ์ไปสู่ขอนางสุมณฑาซ่ึงเป็นตอน จบของเรือ่ งราวทง้ั หมด

ถิ่�น่ ฐานบ้้านสาวะถีี 47 อุโบสถวัดไชยศรีได้รับการประกาศข้ึนทะเบียนและกำาหนดเขตท่ีดิน โบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๑๒๗ ง วันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๔๔ พื้นทโ่ี บราณสถานประมาณ ๓ งาน ๒๙.๗ ตารางวา (สำานักศลิ ปากรที่ ๘ ขอนแก่น, ๒๕๖๓) Ubosot (Bod or Sim) in Wat Chai Sri Wat Chai Sri was established in 1865, is located at Sawathi sub-district, Mueang Khon Kaen district, Khon Kaen. The temple was granted consecrated boundaries on 12 February, 1906. Ubosot Wat Chai Sri is an ordination hall that was created in E-san style in early 20th Century and there is two outstanding charac- teristics: 1. The architecture represents the influence of Vietnamese artisan under commanded of the first abbot, Luang Pu Oon Sa, in the rectangular plan and has the entrance and staircase only on the East side. Originally, the structure was covered by wooden roof tiles “Pan-Gled” and enclosed with wooden fence that was decorated by wooden horse sculptures but nowadays they were removed. 2. Mural paintings (Hup-tam) was painted all area and used the

48 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ cold tone - tempera colour by covered background in white before sketch detail used indigo, yellow, green, black and brown. The main story depicts the well-known literature, Sang Sin Chai or native know as Sin Sai and used the local ancient alphabet “Thai-Noi” to describe most of scenes. Moreover, the mural paintings at Wat Chai Sri is the only place that has the completed scenes from Sin Sai in Thailand. From the oral history presume that Luang Pu Oon Sa has studied this story from plam-leaf manuscript before designed the layout of paint- ing. The muralists or “Chang-tam”, Thong Thipcha and colleagues, came from Borabue district, Maha Sarakham. Inside the hall, depicts the details as follow: -South wall presents the scene of battle between Sin Sai and the army of Kum Phan. -North wall is the scene of battle between Sin Sai and Varuna Naga. -West wall (behind Buddha image), portrays a consequences of each characters who reborn in the Buddha period such as Sin Sai reborn to be Buddha, Kum Phan is Moggallāna or Sang Thong is Sāri- puttra. - East wall (above the entrance door), paints a scene of Kum Phan proposes marriage to Sumontha that is the ending of the sto- ry. The Fine Arts Department declared the registeration of Ubosot at Wat Chai Sri in Royal Thai Government Gazette Vol.118 extra part 127ง on 21 December 2001. Historic site area of approximately 3 ngan 29.7 square wa.

ถิ่น่� ฐานบ้า้ นสาวะถีี 49 ลาำ ดับพัฒนาการสมิ วัดไชยศรีระหว่าง พ.ศ. ๒๔๔๓ - ๒๕๔๔ ระยะเวลา ลักษณะการดาำ เนินการ ดาำ เนนิ การ พ(สต.ศมร.ยังก๒รับ๔.ต๐๕น้ ๘) เร่ิมสร้างวัด พ.ศ. ๒๔๔๙ ได้รับพระราชทานวสิ งุ คามสีมา พ.ศ. ๒๕๒๕ เชสาียวหบาา้ ยนหสลาาวยะแถหปี ่งรจะึงชไุมดห้เปารลือ่ยี เนพหื่อลซังอ่ คมาแแซบมบสเมิดมิ เพราะผนังและหลงั คาชำารุด พ.ศ. ๒๕๒๘ แฝลา่ ยะอรานยุรงกั าษนจ์ คติ วรากมรเสรมยี ฝหาาผยนงั กองโบราณคดี กรมศิลปากร ทาำ การสำารวจ พ.ศ. ๒๕๓๓ โอคนรรุ งักกษาร์ภอานพุรจักิตษรก์จติรรรมกฝรรามผนฝาังผสนมิ วังเัดรไง่ ชดยว่ ศนรีกองโบราณคดี ดาำ เนนิ การ พ.ศ. ๒๕๓๕ ปอพหตนัะนีกบวตน่ววันยร่ากตาภศคยกลิาอพปยเนบาปกื่อรกริเงปวทจณ้อาี่ ง๗กชภก่วขางาพอลรนไเ่าปวงแ้จลโกปึงยี่ ่นถง่นูกพตแแอดิปสงตลรงางแ่อมรดนปูกดอแาแอรบลกปบะเรปหฝะ็นนลเมวงัโดคงินยาผๆเตลปรโกน็ดงาทยรภเรอฉางนพพสรุจาูงักชะงึ ษอดะย์ภล้านใูู่ดานพทไภิศมาม่ วีะ พ.ศ. ๒๕๓๖ หเโพดนยอื่ ว่ รอยอนศบรุ ลิ ทกั ปษง้ั าฮ์ก๔ปูรดทแา้ต่ี ๗นม้ ไมขวอีเ้ สนาแรกอ่นงรไับดป้ขกี อนงบกโปดรยะรมอาบณตกาอ่ มสรรูป้างแเบสบริมสหมิ ลตงังั้ คแตาป่เดีกมิ นก พ.ศ. ๒๕๓๗ หเสนือ่ ่วมยสศภิลาปพาเกพร่มิ ทเต่ี ๗ิม ขอนแก่น ตดิ ตามประเมินผล พบว่าฮูปแตม้ ไม่มีการ พ.ศ. ๒๕๔๔ กรมศิลปากรได้ข้นึ ทะเบียนประกาศเขตโบราณสถาน พ.ศ. ๒๕๖๑ กรมศิลปากรไดท้ ำาการบูรณะซอ่ มแซมฮูปแต้มทีผ่ นงั ด้านนอก เอกสารอา้ งอิง : หนงั สือประวัติวดั ทัว่ ราชอาณาจกั ร โดยกองพทุ ธศาสนสถาน กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ และจากการสอบถามตามคำาบอกเลา่ สบื กันมา

50 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ ททมมีี่่ าา :: hhttttpp::////wwwwww..ssaawwaatthheeee..ggoo..tthh โโรรงงเเรรีียยนนบบาา้้ นนสสาาววะะถถีี ((สสาาววตัตั ถถรีรี าาษษฎฎรร์ร์รังังสสฤฤษษฏฏ์))ิิ์ ตแ๑ตเ๒แพศไใ๑ศเพไ๒ใศศมมรรนนยยำำาาึึกกกกึึืน้ื้น๓๓่่อือืเเบบกกษษษษ๒๒ขขสสทท๖๖งงลลมมตตาาาาาำาำี่ต่ตี๔๔งงสสปปาานนจจพพงั้้งั าาสสเเาางงััีททีักกัโโโโนนื้ื้ปปนนรรววงัังหหทคทคดดงงี่ี่ททดิดิงงกกะะ๑๑าาววยยวว่่ตีีต๗๗เเโโี่่ีดัดัถถนนรรดัดัยยาารร้งังั้ทท๖๖ถถีีกกีียยมมขขคคุบุบงงออ่ีี่::ึึงงรรนนเเออณณเเรร๔๔รรำาาำตตชชโโปปมมเเนนววรรเเยีียปปาาะะัันน้้สสภภ็น็นมมงงแแนนสสรรกก็นน็ปปาาเเออมมกกกกาาาารรททรรมมพพรรเเงงับบัาาววียียนน่่รรมม่ี่ีบบะะัญัญววืนนื้้ะะนนโโมมืืออถถาา้้าารร::ถถศศททเเกกบบนนงงขขมมงงีีกึกึโโ่ร่ีีรตตาาเเ้าา้ตตสสศศรรสสรรจจาาษษรรนนง้ังั้งงาาบบาำาำกึกึยีียงังัชชขขออาาเเสสววนนหหรรนนษษรรพพน้นั้ัยยะะาากิกิียยีกกััววบบาากกใู่่ใูสสััพพววถถาานนัดัดงงนนปปรรา้า้ดดะะออีี้นน้ืืรราาขขตตะะนนพพทีีทถถุุีีกกนนฐฐออทท้ั้งังเเหหี่่ีืน้ื้น๔๔ีีาาเเปปขข๖๖((นนโโขขรรนนสสททนนดดึึ้น้น็นน็ววแแตตหหาาออ่่ีีหหยยงงคคโโกกพพววมมงงรรกกมมศศไไรรตัตัน่่นตตดดน้ื้นืงง่บู่บูรรึกึกู่ททู่งัง้้ั เเถถาา้้รรททะะา้า้แแรรษษ่ีี่ไไีีรรบับันนททีียย๒๒รรีก่ี่กกกาาาาบบกกนนรราา๑๑ธธ้้ษษคคตตททววรรรรขขิกิกฎฎือือศศงงิิจจาาำำีวว่่ีนนบบาาศศรรบบาาึกกึัดดัรราาา้า้ ์์รรหหกกึึคค  ษษลลไไดดนนังังชชษษททมมสสาากกสสสสตตยยทู่ทู่าา่ดดี่ีปปาาลลฤฤาา้ัังง้ศศธธววนิินี่ี่ววรราาษษออกิิกรระะ๖๖ะะะะงงจจฏฏยยีีาาถถถถถถาาบบู่บบู่รร)์ิิ์)สสีีกกมมีี  ใใ๗๗า้้า้า้าังังตตชชนนศศเเนนกกนนเเำำาาปปาาปปกึกึปปดัดัสสบบสสววน็็นษษดิดิ๘๘ีีกกาาาาลลบบพพโโสสาาววววลลรรสส้้าา..ขขแแออะะะะงงศศมุุ่่มนนาาออเเลลถถถถนน..ววสสรรจจนนะะีีีีชชะะียยี๒๒ถถำาาำเเหหหหแแั้นั้นถถนนาามมนน๔๔มมกกมมีีนนออปป่อ่อืืวว๗๗ออู่่ทูทน่่นทูู่่ทนนศศนนรรำาาำ๖๖่่ีี่่ีีพพึึกกะะบุุบเเเเ๒๒๒๒๑๑ภภถถขขษษ..าาไไศศ๑๑๑๑๗๗มมตตดดออลลาา..้้

ถิ่น�่ ฐานบ้้านสาวะถีี 51 เหตกุ ารณ์สำาคญั พ.ศ. ๒๓๖๔ ต้งั โรงเรียนท่ีวดั ไชยศรี (๖ พฤษภาคม) โดยมนี ายบุญมี คลงั ทอง เปน็ ครูใหญ่คนแรก พ.ศ. ๒๔๗๕ ยุบโรงเรยี นรวมกับโรงเรียนบ้านหนองตาไก้ พ.ศ. ๒๔๗๖ เปดิ โรงเรยี นบา้ นสาวะถี ณ ท่ีตัง้ ปจั จุบั ท่ีมา : http://www.sawatee.ac.th/datashow_20239 โรงเรียนสาวะถีพิทยาสรรพ์ ทต่ี ง้ั : โรงเรียนสาวะถีพทิ ยาสรรพ ์ เป็นโรงเรยี นมัธยมศึกษาประเภท สหศกึ ษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร  ต้ังอย่เู ลขท่ี ๒๓๔ หมู่ ๖ บ้านสาวะถี ตำาบลสาวะถี อาำ เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น  ในเนือ้ ท่ี ๓๕ ไร่ ๒ งาน ๗๘.๐๖ ตารางวา บนถนนสายสาวะถี - บา้ นโนนกู่

52 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ ความเป็นมา : การตง้ั โรงเรยี นมธั ยมข้นึ ในพื้นท่ีจะชว่ ยใหล้ ูกหลานไม่ต้อง ไปเรียนหนังสือไกลบา้ น” เปน็ คาำ กล่าวของอาจารยห์ นู ชาญวริ ัช ครูใหญ่โรงเรยี น บา้ นสาวะถี ผูร้ เิ ร่มิ ในการขอใหท้ างการมาตั้งโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาในพน้ื ท่ีบา้ นสา วะถี แตเ่ มือ่ พิจารณารว่ มกันอยา่ งถ้วนถ่ีแลว้ โดยมีทต่ี ัง้ อยู่ทางทศิ ตะวันตกของ บ้านสาวะถีในเสน้ ทางไปบา้ นโนนกู่ ช่งึ เปน็ จดุ ทสี่ ะดวกในการเดินทางจากหมูบ่ า้ น ต่าง ๆ เหตุการณ์สาำ คัญ ปีการศึกษา ๒๕๒๐ คณะกรรมการสภาตำาบลสาวะถี ได้ย่ืนเร่ืองขอ จัดต้ังโรงเรียน โดยขอใช้ช่ือว่า“โรงเรียนสาวะถีพิทยาสรรพ์”และได้รับการ อนุมัติจากกรมสามัญศึกษาให้เปิดทำาการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น   และไดร้ บั ความอนเุ คราะหจ์ ากโรงเรียนบา้ นสาวะถี  (สาวะถีราษฎร์รงั สฤษฏ)ิ์ ในการใชเ้ ปน็ สถานท่ีเรียนชั่วคราว ปีการศึกษา ๒๕๓๖ กรมสามัญศึกษาให้โรงเรียนสาวะถีพิทยาสรรพ์ ทาำ การเปดิ โรงเรียนสาขาทบี่ ้านหนองกอย ตาำ บลแดงใหญ่ อำาเภอเมือง จงั หวัด ขอนแก่น  โดยมี นายชยั วฒั น์  ขุนน้อย  ทาำ หนา้ ท่ีหัวหน้าสาขาโรงเรียน  ปจั จบุ ัน ได้นำานักเรียนกลับมาร่วมเรียนท่ีโรงเรียนสาวะถีพิทยาสรรพ์ จนถึงปัจจุบัน ปีการศึกษา ๒๕๓๗ กรมสามัญศึกษาได้อนุมัติให้โรงเรียนเปิด การเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยไม่ผูกพันงบประมาณ   และให้รบั นักเรียนในระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ จำานวน  ๒  หอ้ งเรียน ปกี ารศึกษา  ๒๕๕๑  ได้ใช้แนวทางการบริหารจดั การสถานศึกษาร่วมกบั ชมุ ชน บา้ น วดั โรงเรยี น “โรงเรียนบวร” เพื่อหลอ่ หลอมผ้เู รยี นให้เป็นคนดี ชุมชน ภาคภมู ิใจ ปัจจุบันโรงเรียนสาวะถีพิทยาสรรพ์ สังกัดสำานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต๒๕  สาำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวง ศกึ ษาธิการ ได้เปดิ ทาำ การเรยี นการสอนทง้ั ในระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย  

ถิ่�่นฐานบ้า้ นสาวะถีี 53 บุคคลสำาคญั บา้ นสาวะถี หลวงป่อู อ่ นสา หลวงปู่ออ่ นสา หรือ ครบู าอ่อนสา ทา่ นเปน็ เจา้ อาวาสรปู แรกของวดั ไชยศรี ตามหลกั ฐานทม่ี กี ารยนื ยันเอาไว้ วดั ไชยศรใี นยุคของหลวงปู่อ่อนสาถือว่ามคี วาม เจรญิ รงุ่ เรอื งมาก  ท้ังในด้านปริยัติ และปฏบิ ตั ิ มีพระภิกษสุ ามเณรจาำ นวนมากมา ศึกษาเล่าเรียน ท่านให้ความสำาคญั กับการก่อสรา้ งถาวรวัตถใุ นทางศาสนา ดว้ ย เหตทุ ีห่ ลวงปอู่ ่อนสาเป็นผมู้ ีฝมี อื ในการแกะสลกั และออกแบบงานประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ผลงานทเี่ ป็นประจักษ์ คอื สมิ (อโุ บสถ) วดั โพธิช์ ยั และวดั ไชย ศรี หอแจก (ศาลาการเปรยี ญ) วดั โพธิ์ชยั ท่ีทาำ ด้วยไมท้ ้ังหลงั รูปอาคารมลี ักษณะ ศิลปะแบบผสมผสานพม่าและลา้ นช้าง รวมถงึ ผลงานประตมิ ากรรมไม้สลักรูปตัว ละครในวรรณคดี ตลอดถงึ ประติมากรรมม้าไม้ท่ตี ิดตงั้ อยรู่ ายรอบตัวสมิ วดั ไชยศรี นอกจากน้ันหลวงปู่อ่อนสายังเป็นพระนักพัฒนาที่มีวิสัยทัศน์เห็นได้จาก การนำาพาชาวบ้านพัฒนาหนองคูใหญ่ท่ีเป็นหนองน้ำาธรรมชาติ ให้เป็นหนองน้ำา เพือ่ สาธารณประโยชนโ์ ดยการยกคนั คดู นิ ใหส้ งู ข้นึ ให้สามารถเกบ็ กกั นา้ำ ไว้เพ่ือการ อุปโภคและบริโภคตลอดทงั้ ปี และอีกส่ิงหน่ึงท่ีควรได้กล่าวถึง คือ ความเป็นพระที่มีความแตกฉาน ท้ังในศิลปศาสต์ และมีวิทยาคม โดยเฉพาะเรื่องของวรรณกรรมพ้ืนบ้านและ วรรณกรรมพุทธศาสนาเป็นที่ประจักษ์เมื่อครั้งท่ีท่านได้กำากับการแต้มฮูป(วาด ภาพ) เร่ืองสินไซ หรอื สงั ขศ์ ลิ ป์ไซ บนผนังสมิ วดั ไชยศรี ซึง่ ถือวา่ เป็นฮูปแต้ม หรอื จิตรกรรมบนฝาผนังเร่อื งสินไซท่ีสมบรู ณ์ทส่ี ุด และมีรายละเอยี ดของเร่ืองที่สัมพันธ์ กับเอกสารใบลานมากที่สุด จึงเช่ือว่าท่านได้ใช้ความรู้จากหนังสือใบลานเป็น แนวทางในการกำาหนดฮปู แต้มที่สมิ วดั ไชยศรีนั้นเอง หลวงป่อู ่อนสามรณภาพเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๙๑ หลงั จากน้ันหลวงป่เู ปล่ียนก็ ข้ึนมาเป็นเจา้ อาวาสแทน

54 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ หมอลำาโสภา  พลตรี : กบฏผูม้ ีบุญแหง่ บา้ นสาวะถี นายโสภา พลตรี หรือ หมอลำาโสภา พลตรี เกิดเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๒๕ ท่ีบ้าน โนนรัง ตำาบลสาวะถี อาำ เภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน่ ตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จ พระพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี ๕ หมอลาำ โสภาเปน็ ลกู ชาวนา เรยี น หนงั สือจากวัด ซึ่งสอนโดยพระภิกษุ สามารถอา่ นตวั ธรรม ตัวขอมได้ หมอลาำ โสภา เป็นคนที่มคี วามจาำ ดี สามารถจดจำาคมั ภีร์ตา่ ง ๆ ได้มากมาย รู้พิธีกรรมบวงสรวง ต่าง ๆ เรยี นวิชาหมอลำา จนเป็นหมอลำาท่ีมชี ่อื เสยี งในแถบตาำ บลสาวะถแี ละตาำ บล ใกล้เคียง หมอลำาโสภา มีภรรยา ๓ คน จาก ๓ บ้าน คือ บ้านปา่ หวาย บา้ นหนอง ตะไก้ และบ้านสาวะถี เป็นผูท้ ม่ี ฐี านะดี เฉพาะท่นี าทบ่ี ้านป่าหวายมปี ระมาณ ๗๐ – ๑๐๐ ไร่ หมอลาำ โสภาเปน็ ผูท้ ีม่ บี ุคลกิ ดี หนา้ ตาดี ผิวคลาำ้ ฟันสีเขียวดงั ปีกแมลง ทบั กล้าพูดกล้าทำา ไมก่ ลัวคน เป็นคนพูดเกง่ มเี หตุมีผล ชาวบา้ นแถบนั้นชน่ื ชมใน ความสามารถมาก หมอลาำ โสภา พลตรี เป็นบคุ คลสาำ คัญของบ้านสาวะถี เพราะเคยเปน็ แกนนาำ ของกล่มุ ที่ได้ชื่อว่าเปน็ กบฏ หมอลาำ โสภาไมไ่ ด้เป็นกบฏท่ตี ้องการล้มการ ปกครองของรัฐบาลหรือผู้ใด แต่เหตทุ ที่ ่านตอ้ งโทษในข้อหากบฏเพยี งเพราะทา่ น ปราศรัย และมกั จะตอ่ ต้านการขดู รดี ภาษีของเจา้ หน้าท่รี ัฐ กฎหมายการหา้ ม ตัดไม้ รวมถึงการยกเลิกการเรียนการสอนในวัดและสอนภาษาไทยแทนอักษร ธรรม หมอลำาโสภามกั จะปราศรัยผ่านการร้องหมอลาำ ซึง่ ชาวบ้านก็ช่นื ชมในความ กล้า และสนบั สนุนอย่ไู ม่นอ้ ย การกระทำาของหมอลำาโสภา พลตรี ทาำ ใหท้ ่านและลกู ศิษย์ คือ พ่อเสรมิ พ่อสิงห์ และพ่อใหญ่คยุ รวมถงึ ผรู้ ว่ มฟงั ปราศรัยต้องถูกจับกมุ นาำ ไปส่กู ารเสยี ชวี ิต อยา่ งปริศนาในวยั ๕๙ ปีของท่าน ชว่ งปลายปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ถึงต้นปี พ.ศ. ๒๔๘๖ ถงึ แม้วา่ นายโสภา พลตรี จะจากไปนามของท่านยังถูกจดจาำ ในฐานะ หมอลำาโสภา กบฏผ้มู บี ุญแหง่ บ้านสาวะถี แม้ว่าหมอลำาโสภาจะเสยี ชีวติ ไปหลายปีแล้ว  แต่ชาวบ้านในตำาบลสาวะถี

ถิ่่น� ฐานบ้้านสาวะถีี 55 และตาำ บลใกลเ้ คยี ง  กย็ ังนบั ถือและเลา่ ถึงดว้ ยความศรัทธา  ประการแรก หมอลำาโสภาเปน็ ผนู้ ำาทางความคิด  โดยเฉพาะการต่อต้าน เรื่องภาษีทีด่ นิ   กฎหมายปา่ ไม้ และการครอบงาำ ทางวัฒนธรรม  ซ่งึ ตรงกับใจชาว บา้ นอยแู่ ลว้   ประกอบกบั เป็นหมอลาำ นกั พดู จงึ ส่อื ความคดิ กบั ชาวบา้ นได้อย่างถึง อกถึงใจ ประการทสี่ อง  หมอลาำ โสภาไดแ้ สดงปาฏหิ ารยิ ใ์ นลกั ษณะผวู้ เิ ศษ ๒ ครงั้   ครัง้ แรก ถูกทางราชการจับถว่ งน้ำาทค่ี ลองบางซอื่ แล้วไมต่ าย  ครั้งที่สอง เมื่อเขาตายไปแล้วทางราชการได้ห่อศพของเขาแล้วนำาไปฝัง เพื่อรอญาติมาขุดไปบำาเพ็ญกุศลปรากฏว่าฝังได้สามวันวันท่ีสี่ญาติมารับศพ เม่ือ ขุดศพขน้ึ มาเหลือแต่ผ้าขาวมา้ ทีผ่ ู้ตายนุง่ อย่ตู อนเสยี ชวี ิต กบั เส่ือทหี่ ่อศพแต่ร่างได้ หายไป  ชาวบ้านเช่อื ว่าหมอลำาโสภาได้สาำ เร็จวิชาข้นั สูงหายตวั ไปเกิดใหมแ่ ลว้ ประการสุดท้าย หมอลำาโสภาเป็นนักพยากรณ์ ทำานายเหตุการณ์ล่วง หนา้ ไดถ้ ูกตอ้ ง  ตอนทำานายชาวบ้านไม่เข้าใจ  แต่เมือ่ เวลาผ่านไปคาำ ทำานายกค็ อ่ ย ๆ เปน็ จรงิ   เช่น “ม้าซิโปง่ เขา” คือรถจกั รยานยนต์ “เสาซอิ อกดอก” คอื เสาไฟฟา้ และหลอดไฟฟา้ “โบกกุมภณั ฑ์” คือสลากกินแบง่ รฐั บาล “กระดาษนอ้ ยสองนวิ้ ใครก็ซื้อได”้   คือหวยเถ่อื น เป็นต้น ผูใ้ หญ่ทองเล่ือน : ผ้นู ำาการพัฒนาในยุคบุกเบกิ เปน็ ผนู้ าำ ท่ีชาวบา้ นสาวะถีไดใ้ หก้ ารยกย่องใหค้ วามเชอื่ มนั่ เพราะชาวบ้าน เหน็ ว่าเปน็ คนเอาการเอางานดี มีจิตอาสาช่วยเหลอื การงานส่วนรวมทุกอย่างของ ชมุ ชน อีกทัง้ ยังมคี วามสามารถในงานช่างเปน็ อย่างดี แมว้ า่ เจา้ ตัวไม่ได้ต้ังใจลง สมัครรับเลอื กต้งั แต่ชาวบ้านเหน็ ดีเลอื กนายทองเลอ่ื นเป็นผู้ใหญ่บ้าน นายอาำ เภอ ถึงกบั ตอ้ งมาแจง้ เองถงึ บ้านวา่ ไดร้ ับเลือกเปน็ ผู้ใหญ่บ้าน ระยะแรกดำารงตาำ แหน่ง อยู่ราว ๓ - ๔ ปี จงึ ได้ลาออกไปทำามาหากนิ แถบอำาเภอทา่ บ่อ จังหวัดหนองคาย

56 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ จนถงึ ประเทศลาว และเมอ่ื กลบั มาชาวบา้ นกเ็ ลอื กใหเ้ ปน็ ผูใ้ หญบ่ า้ นอกี หน่งึ วาระ ผลงานของผู้ใหญท่ องเล่อื นทโ่ี ดดเด่นเปน็ รปู ธรรม คือ การสรา้ งสะพาน ขา้ มห้วยจากบ้านมว่ งมาบ้านสาวะถี ซงึ่ เป็นสะพานไม้ และเป็นสะพานแห่งแรกท่ี ช่วยอำานวยความสะดวกให้ชาวบ้านสามารถเดินทางจากบ้านม่วงมายังสาวะถีได้ โดยไม่ต้องอ้อมไกล อีกทั้งเทคนคิ ในการสรา้ งสะพานไม้น้กี ็มคี วามแขง็ แรง เพราะ พอ่ ใหญ่ทองเลอ่ื นไดน้ าำ ความรู้ดา้ นเทคนิคในการทาำ สะพานมาจากประเทศลาว ซ่งึ ไดแ้ บบอยา่ งมาจากประเทศฝร่งั เศส นอกจากนน้ั ยังสร้างศาลา และป้ันพุทธรูปเอา ไว้ทว่ี ัดไชยศรีอกี ด้วย พระครบู ญุ ชยากร : ผนู้ ำาการพฒั นายุคใหม่ โดยใชม้ ิติทางวฒั นธรรม พระครบู ญุ ชยากร หรอื พระวสนั ต์ มหาปญุ โญ เป็นคนบา้ นสาวะถีโดย กำาเนิด ท่นได้บรรพชาและยา้ ยไปจำาพรรษาในจังหวัดนครพนม กอ่ นท่จี ะย้ายกลบั มาจำาพรรษาและรับตาำ แหนง่ เจา้ อาวาสทว่ี ดั ไชยศรี เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ทา่ นเป็น พระครผู ู้ท่ีชาวบ้านเคารพเล่ือมใส เพราะเปน็ พระนักพัฒนา มบี ทบาทสำาคัญในการ บูรณะวัดไชยศรี รวมถึงรอ้ื ฟื้นวัฒนธรรมประเพณอี ีสานดงั้ เดมิ ใหก้ ลับมามีชวี ิตอีก ครง้ั โดยใชพ้ ้นื ทีว่ ดั ไชยศรเี ปน็ ศูนย์กลางในการดาำ เนนิ กจิ กรรมทางพทุ ธศาสนาและ วัฒนธรรวมพน้ื บา้ น เปน็ ผู้ริเริ่มสรา้ งพพิ ธิ ภัณฑช์ มุ ชนข้ึนอีกด้วย ปัจจบุ นั ทา่ นเป็นเจา้ อาวาสวดั ไชยศรี และเป็นเจ้าคณะตาำ บลสาวะถี เขต ๑ ด้วยการท่มุ เทเพื่อพฒั นาวดั และชุมชน เปน็ บคุ ลากรทีม่ ีบทบาทและสนับสนุน สถาบนั การศกึ ษาท้ังโรงเรยี นและมหาวิทยาลยั จึงมสี ถาบันตา่ งๆ ไดย้ กย่องและ

ถิ่น�่ ฐานบ้้านสาวะถีี 57 เชชิดิ ชชููทู ท่่าน จนจไนด้ไ้รดัับ้รกบั ากราครััดคเดั ลืเือลกอื ใกหใ้ห้เป้เ็ป็น็นผู้ผ�้ทำทู้ �ำ คาำ ุคุณณุ ปปรระะโยโยชชน์น์ต่ต์ ่ออ่ กกรระะททรรววงงววััฒั นธรรม ไดด้้้รรับั เสมาทองคคำ�ำาจาากกสสมมเเดด็จ็ จ็ พพรระะกกนนิษิ ษิ ฐฐาาธิธริ ริาาชชเจเ้้จาา้ กรมกสรมมเดส็จม็ พเดรจ็ ะพเทรพะเรัทตั พนรตัาชนสรุดุาชาฯสุ ดสยาฯามสบยรามมรบาชรกมุมุราชรีีกปีุมี พาร.ศี ป. ๒ี พ๕.๕ศ๒. ๒แ๕ละ๕ไ๒ด้้รัแบั ลพะรไะดร้ราับชพทราะนรเขา็ชม็ ทเกีาียนรเตขิคิม็ ุณุเกวียันั รตอคิ นุุณรุ ักัวษัน์์ อมนรดรุ ักษไทม์ ยรดจกาไทกสยมจเดา็็จกพสมรเะดกจ็ นพิิษรฐะากธนิิรษิ าฐชาเธจ้้ิราาชกเรจม้าสมกรเดม็็จสพมเรดะจ็ เทพพระรัเัตทนพรราัตชนสุรุดาาชฯสุ ดสายฯามสบยรามรบารชมกรุุามชากรีีมุ าเนรื่ี่�องเจนาือ่ กงจไดา้้กรัับไดก้ราบั รกพาิิจรพาริจณาราณยากยยก่่อยงอ่ เงปเ็ป็นน็ผู้ผ�้อ้อู นุนุรัรุักักษษ์์ม์มรรดก ไทยดดีีีเดด่่น ประจจำำ�าปปีี พ.ศ. ๒๕๕๔ สาวะถหี มู่บา้ นหมอลำา บ้านสาวะถี ไดช้ อื่ วา่ เปน็ หมูบ่ า้ นหมอลาำ ของจังหวดั ขอนแกน่ เพราะมี หมอลำาและคณะหมอลำาเกดิ ข้นึ ท่ีนี่หลายคน หลายคณะ มีพ่อครู แมค่ รูหมอลำา ท่ไี ดช้ ื่อวา่ เป็นรากฐานของหมอลาำ พื้นเมืองของแกน่ หลายทา่ น อาทิ หมอลาำ แซง่ นามคนั ที (แสงอรณุ ) หมอลาำ ประสงค์ เหลาหา หมอลาำ ปนั่ (ไม่ทราบนามสกลุ ) หมอลำาบวั คำามี (แกว้ วเิ ศษ) และมรี นุ่ ลูกศษิ ยอ์ ย่าง หมอลาำ สมจติ ร ศรีกวนชา หมอลาำ คำานาง เจก็ มา รวมถงึ หมอลาำ ระเบยี บ - ดวงจนั ทร์ พลล้ำา โดยเฉพาะ หมอลำาระเบยี บ พลลำา้ ท่ปี ระสบความสำาเร็จในการพฒั นาคณะหมอลำา “ระเบียบ

58 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ วาทะศลิ ป”์ ให้กลายเปน็ คณะหมอลำาทีป่ ระสบความสำาเร็จสูงสุดในยุคนี้ ซ่ึงก็มี รากฐานมาจากฐานสังคมวัฒนธรรมท่ีเขม้ แข็งของชุมชนบา้ นสาวะถี หมอลำาบ้านสาวะถียคุ แรกเปน็ หมอลำาพืน้ ลาำ คนเดียวแตแ่ สดงเปน็ หลาย บทบาท ตามท้องเร่อื งนทิ านท่ีนาำ มาลำา ลำาประกอบแคน รูปแบบในการนำาเสนอ ทเี่ รียบง่าย คลา้ ยเปน็ การเล่านทิ าน ต่างแต่มีเสยี งแคนประกอบและมีการแสดง ทา่ ทางประกอบ มาระยะหลงั จึงเรมิ่ มผี แู้ สดงเพิม่ มากขึ้นเป็น ๒ - ๗ คน มีทง้ั ผหู้ ญิง และผ้ชู ายเล่นเป็นตัวละครตามบทบาทของเน้ือเร่อื ง เมือ่ ความนยิ มของหมอลำา กลอนเพ่มิ ขน้ึ หมอลาำ พื้นจงึ ซบเซาอยูร่ ะยะหนง่ึ แลว้ จึงพฒั นามาเปน็ หมอลาำ หมู่ ซึ่งมผี แู้ สดง ๙ คนเรียกวา่ “หมอลาำ เก้า” และเพ่มิ จาำ นวนผ้แู สดงมากข้นึ มีดนตรี ประกอบมากข้ึน เรียกว่า “หมอลำาเร่ืองต่อกลอน” และพัฒนามาเป็นหมอลำา เรอื่ งต่อกลอนอนิ คอนเสิร์ต อย่างหมอลาำ คณะระเบียบวาทะศลิ ป์ทีก่ า้ วข้ึนมาเป็น หมอลำาท่ีได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบันซึ่งเป็นหมอลำาประยุกต์เพ่ือสนองความ นยิ มตามยุคสมยั เพ่ือฟื้นฟูมรดกหมอลำาแบบดั้งเดิมให้คงอยู่พระครูบุญชยากรยังได้มีดำาริ ใหม้ ีการสืบสานหมอลำาแบบดั้งเดมิ ให้คงอยู่คู่สาวะถี จึงได้มกี ารนาำ เอาหมอลาำ ยคุ เกา่ ทป่ี ลดเกษียณจากการเป็นหมอลาำ อาชีพมารวมตัวตั้งเป็นคณะ “หมอลาำ พันป”ี เพอื่ การอนุรกั ษ์ และเผยแพร่ใหอ้ นุชนรุ่นหลงั ไดศ้ ึกษาเรียนรู้ ในขณะเดียวกัน โรงเรียนบ้านสาวะถียังได้นำากิจกรรมหมอลำาเข้าไปบรรจุเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ โดยการตั้งคณะ “หมอลำาสินไซน้อยร้อยป”ี เพอื่ การสืบสานและ ตอ่ ยอดใหห้ มอลาำ สาวะถีไดเ้ ชอ่ื มโยงสู่จติ ใจเยาวชนคนรุ่นใหม่ ชมุ ชนสาวะถีจึงยัง นางคำานาง เจก็ มา อดีตนางเอกหมอลำา คณะเทพประสทิ ธิ์ศิลป์ โดยมีหมอลาำ ทองเยยี่ ม ประสมพืช เปน็ หัวหนา้ คณะ

ถิ่น�่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 59 คงความเป็นพนื้ ท่หี มอลาำ ทย่ี งั มชี ีวติ มลี มหายใจ สมดังคาำ กล่าวที่วา่ สาวะถีดิน แดนหมอลำาเมืองขอนแกน่ อย่างแทจ้ รงิ หมอลำาแซ่ง นามคนั ที : คณะแสงอรุณศลิ ป์ นางแส่ง นามคันที เกดิ ท่ีบา้ นสาวะถี ตาำ บลสาวะถี อำาเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน่ กอ่ นจะมาเปน็ ศลิ ปนิ หมอลาำ เคยเปน็ ครูมาก่อน ด้วยใจรักประกอบกบั มีพรสวรรค์ จึงลาออกจากอาชีพครูมาเป็นศลิ ปินหมอลำาเตม็ ตวั หมอลำาแส่ง เปน็ ศลิ ปนิ ท่ีมนี ำา้ เสียงไพเราะ มเี อกลกั ษณ์โดดเด่น โดยเฉพาะการลาำ ดน้ ลาำ เดากลอน สดไดอ้ ย่างยอดเยย่ี ม โดยไม่ใชก้ ารลาำ แบบทอ่ งจำา หมอลำาแสง่ เป็นผ้มู ีจติ ใจดีงาม เปน็ คนมเี สน่ห์ท้งั การพูด และมีมนษุ ย์สมั พันธ์ โดยเฉพาะกบั ลูกศิษย์ท่มี าเรียนร้อง เรียนลำาด้วย ถอื ว่าเป็นผ้มู ีท้ังศาสตร์และศิลปใ์ นการใช้ชวี ติ ตลอดถึงการเปน็ ศิลปิน หมอลำา นางแสง่ นามคนั ที เปน็ ศิลปนิ ทปี่ ระชาชนรูจ้ ักและยอมรับคนหน่งึ ในสมัย นนั้ มีชอื่ เสียงจนได้ตัง้ คณะของตนเอง ชอื่ ว่า “คณะแสงอรุณศิลป”์ ในยุคน้ันไดร้ บั

60 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ ค่าว่าจ้างตอ่ คืน ๒,๐๐๐ – ๕,๐๐๐ บาท โดยมีสมาชิกจำานวน ๑๒ คน ไดถ้ ่ายทอด การร้องหมอลำาให้แก่ลูกศิษย์โดยสอนท้ังวิชาศิลปการแสดงหมอลำาและวิชาการใช้ ชีวติ ท่านเป็นผ้สู บื ทอดและเผยแพร่เอกลกั ษณพ์ นื้ ถิน่ อสี านในรปู แบบหมอลาำ พืน้ ผลงานการแสดงทีม่ ชี ่อื เสียง คอื เรื่องขูลูนางอัว้ จำาปาส่ตี ้น ฯลฯ ตลอดชวี ติ ของ หมอลำาแสง่ นามคันที ทา่ นได้สรา้ งรากฐานการแสดง หมอลำาพื้น จนสามารถตอ่ ยอดพัฒนามาเปน็ หมอลำาเร่อื งตอ่ กลอนทำานองขอนแกน่ ใหก้ บั วงหมอลาำ คณะระเบยี บวาทะศิลป์ จนมชี ่อื เสยี งเปน็ ท่ีร้จู ักอยา่ งกว้างขวาง ถึง แม้ทา่ นจะถงึ เสียชีวิตไปนานแล้วแต่คณุ ูปการทท่ี ่านได้สรา้ งทาำ และฝากไว้ตอ่ วงการ หมอลำาบา้ นสาวะถี กจ็ ะยงั คงเปน็ ท่ตี ิดตราตรงึ ใจไปตราบนาน (วรศักดิ์ วรยศ : บันทึกข้อมลู , ๒๕๖๓) หมอลาำ ประสงค์ เหลาหา : คณะประสงค์ศิลป์ เกิดเมอื่ วนั ท่ี ๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๖๓ ทบ่ี า้ นสาวะถี จบการศึกษาช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ท่ีวดั โพธิ์ชยั เม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๙ เริ่มเขา้ สวู่ งการหมอลาำ ตง้ั แต่อายุ ๑๖ ปี โดยอาศยั การนงั่ ฟังและจาำ กลอน ลำามาจากหมอลำา รวมทั้งหานิทานพ้นื บา้ นมาอ่าน แลว้ ฝึกหดั ด้วยตนเอง โดยสม มตเิ ป็นตวั ละครตา่ ง ๆ จนมคี วามสามารถแสดงได้แทบทุกเร่ือง ตอ่ จากน้นั จงึ ได้

ถิ่�่นฐานบ้้านสาวะถีี 61 ศึกษาอยา่ งจรงิ จังกับพ่อคำา ข้อยนุ่ โดยเร่มิ จากเปน็ หมอลำาพ้ืนทแ่ี สดงคนเดียว เล่น เป็นตวั ละครตา่ ง ๆ ตามบท ผลัดเปลีย่ นกนั ไป ต่อมาเรมิ่ มผี แู้ สดงเพ่มิ มากข้ึนเปน็ ๒ - ๗ คน มที ัง้ ผูห้ ญงิ และผู้ชาย เล่นเป็นตวั ละครตามบทบาทของเน้ือเรอ่ื ง เม่อื ความ นยิ มของหมอลำากลอนเพิ่มขึ้น หมอลำาพื้นจงึ ซบเซาอย่รู ะยะหนึง่ แล้วจึงพฒั นามา เป็นหมอลำาหมู่ ซ่ึงมผี ้แู สดง ๙ คนเรยี กวา่ หมอลำาเก้า และเพิม่ จำานวนผูแ้ สดงมาก ขนึ้ มดี นตรปี ระกอบมากขึน้ หมอลำาประสงค์ได้ตั้งคณะหมอลำาเรื่องต่อกลอนของตนเอง คือ คณะ “ส.ประสงค์ศิลป์”รับงานทั่วภาคอีสาน และมีโอกาสไปแสดงถึงสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวถึง ๗ ครัง้ ผลงานทีส่ ร้างช่ือเสียงคอื ลาำ นทิ านพื้นบา้ น เรื่อง “ขนุ ทงึ ขุนเทือง” “นางเต่าคำา” “ขูลนู างอวั้ ” “ผาแดงนางไอ”่ เมอ่ื หมอลำา ประสงค์ เหลาหาเป็นท่รี จู้ กั มากขึ้น จึงมผี ้มู าฝากตวั เปน็ ศษิ ย์จาำ นวนมาก รวมถึง หมอลาำ คำานาง เจ็กมา ซง่ึ ต่อมาได้ไปฝากตัวเป็นลกู ศิษยห์ มอลาำ แสง่ นามคันที เกียรติประวตั สิ ูงสุดในชวี ิตคอื ได้รับพระราชทานโลจ่ ากสมเด็จพระ กนษิ ฐาธิราช กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในฐานะผู้ อนุรกั ษม์ รดกไทยดีเดน่ ประจำาปพี ทุ ธศักราช ๒๕๓๗ และได้รบั การยกยอ่ งเป็น ศลิ ปินมรดกอสี าน ประจาำ ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ หมอลำาประสงค์ เหลาหาได้เสยี ชวี ิตลงเมอื่ วนั ที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๕ รวมสริ ิอายุ ๘๙ ปี หมอลำาบัว แก้ววิเศษ : คณะบวั แกว้ วเิ ศษ หมอลำาบัวเป็นคนบ้านสาวะถี เป็นบุตรของคุณตาลับกับ คุณยายพั่ว แกว้ วิเศษ ตอนเปน็ เด็กไม่ได้เขา้ โรงเรียน แต่ไดร้ ับโอกาสในการเรียนลำาโดยการไป ดายหญ้าตอบแทนคนสอน(ไม่ปรากฏนามคนสอน) แต่ด้วยเป็นคนท่ีมีพรสวรรค์ และพรแสวง จึงพัฒนาตนเองจนมคี วามรแู้ ตกฉานสามารถแต่งกลอนลำาได้ ถึง ขนาดมคี นมาขอชื้อกลอนลาำ ไปแสดง แต่กอ่ นท่ีหมอลำาบวั จะมาเปน็ หมอลาำ เคย

62 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ แแสสดดงงลลิเิเกกมมาากก่อ่อนน ดด้ว้วยยแแถถบบนนี้เ้ีเคคยยมมีคีคณณะะลลิเิเกกจจาากกโโคครราาชชมมาาแแสสดดงงแแลละะถถ่า่ายยททออดดใใหห้ค้คนน หหนนุมุ่่มคคนนสสาาววจจนนสสาามมาารรถถแแสสดดงงลลิเเิ กกไไดด้้ บบาางงคคนนไไปปรรว่ ว่ มมแแสสดดงงกกบั บั คคณณะะลลเิ เิกกจจาากกโโคครราาชช ดด้ว้วยย เเมมื่่ืออมมาาตตั้งั้งคคณณะะหหมมออลลำาำาไไดด้ใ้ใชช้ช้ชื่อ่ือตตนนเเอองงเเปป็น็นชช่ือ่ือคคณณะะวว่า่า““บบัวัว แแกก้ว้วววิเิเศศษษ ๑” โดยตัวเองร่วมแสดงเปน็ ตวั ตลก ฉายา “บัวปปืด้ ดื้ ”” จจนนเเปป็นน็ ททีร่ ีร่ ู้จ้จู ักกั แแลละะไไดด้ร้รบั ับกกาารร ยอมรับจากผู้ชม ถือเป็นคณะหมอลำาท่ีได้รับการรจจาารรึกึกวว่า่าเเปป็น็นตตำาำานนาานนขขอองงหหมมออลลำาำา บ้านสาวะถีอีกคณะหนงึ่ หมอลาำ บัว ยังมลี กู ศษิ ยอ์ ีกหลาย คนรววมมถถงึ ึงหหมมออลลำาาำ ออังงั คคาานน คคำาำามมี ี ผผู้เู้เปปน็ น็ หลาน (คณุ ยายหวดั แก้ววเิ ศษ (บุตรสาว) : ผู้ใหหข้ ้ข้อ้อมมลู ูล)) หมอลาำ ระเบียบ พลล้าำ : คณะระเบยี บววาาททะะศศลิ ลิ ปป์ ์ เกิดเมื่อวนั ท่ี ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๘๘๓๓ ททีบ่ บ่ี ้า้านนสสาาววะะถถี ี จจบบกกาารรศศกึ กึ ษษาาชชน้ั ้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ที่โรงเรยี นสาวะถรี าษฎร์รงั สฤฤษษฏฏ์ิ ์ิดดว้ ้วยยคครรออบบคครรวั ัวมมฐี ฐี าานนะะยยาากกจจนน มารดาจึงพาไปเรียนลาำ พืน้ กบั แม่ครหู มอลาำ แซ่ง นนาามมคคนั นั ทที ี ((แแสสงงออรรณุ ุณ)) จจนนไไดดก้ ้กลลาายย

ถิ่น�่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 63 เป็นพระเอกของคณะแสงอรุณศลิ ป์ ของแม่ครูแซ่ง เมอื่ สะสมประสบการณไ์ ด้ ระยะหน่ึงจงึ เขา้ ประกวดหมอลำา ของสำานกั ประชาสมั พนั ธเ์ ขต ๑ ขอนแกน่ และได้ รางวลั ชนะเลศิ ในระยะตอ่ มาจงึ ออกมาตงั้ คณะของตนเองในนามคณะ “ระเบยี บ วาทศลิ ป์” และไดใ้ ชช้ ีวิตคู่ร่วมกบั หมอลำาดวงจันทร์ ซงึ่ เปน็ นางเอกคณะ จนมีบตุ ร ด้วยกัน ๔ คน ในจาำ นวนน้นั บุตรชาย ๒ คนได้มาสบื สานศลิ ปะหมอลาำ และรว่ ม กนั บรหิ ารคณะหมอลำาระเบยี บวาทะศิลปร์ ว่ มกับพี่น้องทงั้ ๔ คนจนกา้ วขึน้ มาเป็น อนั ดับตน้ ๆ ในวงการหมอลำา หมอลาำ ระเบยี บ พลลา้ำ เป็นหมอลำาทม่ี ที ้งั รปู สมบัติ และคุณสมบัตขิ อง การเป็นหมอลำาอย่างครบถ้วน ในยคุ สมยั ของทา่ นนับว่าเปน็ หมอลำาท่มี เี สนห่ ์ ทง้ั สมุ้ เสียงและหนา้ ตา ส่งผลให้มีผู้ชน่ื ชอบติดตามผลงานไมข่ าด ผลงานท่ีสรา้ งชื่อ เสยี ง ไดแ้ ก่ เจา้ หญิงแตงอ่อน จาำ ปาสต่ี ้น และอีกหลาย ๆ เรอื่ ง สว่ นหนง่ึ ได้บนั ทึก ในรปู ของวีดทิ ศั นแ์ ละเทปคลาสเซท็ เผยแพรท่ ว่ั ประเทศ จวบกระทง่ั ผา่ นมาหลาย ยุคสมยั ท่านยังสามารถยนื หยัดอยใู่ นวงการไม่เลิกรา แมจ้ ะผา่ นอุปสรรคมาหลาย คร้ังหลายคราก็ตาม ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ หมอลำาระเบยี บ พลล้ำาได้รบั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ ศิลปนิ มรดกอสี าน จากมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น หลังจากที่ทา่ นเสียชวี ิตลง ลูกสาวและลูกชายท้ัง ๔ คน ยังได้ร่วมกัน สืบสานและดำาเนินกิจการคณะหมอลำาระเบียบวาทะศิลป์ให้ยิ่งใหญ่มาได้ถึงยุค ปจั จบุ นั จงึ นบั ว่าหมอลำาระเบยี บ พลลา้ำ เปน็ ผูต้ ่อยอดตำานานหมอลาำ บ้านสาวะถี ให้โด่งดังถงึ ขีดสดุ (ศิลปินมรดกอีสาน, ๒๕๕๓. มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ )

64 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ หมอลำาอังคาน คำามี : คณะองั คานแกว้ วเิ ศษ เกิดเม่ือวันท่ี ๑๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ที่บ้านสาวะถี เริ่มเข้าสู่วงการเมอื่ อายุ ๑๔ ปี โดยไดฝ้ ากตัวเป็นศิษย์ของหมอลาำ ทองสขุ พลิ า วลั ย์ และ หมอลาำ มัน่ (ไมท่ ราบนามสกุล) ซึง่ เปน็ หมอลาำ กลอน ห ม อ ลำ า อั ง ค า น เ ป็ น ผู้ มี ไ ห ว พ ริ บ ปฏิภาณเฉลียวฉลาดเก่งกาจในเชิงช้ันลำากลอน และยังมีความสามารถในการประพันธ์กลอน ลำาได้จึงเป็นท่ีประทับใจของผู้ที่มีโอกาสรับชม พอแสดงหมอลำากลอนได้ระยะหน่ึงจึงหันมาเอาดีทางการแสดงหมอลำาเร่ืองต่อ กลอน (ทำานองขอนแก่น) กบั คณะบัวแก้ววเิ ศษ ๑ (คณะของผเู้ ปน็ ลงุ ) รบั บทครั้ง แรกเป็น “กุมาร” ในเร่อื ง “นาง-เพียรทอง” และยังได้เป็นนกั แสดงรบั เชญิ ใหก้ บั “คณะระเบยี บวาทศลิ ป”์ ในเร่ือง “มณีนพรัตน์” ในช่วงเวลาหนึ่ง จนถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ จึงมาต้ังคณะของตนเอง คือ “คณะอังคานแก้ววิเศษ” แสดงเรื่อง “มุนนิล” โดยดัดแปลงเร่อื งมาจากหนังสือใบลานในสมยั โบราณ จนทาำ ให้มชี ่ือเสยี งเปน็ อย่าง มากในสมยั น้นั หมอลาำ องั คาน คำามี หรอื อังคาน แกว้ วิเศษ ไดร้ บั การยกยอ่ งเป็นศลิ ปนิ มรดกอสี าน สาขาศลิ ปะการแสดง (ลำาเร่อื ง) ประจำาปีพทุ ธศักราช ๒๕๔๘ ซ่งึ เปน็ ปี แรกของการมอบรางวลั ศิลปินมรดกอสี าน หมอลำาองั คาน เสียชีวิตในวันที่ ๑๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ รวมอายุ ๖๑ ปี (ศิลปินมรดกอีสาน, ๒๕๕๓. มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ )

ถิ่น�่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 65 คณะหมอลาำ พนั ปี : หมอลาำ ยคุ ฟืน้ ฟู หมอลาำ พนั ปี เรม่ิ ก่อต้งั เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๕๒ จากการท่ีนายวริ ตั น์ ศรศักดา ได้ นาำ เครื่องเสียงไปเปดิ ในงานบุญแจกขา้ ว (บุญอทุ ศิ ส่วนกุศลให้ผลู้ ่วงลบั ) ในหม่บู ้าน ไดเ้ หน็ คณุ พอ่ - คณุ แม่ซ่งึ เป็นผสู้ งู วยั ท่เี คยเปน็ หมอลาำ ในอดีต ออกมาร้องลาำ เลน่ กัน เกิดความรู้สึกว่าไพเราะและสนุกสนานมาก และสงั เกตเหน็ วา่ แต่ละท่านล้วน มคี วามสขุ เม่ือได้มาร้องมาลาำ ร่วมกัน ซงึ่ ทา่ นเหล่าน้ีหลังจากเลกิ รา้ งจากการเปน็ หมอลาำ แล้วก็มาใช้ชวี ติ ปกตอิ ย่กู บั บ้าน บางคนก็ดแู ลลกู หลาน ไมม่ โี อกาสได้ใช้ ความสามารถดงั แตก่ อ่ น นายวิรตั น์ เหน็ ว่าคณุ พ่อคุณแม่ซง่ึ ทา่ นเคยเปน็ หมอลำามาก่อน บางคนเป็น ถึงพระเอก - นางเอกแต่ต้องมาใช้ชวี ิตแบบเงยี บเหงา ทัง้ ทม่ี ีความสามารถ จงึ คดิ

66 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ จะรวบรวมหมอลำาเก่าบ้านสาวะถีมาตั้งเป็นคณะหมอลำาเพ่อื การอนรุ ักษ์ และไดร้ บั การตอบรบั เปน็ อยา่ งดี แตต่ อนน้นั ยงั ไม่มชี ่อื คณะ ตอ่ มาเมือ่ “โครงการวัฒนธรรม ไทยสายใยชมุ ชน” ของกระทรวงวัฒนธรรมมาดาำ เนินการทีว่ ดั ไชยศรี คณะหมอลาำ จงึ ได้รับการยกข้นึ เปน็ ฐานการเรยี นรูห้ นึ่ง พระอาจารย์บญุ ชยากร เจา้ อาวาสวดั ไชยศรี และเจา้ คณะตาำ บลสาวะถี เขต ๑ จึงตง้ั ชอื่ ให้วา่ “หมอลำาพันปี” โดยถอื เอา จุดเดน่ คืออายุหมอลำารวมกัน ผรู้ ่วมกอ่ ต้งั ยคุ แรก ๑. นายวริ ัตน์ ศรศักดา ๒. พอ่ จอม ข้อยุ่น (เสียชีวติ แล้ว) ๓. พอ่ ชารี คำาภา ๔. แมส่ งวน แสงสีเรอื ง ๕. พอ่ บญุ มาก (หมอแคน) ๖. พ่อ ฝัน้ ดาวสาวะ (หมอแคน) ๗. แม่สมจติ ร ศรีกวนชา ๘. แม่แตะ คำาบอ่ เศร้า ๙. พอ่ คาำ พัน สวุ รรณผา ๑๐. พ่อสมศกั ด์ิ สิมหลวง ๑๑. แม่พวงรตั น์ เมืองซอง ๑๒. พ่อ ทองมว้ น เจรญิ สุข ๑๓. พ่อเฉลิม มาวัน ปัจจุบันสมาชิกหลายท่านได้เสียชีวิตลงหรือบางส่วนก็ไม่สามารถร่วม แสดงได้อกี เพราะด้วยความชราภาพ สมาชกิ รุ่นใหม่ทย่ี ังรว่ มแสดงได้ ประกอบดว้ ย ๑. พอ่ บุญมาก แสงศรเี รือง ๒. แม่สงวน แสงศรีเรือง ๓. แม่หนูนา มหามาตย์ ๔. แม่ดวงใจ ทบั สมบตั ิ ๕. แม่หนูเร่ยี ม เช้อื สาวะถี ๖. แม่เปลอ้ื ง คำาภา ๗. พอ่ ธนติ ศรีสมบูรณ์ (มอื กลอง) ๘. พ่อวิรัตน์ ศรศักดา (หัวหนา้ คณะ) (วริ ตั น์ ศรศกั ดา, ผู้ให้ขอ้ มูล, ๒๕๖๓) คณะหมอลำาน้อยรอ้ ยปี : หมอลำาเดก็ แหง่ บ้านสาวะถี หมอลำาหุ่นสินไซน้อยร้อยปีเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ของ นกั เรยี นโรงเรียนบา้ นสาวะถี (สาวัตถีราษฎรร์ ังสฤษฏ)์ิ ได้ดาำ เนินการมาต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยร่วมกับเครือขา่ ยสื่อศลิ ปวัฒนธรรมชมุ ชนอีสานได้เข้ามาหนนุ เสริม ให้การอบรมผา่ นโครงการสินไซโมเดล และสาำ นักงานวฒั นธรรมจังหวัด ขอนแกน่ ไดใ้ ห้งบสนบั สนนุ ชมุ ชนวัฒนธรรมสร้างสรรค์ หมูท่ ่ี ๘ วดั ไชยศรี จาำ นวน ๕๐,๐๐๐ บาท ในเงินจาำ นวนน้ี ทางวดั ไชยศรี โดยทา่ นพระครูบญุ ชญากร เจา้ อาวาส ได้มอบให้กบั ทางโรงเรยี นเพอ่ื นาำ มาพฒั นาหมอลาำ หุน่ สินไซน้อยรอ้ ยปี

ถิ่�่นฐานบ้า้ นสาวะถีี 67 รรปููปแแบบบบกกาารรแแสสดดงงหหมมออลลำาาำ หหุนุ่น่ สสนิินไไซซนน้้ออยยรรอ้้อยยปปีี ไไดดม้ม้ กกีี าารรปปรระะยยุกุกตต์เเ์ ออาากกาารร เเชชิดิดหห่นุ่นุ กกรระะตติบบิ ขข้้าาวว มมาาผผนนววกกกกบับั กกาารรลลาำาำ ททำำาานนอองงสสนินิ ไไซซ เเพพืือ่่อจจะะไไดดเเ้้ ปปน็็นทท่ีี่ตตนน่่ืื ตตาาใใหหแ้้แกกผผ่่ ูู้้ ชชมมมมาากกขขึน้น้ึ แแลละะยยงังั เเปปน็น็ กกาารรนนาำาำ ขขอองงเเหหลลือือใใชช้้มมาาปปรระะดดิิษษฐฐ์์เเปปนน็็ หหน่นุุ่ เเขข้้าากกบบัั หหลลกกัั ปปรรัชัชญญาา เเศศรรษษฐฐกกิจจิ พพออเเพพยียี งง ปปีี พพ..ศศ.. ๒๒๕๕๕๕๙๙ กกรระะททรรววงงววััฒฒนนธธรรรรมม ปปรระะสสาานนงงบบปปรระะมมาาณณโโดดยยสสาำำานนักัก ววััฒฒนนธธรรรรมมจจังงั หหววัดดั ขขออนนแแกกน่่น ไไดด้้ใใหห้้งงบบปปรระะมมาาณณใในนกกาารรดดาำาำ เเนนิินนงงาานนตตออ่่ จจำำาานนววนน

68 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ ๑๐๐,๐๐๐ บาท เพอื่ พัฒนาวงหมอลาำ ใหม้ ีคณุ ภาพยง่ิ ข้ึน โดยทางโรงเรียนได้ พัฒนาให้เป็นสื่อศิลปวัฒนธรรมของท้ังโรงเรียนและของชุมชนท่ีได้รับการยอมรับ และสามารถรับงานแสดงและนาำ ไปโชว์ไดท้ ่วั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒ หมอลาำ หนุ่ สนิ ไซนอ้ ยรอ้ ยปี เปน็ ร่นุ ที่ ๔ ได้รบั การที่ได้มีการฝึกหดั ฝกึ ฝนเพอื่ พฒั นาสู่ความเปน็ สากลมากย่งิ ขนึ้ โดยได้รับ งบสนับสนนุ จากสาำ นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) ผา่ น โครงการสินไซโมเดล ปที ี่ ๔ ทาำ ใหส้ ามารถเลา่ เรื่องยอ่ ของวรรณกรรมสนิ ไซ ในภาค ภาษาอังกฤษ เพื่อรองรับนักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติทม่ี าเยย่ี มชมวัด ชมุ ชน และ โรงเรยี น ปจั จบุ นั ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ หมอลำาหนุ่ สนิ ไซน้อยร้อยปี เปน็ ร่นุ ที่ ๕ ซึ่ง ได้ รับการส่งต่อกันมาเปน็ ร่นุ ๆ และในปนี ี้ หมอลาำ หุน่ สนิ ไซน้อยรอ้ ยปี ไดร้ บั คดั เลอื ก เปน็ ๑ ใน ๘ ผลติ ภัณฑ์ไมซ์ ของโครงการ ๗ ธีม ๒๐๒๐ โดยบรษิ ัท มะโน คิดดี ใน นามของสำานกั งานส่งเสริมการจัดประชมุ และนิทรรศการ (องคก์ ารมหาชน) หรอื (สสปน.) (นงนุช ศิริภมู ิ, ผู้ใหข้ ้อมูล, ๒๕๖๓)

ถิ่่�นฐานบ้้านสาวะถีี 69 [yHomuJ $ V^xc9,h lob w: ฮปู แตม้ สนิ ไซวดั ไชยศรี จจิตรกรรมฝาผนัง ซ่ึงต่อไปนี้จะเรียกว่า“ฮูปแต้ม” ถืออเเปป็น็นสสื่อื่อศศิลิลปป วใใวชฒัชัฒ้เเ้ปนปนน็ธน็ธรทรทรร้งั ัง้มสมสร่อื ูปคแวบามบรหู้ นสง่ึ ทอ่ื คีม่ ุณอี ิทธธรพิรมลตอ่ตกลาอรดรถบั งึ รสู้ขอื่ อคงวมานมุษบยนั ์ใเนททงิ กุ ยในุคสพมน้ื ัยยทท่ีส่สี ออนนงงิยฝิยฝมง่ัมง่ั แนแนมำามำาน่ม่นมาาำ้ าาำ้ โโขขงงพพบบวว่าา่ ววดัดั ตต่า่างง ๆๆ นนยิยิ มมสสรร้า้างงฮฮูปปู แแตตม้้มปปรระะดดบัับปปรระะดดาาเเพพ่อืื่อใใหหเ้เ้ กกิดิดคคววาามมสสววยยงงาามม แแลละะ ทท่สี สี่ ำาาำ คคญั ัญยยังงั มมวีีวัตัตถถุปปุ รระะสสงงคคเ์์เพพื่อ่อื เเปป็นน็ กกาารรสส่ือือ่ สสาารรเเรร่ือ่อื งงรราาววใในนททาางงพพรระะพพุทุทธธศศาาสสนนาา เเชช่น่น เเรรอ่ื อ่ื งงรราาววเเกกย่ีี่ยววกกับบั พพุทุทธธปปรระะววัตตั ิิ ชชาาดดกก ฮฮีตตี คคอองง ปปรระะเเพพณณีี ตตลลออดดถถงึึงสสะะททอ้ ้อนนววิถิถีชชี วี วี ิติต ขขอองงผผูค้ คู้ นน ใในนออดดีตีตฮฮูปูปแแตต้ม้มสสว่ว่ นนใใหหญญน่น่ ิยยิ มมสสรรา้้างงขข้นึน้ึ บบนนผผนนงัังโโบบสสถถ์์ ผผนนงัังศศาาลลาา ฝฝ้าา้ เเพพดดาานน หหออธธรรรรมมาาสสนน์์ ตตลลออดดถถึงึงตตพูู้พ้ รระะธธรรรรมมคคมัมั ภภรีีร์์ สสนิ นิ ไไซซถถอืือเเปป็น็นววรรรรณณกกรรรรมมทท่ไี่ไี ดด้ร้รับบั คคววาามมนนิยิยมมแแลละะนนาำำามมาาแแตต้ม้ม ((ววาาดด)) บบนนผผนนงั ัง สสิมมิ ตตลลออดดถถงึงึ พพื้นน้ื ททสี่่สี ำาำาคคญััญใในนททาางงพพทุทุ ธธศศาาสสนนาาดดงังั ททก่ีกี่ ลลา่า่ ววไไปปแแลลว้้วมมาากกทท่ีส่ีสดุ ดุ รรอองงจจาากก ลจรจไจเสกกจสลไจรจเรชรีชังงนั่าวาี นงัังอื่่วาาย(อ่ืหหวฬนย(หหถอวฬนงถอศงอววศกอสงึพ.ววกสงึพ.เรีกัดดัตเรากีนิดัดัมตราินมี รีรมฬออรมฬะือธออะือธ3อ้ ห3น้อส.สุ์เหงนส.สุ์เงเวยเวยปำ)าามจนิ ปำ)าามจินวสวเสสหเบสรือหธอวัดบรอืธอวัดสสาา์ุารงัดา็ดุ์รงดั ็ดันพรโนักพรโักบใสับใดสจคดดจนคฏดบพนฏบพนฮนยฮ.ายร.าพรขฮทพบขฮทูปบวูไมปวไมอูปดน้ือปู่ีนทดน้ืี่นทแใแวใวนพแ้แนทพนแ้แวท่ีนวต่ีัดตดั วแตวตาบแตตอี่ภาบอี่ภ้มอ้มอดั ดัรกม้ม้รกม้้มสีทสีาทาุมสุมสจพีจีพ่นสเ่นสเคาคาี่ ่ีิองันกัิอังนักวัฒวินนฒันินออคคาชราชัดไรดัไไตสีไตีสนลซไนลซไวา่วซ่าโซโววอาอาะพาางทะพาางทมมท้ท้นนนแลนรแลนรนธ่ีมธ่ีมาาง้ัั้งาปาตปภตกภกาาาากกีีคคผผมม้มเรรม้ลเรรลูมมู ถถรรนวนวาาาาไาไาินนิ ียงึยีงึ (า(างังัดมดกมกงงออมิมิงงมมดด้นน้ฏฏ88..((ิตติ บบ้าา้คคสส((ออำาาำฮฮออนนอืือมา้ม้าเเ..วปูวูป((.ส.สนนในในออรรบบัดัดแแนนนนขาขา่อ.อ่.ไไููรอรอตตแผดแผดอออองงโโณณาาม้้มล่)ูนล่)ดคูนดคเนเนจรจรสสะ์ะใ์ยาำ)ใยำา)วแวแื่อสือ่สนนนิผ)นิผ)ัดัดกกงางาววดนจไดนจไสรส่นรม่นมซดัซัดงั้างังั้าาังราราาบหบดหนดวนะวะมรมรถ้าถ้าควา้บ้าควเบถเหถหนงึนนนดังึนนรัดรวั)วั)าาโบ้ืขนอโบื้ขนอแแวสควส1ค1อทเออกทเอัดกาดักร3ากร3นกนุก้วรกปุกว้่ืรอปก่ือกแคตตแคตตรงลวรงล(ว(กาัวอะกอาัวมอัดะอามัดามส่นมตนส่น.งตนา.งาหหิมูชิมกชูแก(รแนต(พรนอตยัพทอยัล้อทลอ้ง้ัอ.งั้บอ.บ่ีะสโยแ(่ีะสโยงแ(กงอทใกอุทเดตสใุเดตสนอส.นวี่อส.ต่ธออี่ว่ตธออด็มุ ดั ็ดมุวัดน้งยวน้งยสพไัชหสพไู่ชัทเหชแู่ทเปชรแิสบป้อรสิบย่ีลวอ้ ื่อย่ีลวปัยอ่ืุรงปยััศดุระงงัศดะ)ี)).งี))).

70 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓

ถิ่น่� ฐานบ้า้ นสาวะถีี 71 เรื่องย่อสนิ ไซ กาลคร้งั หน่งึ ยังมีนครใหญ่กว้างช่อื เป็งจาลนคร พญากุศราชเป็นกษัตริย์ ปกครอง มมเหสนี ามวา่ จนั ทาเทวี และมพี ระขนษิ ฐานามวา่ สมุ ณฑา ต่อมามีพระยายักษ์เจ้าเมืองอโนราช ช่อื กุมภัณฑ์ มาลอบฉุดไปเป็นมเหสี จนมพี ระธดิ าดว้ ยกนั นามวา่ สดี าจนั ทร์ ตอ่ มาพระธดิ าสดี าจนั ทรก์ ไ็ ดเ้ ปน็ มเหสขี อง ทา้ ว วรณุ นาค แหง่ เมอื งบาดาล พญากศุ ราชคดิ ถงึ และเปน็ หว่ งนอ้ งสาวมากจงึ ตดั สนิ ใจออกบวชเพอ่ื เดนิ ทาง สบื หานอ้ งสาว จนไดพ้ บกบั ลกู สาวทง้ั เจด็ ของเศรษฐเี มอื งจาำ ปา เกดิ หลงรกั จงึ กลบั มา ลาสกิ ขาและสขู่ อมาเปน็ มเหสี ตอ่ มานางจนั ทามเหสเี อก และนางลนุ ธดิ าคนสดุ ทอ้ งของเศรษฐไี ดป้ ระสตู โิ อรส ๓ องค์ แตม่ รี ปู รา่ งผดิ ประหลาด นางจนั ทาคลอดลกู เปน็ คชสหี ม์ หี วั เปน็ ชา้ งลาำ ตวั เปน็ ราชสหี ์ นางลนุ ไดล้ กู แฝด องคห์ นง่ึ เปน็ คน มธี นแู ละดาบออกมาดว้ ยตอนคลอด อกี องค์ มรี ปู รา่ งเปน็ หอยสงั ข์ สว่ นมเหสอี กี หกคนคลอดเปน็ คนธรรมดา โหรทาำ นายวา่ ทง้ั สาม องคเ์ ปน็ ผมู้ บี ญุ ญาธกิ ารมาเกดิ สว่ นอกี ๖ องคเ์ ปน็ คนธรรมดา ทง้ั หกนางเกดิ ความรษิ ยา จงึ จา้ งโหรกลบั คาำ ทาำ นาย ใสร่ า้ ยทง้ั ๓ องคว์ า่ เปน็ กาลกณิ ไี มด่ ตี อ่ บา้ นเมอื ง พญากศุ ราชหลงเชอ่ื จงึ สง่ั เนรเทศออกจากเมอื งไปอยปู่ า่ เขา พระอนิ ทรใ์ หพ้ ระ วษิ ณกุ รรมเนรมติ รปราสาทแกว้ ใหอ้ ยกู่ ลางปา่ และพระอนิ ทรย์ งั ไดต้ ง้ั ชอ่ื โอรสทง้ั สามเอา ไวใ้ นใบลานทองคาำ อกี ดว้ ย โอรสทห่ี วั เปน็ ชา้ ง กายเปน็ สงิ ห์ ชอ่ื วา่ “สหี ราช” (สโี ห) โอรส ทเ่ี ปน็ หอยสงั ข์ ชอ่ื “สงั ขารากมุ าร” (สงั ข)์ สว่ นโอรสทเ่ี ปน็ คน ชอ่ื วา่ สงั ขศ์ ลิ ปช์ ยั (สนิ ไซ) ตอ่ มาเมอ่ื เจรญิ วยั เปน็ หนมุ่ ทา้ วทง้ั หกไดร้ บั มอบหมายจากพระราชบดิ าใหไ้ ป ตามนางสมุ ณฑาทเ่ี มอื งยกั ษ์ ทา้ วทง้ั หกมาพบสนิ ไซโดยบงั เอญิ เหน็ วา่ มฤี ทธเ์ิ ดชกลา้ หาญ จงึ ออกอบุ ายหลอกสนิ ไซวา่ พอ่ ไดย้ กโทษใหแ้ ลว้ และใหไ้ ปตามหาพระเจา้ อาทถ่ี กู ยกั ษล์ กั ไปดว้ ยความกตญั ญสู นิ ไซจงึ รบั ปากออกตดิ ตามอาพรอ้ มดว้ ยสโี หและสงั ข์ โดยใหท้ า้ วทง้ั หกรออยรู่ ะหวา่ งทาง

72 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ ทง้ั สามพน่ี อ้ งเดนิ ทางฟนั ฝา่ อปุ สรรค ถงึ ๙ ดา่ นมหาภยั ขา้ มแมน่ าำ้ กวา้ งถงึ ๗ สาย แตด่ ว้ ยปญั ญาและมวี ชิ าความสามารถโดยไมม่ เี จตนาทาำ รา้ ยผใู้ ด เพยี งแตต่ อ้ งการ นาำ อากลบั คนื เทา่ นน้ั สดุ ทา้ ยกต็ ามนางสมุ ณฑากลบั คนื มาได้ โดยไดฆ้ า่ ยกั ษก์ มุ ภณั ฑต์ าย ทง้ั ทไ่ี ดพ้ ยายามขอโดยดแี ตไ่ มส่ าำ เรจ็ เพราะยกั ษก์ มุ ภณั ฑเ์ องกม็ คี วามรกั ตอ่ นางสมุ ณฑา มาก และยงั มนี สิ ยั อวดดวี า่ ตนมฤี ทธไ์ิ มเ่ กรงกลวั ใคร สดุ ทา้ ยจงึ ถงึ แกค่ วามตายในการ ตอ่ สกู้ บั ฝา่ ยสนิ ไซ แตพ่ อเดนิ ทางกลบั มาสมทบกบั ทา้ วทง้ั หก เพอ่ื นาำ นางสมุ ณฑาและนางสดี าจนั ทร์ กลบั ไปสง่ คนื ใหท้ า้ วกศุ ราชทเ่ี มอื งเปง็ จาล กลบั ถกู ทา้ วทง้ั หกวางแผนผลกั ตกเหวเกอื บสน้ิ ชวี ติ ดวี า่ พระอนิ ทรล์ งมาชว่ ยไว้ ฝา่ ยทา้ วทง้ั หกเมอ่ื นาำ นางสมุ ณฑา และสดี าจนั ทรก์ ลบั มาคนื พระราชบดิ า ตอนแรกทา้ วกศุ ราชกเ็ ชอ่ื ตอ่ มาความจรงิ กถ็ กู เปดิ เผยดว้ ยความ พยายามของนางสมุ ณฑา ทาำ ใหท้ า้ วกศุ ราชสง่ั เนรเทศมเหสที ง้ั หก และทา้ วทง้ั หกออก จากเมอื งและพระองคก์ เ็ ดนิ ทางไปรบั นางจนั ทา, นางลนุ , สนิ ไซ, สโี ห และสงั ขก์ ลบั เมอื ง เปง็ จาล แลว้ มอบเมอื งใหส้ นิ ไซขน้ึ ปกครองแทน

ถิ่�น่ ฐานบ้า้ นสาวะถีี 73 เรอ่ื งยงั ไมจ่ บเพยี งเทา่ นน้ั เมอ่ื ยกั ษก์ มุ ภณั ฑไ์ ดร้ บั การชบุ ชวี ติ จากพระยาเวสสวุ ณั ใหฟ้ น้ื ขน้ึ มาอกี ครง้ั ดว้ ยความรกั ทม่ี ตี อ่ นางสมุ ณฑาจงึ มาลอบลกั เอานางสมุ ณฑากลบั เมอื งยกั ษแ์ ละเอาทา้ วสนิ ไซไปเปน็ ตวั ประกนั จนสโี หและสงั ขต์ อ้ งเดนิ ทางไปตามสนิ ไซ เกดิ สงครามใหญไ่ มม่ ที ที า่ วา่ จะเลกิ รา รอ้ นถงึ พระอนิ ทรต์ อ้ งเสดจ็ มาไกลเ่ กลย่ี ชแ้ี จงให้ เหน็ คณุ และโทษพรอ้ มทางออกทเ่ี หมาะสมและเปน็ ธรรมมเี หตมุ ผี ลทท่ี กุ ฝา่ ยยอมรบั ได้ เชน่ ใหก้ มุ ภณั ฑไ์ ปสขู่ อนางสมุ ณฑาใหถ้ กู ตอ้ งตามประเพณี เปน็ ตน้ ทกุ อยา่ งจงึ ลงเอย ดว้ ยดี ทกุ ฝา่ ยไดก้ ลบั ไปสบู่ า้ นเมอื งดาำ รงชวี ติ อยา่ งถกู ตอ้ งตามทาำ นองคลองธรรม นาำ ใหม้ ี แตค่ วามผาสกุ ทกุ คน สดุ ทา้ ยกจ็ ะเปน็ การมว้ นชาดก คอื การแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ผลการกระทาำ ดแี ละไม่ ดขี องตวั ตนบคุ คลในเรอ่ื งสนิ ไซวา่ หลงั จากสน้ิ ชวี ติ ไปแลว้ ไดก้ ลบั มาเกดิ เปน็ ใครอยา่ งไร เชน่ ทา้ วสนิ ไซ กก็ ลบั มาเกดิ ชาตสิ ดุ ทา้ ยเปน็ พระพทุ ธเจา้ อยา่ งนเ้ี ปน็ ตน้ เปน็ การ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ศรทั ธาแกผ่ ทู้ ไ่ี ดเ้ ขา้ ใจเขา้ ถงึ สาระและเรยี นรวู้ รรณกรรมสนิ ไซ มคี วามมงุ่ มน่ั จะทาำ ความดี ดงั คาำ กลา่ วทว่ี า่ “ทาำ ดไี ดด้ ี ทาำ ชว่ั ไดช้ ว่ั ” หรอื “บาปแกผ่ ทู้ าำ กรรมแกผ่ ู้ สรา้ ง” มว้ นชาดกจงึ เปน็ บทสรปุ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ คณุ คา่ ของเรอ่ื งราวทก่ี ลา่ วมาทง้ั หมด อยา่ งแทจ้ รงิ

ตำ�แหน่งฮปู แต้มสนิ ไซวดั ไชยศรี ทศิ ตะวนั ตก ทิศใต้ ทศิ เหนอื ทิศตะวันออก แผนผังอโุ บสถ(สิม) วดั ไชยศรี

6 ถิ่�่นฐาน1บ้า้ นสาวะถีี 75 6 1 6 1 55 ถถถอออดดดรรหรหัสหัสัส 5 3 V^[V^[V[^ccc999h,h,,h 33 7 lllob boob ww::w: 77 4 ววดัวดั ัดไไชชไชยยย 8 44 11 9 8 10 12 2 10 12 2 11 9 8 10 12 2 11 9

76 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ 1 11ผนงั หมผผานนยังงั เหหลมมขาาย5ยเเดลลขา้ขน55ทดดิศ้าา้ในนตทท้ ิศิศใใตต้้ กมุ ภกกมุมุณั ภภฑณัณั ์เหฑฑาเ์เ์ หหะไาาปะะไไเปปมเเือมมงอือื เงปงเเ็งปปจง็็งาจจนาานน (1) ก((1ุม1))ภกัณกุมมุ ฑภภ์*ัณัณเปฑฑน็ ์**์ พเเปปญ็นน็ าพพยญญักาาษยย์คกัักรษษอค์ค์ งรรเอมองงือเเงมมออือื โงงนออรโโนนาชรราาชชแตแแ่ยตตังย่ย่ไมังงั ไไ่มมมีม่มม่ เีมมีหเเหสหีเสสคีเเี คียคียงียกงงกกาายายยวววันันนั หหหนนนึ่ง่งึ ง่ึ จงึ ขนึ้ จจไึงปงึ ขขเึน้ขึน้ ไ้าไปปเฝเเขข้าา้ พา้ เเฝรฝา้ะา้ พพยราระเะวยยสาาเสเวววุ สสรสสรวุุวณรรรรเพณณื่อเเพพไถือ่ือ่ ่ถไไถาถมถ่่ถาาถมมึงถเถนึงงึ อื้เเนนค้ือ้อื ู่ คคเมูู่่ เเอ่ื มมทื่อ่ือรททารรบาาบวบา่ววเา่่านเเนนือ้ ื้อ้ือคคคูข่ ขูู่ข่ออองงตงตตนนนไไไปปป เกดิ ยเังเกกโดิลิดยกยงั มังโโลนลกษุกมมยนน์ ุษเุษปยย็น์์ เนเปปอ้ น็น็ งนนส้ออ้างงวสสพาารววะพพยรราะะกยยุศาากรกาศุศุ ชรรแาาชชหแแง่ หหเม่งง่ ือเเมมงือือเปงงเเ็งปปจง็็งาจจนาานนจึงจจเึงึงกเเกดิกิดคดิ คคววาวามามมกกกรรระะะสสสนั ันนั อยากออไยดยาา้นกกาไไงดดม้น้นาาาเงงปมม็นาามเเปปเหน็็นมสมเีเหหสสีีโดยโโไดดมยยฟ่ ไไมังมค่ฟฟ่ าำงัังทคคำาัดาำ ทททดััดาททนาาจนนาจจกาาทกก้าททว้า้าเววเสเววสสวุสสรุวุวรรณรรณณววา่ว่าจา่ จจะะะนนนาำ าำ ำาคคควววาาามมม เดอื ดเรเดดอ้ ืออื นดดมรร้อาอ้ ในนหมม้ าาใใหห้้ 3 33ผนังหมผผานนยงั งั เหหลมมขาาย5ยเเดลลขา้ขน55ทดดศิ า้ า้ในนตทท้ ศิศิ ใใตต้้ “อยุม้ “กัออกยมุ้ษมอุ่มกั อกนัใ์ นษมเห่อมุอแแัน์ในญเาหสอกแแนวญ่ยาสว้ กางน้าสว่ยว้ขงยางา้ะสพึน้ขงทยแะพรึน้เทะคแวารเยะหคมวกาายาหยมากตหพมกนาาปาตพ้มุาตพลนนฮปมุ้ปอลตมุ้พลฮอฮอตมอพตอ่พอลอดม่อมเ่อลมดลันดมปเมเันมมขปนัมปไฆขนุ ขไฆวดนุไฆนุวดเวดญั้เปัญ้เปญั้ป”ือ”ือ”อื งงง กุมภณั ฑ์แอบซมุ่ อยยู่ใูใ่ นนสสววนนออทุ ทุ ยยาานน กุมภณั ฑแ์ อบซุ่มอยู่ในสวนอุทยาน

ถืิ่่�นฐานบ้า้ นสาวะถีี 77 ผนผังนหังมหามยาเลยขเล5ขด5า้ นดทา้ นศิ ใทตศิ ้ ใต้ 2 2 นนางาสงุมสณมุ ณฑาฑชามชสมวสนวอนุทอยุทายนาน

78 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ พระยากศุ ราชออกบวชตามหาน้องสาว 1 ผนังหมายเลข 5 ด้านทิศใต้ กุมภัณฑเ์ หาะไปเมืองเปง็ จาน (1) กมุ ภัณฑ*์ เปน็ พญายักษ์ครองเมืองอโนราช แต่ยังไมม่ ีมเหสีเคยี งกาย วันหนง่ึ จึงขน้ึ ไปเข้าเฝา้ พระยาเวสสุวรรณเพือ่ ไถ่ถามถงึ เนอ้ื คู่ เมื่อทราบวา่ เนอ้ื คขู่ องตนไป เกดิ ยงั โลกมนษุ ย์ เปน็ น้องสาวพระยากุศราชแห่งเมอื งเป็งจาน จึงเกดิ ความกระสนั อยากได้นางมาเปน็ มเหสี โดยไม่ฟงั คาำ ทดั ทานจากทา้ วเวสสวุ รรณวา่ จะนาำ ความ เด6อื ดรผ้อนนังหมมาายใเหลข้ 11 ด้านทศิ ตะวนั ออก 6 ผนงั หมายเลข 5 ด้านทศิ ใต้ 3พระยผานกงั ุศหมราายชเลไขด5ม้ ดอ้านบทใศิ หใตน้ ้ างจนั ทาดูแลบา้ นเมอื งแทน ส่วนพระองคอ์ อกบวช เดนิ ปา่ ติดตามน้องสาว (6) “ยกั ษ์ใหญย่ า้ ยทะยานฮอดปุนเปือง กุมเอานางพรากพลพลนั ได้ มณฑาวา่ เผมูท้ ื่อ่ลีมักาตถงึัวเนมาอื งงไปจาำคปอื ายนักคษร์กขุมอภงัณพฑระ์ผยู้มาีฤกทาธมเิ์ ดะทชอ้มุาอมจอ่ นังึนทแแสรกวาว้ งบสขะข้นึ แ่าเคววหมขาตอปมุ้ งอตนม่อาเมงมขสฆวุ ญั ” วันหน่ึงพระยากุศราชได้ออกบิณฑบาตไปเห็นลูกสาวทั้งเจ็ดของนันทะ เศรษฐีกเ็ กิดหวัน่ ไหวจนไมอ่ าจทนอยู่ในเพศนักบวชต่อไปได้ จงึ เดินทางกลับเมอื ง เป็งจานเพื่อลาสิกขาบท และสง่ ขุนคอน กับ ขนุ สี มาเจรจาสูข่ อ พระยากุศราชจึง มภี รรยาท้งั ส้นิ แปดนาง กุมภัณฑ์แอบซุม่ อยู่ในสวนอุทยาน

ถืิ่่น� ฐานบ้า้ นสาวะถีี 79 7 ผนังหมายเลข 11 ดา้ นทศิ ตะวนั ออก ถกู เนรเทศออกจากเมือง 7 ผนังหมายเลข 5 ดา้ นทิศใต้ ต่อมานางจันทามเหสเี อก และนางลุนธดิ าคนสดุ ทอ้ งของเศรษฐีได้ประสตู ิ โอรส ดงั น้ี คอื นางจนั ทาคลอดลกู เปน็ ราชสหี ์ แตห่ วั เปน็ ชา้ ง นางลนุ ไดล้ กู แฝด องค์ หนง่ึ เปน็ คน มธี นแู ละดาบตดิ ออกมาดว้ ยตอนคลอด อกี องคม์ รี ปู รา่ งเปน็ หอยสงั ข์ สว่ น มเหสอี กี หกคนคลอดลกู ผเนปังน็หคมานยธเลรขร5มดดา้ านทศิ ใต้ 2 โหรทาำ นายวนา่ าทงง้ั สามุ มณองฑคาเ์ ชปมน็ ผสมู้วบีนญุอญทุ ยาธากินารมาเกดิ สว่ นอกี องคเ์ ปน็ คน ธรรมดา มเหสที ง้ั หกนางเกดิ ความอจิ ฉาจงึ จา้ งหมอโหรเปลย่ี นคาำ ทาำ นาย ใสร่ า้ ยโอรสทง้ั 3 วา่ เปน็ กาลไี มด่ ตี อ่ บา้ นเมอื ง ท้าวกศุ ราชหลงเชอ่ื สง่ั เนรเทศออกจากเมืองไปอยปู่ ่า เขา พระนางทัง้ สองจึงออกเดนิ ทางรอนแรมไปตามป่า (7)

80 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ 1 ผนงั หมายเลข 5 ดา้ นทศิ ใต้ กมุ ภณั ฑเ์ หาะไปเมอื งเปง็ จาน (1) กุมภณั ฑ์*เปน็ พญายกั ษ์ครองเมืองอโนราช แตย่ ังไมม่ ีมเหสเี คียงกาย วันหน่ึง จงึ ข้ึนไปเข้าเฝ้าพระยาเวสสุวรรณเพือ่ ไถถ่ ามถงึ เนื้อคู่ เมอ่ื ทราบว่าเนอ้ื คู่ของตนไป เกดิ ยงั โลกมนษุ ย์ เป็นนอ้ งสาวพระยากศุ ราชแหง่ เมืองเปง็ จาน จึงเกดิ ความกระสัน อยากได้นางมาเป็นมเหสี โดยไม่ฟงั คำาทัดทานจากทา้ วเวสสุวรรณว่าจะนาำ ความ เดอื ดร้อนมาให้ 8 สจย3งัิงนไหถด์ ึงต้ชปผ้ัง่อื เนมรชืองัสาื่องหสีหโม“อาาเรชยทรายีเสลชแงขศทกลิ (5้งัป้วสสด์”ทีโ้าาหหนีพ่มรท)ือโรเิศออเะใมตราอือ้สไงินวศท้ใลิทนเ่ีปปร์ ใเใ์มน็บหือหลงพ้ ขาออรนยงะสทสนิวงัอไิษซขงณ์คชาำ ุกอื่ อรกีสรดมงั ้วขเนย“ายรรโกัมาอกษมกิตรุมัน์ใุมสใเหอแหาทผญาสรน้่มีน(ว่ยงั 8หีาหงสา้ )ขงมย่ววั พานึ้แทนเยปรเละเวโาลน็ยอะหกขารพชาพ5นสปา้รลดฮทงอะพ้าอกมนอ่ีเลดปทาเินนัมปิศย็นไทฆในุเดตคปเร้้ปน์น็ ือง ให้ชือ่ ว่า สังข์ศิลป์ชยั (หมายถึง สินไซ) อุม้ อ่อนแก้วสะแคมตุม้ ตอ่ มขวัญ” พระนางท้ังสองได้เลี้ยงดโู อรสทง้ั สามในปราสาทน้ันอย่างสงบสุข เมอ่ื สนิ ไซเตบิ ใหญก่ ็ขอศรไปประลอง ด้วยอานุภาพของศรทาำ ให้ ครุฑ และ นาค ทราบจากฤทธ์ิ ศรวา่ ผทู้ รงโพธญิ าณมาเกดิ จึงผลดั กนั มาอยู่เวรยามเฝ้ารกั ษา โดยครฑุ อารกั ขา ตอนกลางวัน นาคอารักขาตอนกลางคืน กุมภณั ฑ์แอบซมุ่ อยใู่ นสวนอุทยาน

ถืิ่่น� ฐานบ้า้ นสาวะถีี 81 สินไซเดินดง 9 ผนังหมายเลข 5 ด้านทิศใต้ สงั ข์ สนิ ไซ สโี ห และท้าวท้งั หกออกเดินทางตามอาสุมณฑา ต่อมาเมอ่ื เจริญวยั เป็นหน่มุ ทา้ วท้งั หกไดร้ บั มอบหมายจากพระราชบดิ าใหไ้ ปตาม อาสมุ ณฑาที่เมืองยกั ษ์ ทา้ วท้ังหกมาพบสนิ ไซและพวกทอี่ อกมาอยู่โดยบงั เอญิ เห็นวา่ มฤี ทธ์เิ ดชกล้าหาญ ส่วนพวกตนไมม่ ีวชิ าอาคม จงึ ออกอุบายอ้างวา่ เป็นคาำ สงั่ ของท้าวกุศราชใหส้ ินไซออกตามอาสมุ ณฑา สนิ ไซเช่อื และด้วยกตญั ญูต่อพ่อ ดว้ ย จงึ ออกตามอาสุมณฑาพรอ้ มดว้ ยสโี ห และสงั ข์ โดยใหท้ ้าวทัง้ หกรออยู่ ระหว่างทาง (9) “ภธู รท้าวเดนิ เฮวคราวเคร่ง ผนังฟหังมยาหยินเกลกขพา5เ่ีนลดอ้ ฮ้างน้อนทงศิำาฮใไวตทย้ ้หเสอียดงแ2ฉฮันงขลุย่ นางสุมเปณด็ ปฑอ่างชสม้าสมวเสนมออทุ ตยอ้ างนต่ิงคาำ ”

82 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ 1 ผนงั หมายเลข 5 ดา้ นทศิ ใต้ กมุ ภัณฑ์เหาะไปเมืองเป็งจาน (1) กมุ ภัณฑ์*เป็นพญายกั ษค์ รองเมอื งอโนราช แตย่ งั ไมม่ มี เหสีเคยี งกาย วันหนง่ึ จึงขนึ้ ไปเข้าเฝ้าพระยาเวสสุวรรณเพ่อื ไถ่ถามถึงเนื้อคู่ เมอื่ ทราบวา่ เนือ้ คู่ของตนไป เกดิ ยังโลกมนษุ ย์ เปน็ นอ้ งสาวพระยากุศราชแหง่ เมอื งเป็งจาน จึงเกิดความกระสนั อยากได้นางมาเป็นมเหสี โดยไมฟ่ ังคำาทดั ทานจากท้าวเวสสุวรรณว่าจะนาำ ความ เดือดรอ้ นมาให้ 3 ผนังหมายเลข 5 ด้านทศิ ใต้ “ยักษใ์ หญย่ า้ ยทะยานฮอดปุนเปือง กมุ เอานางพรากพลพลันได้ มันแสวงขึน้ เวหาปอมเมฆ อุ้มอ่อนแกว้ สะแคมตมุ้ ตอ่ มขวญั ” 10 ผนงั หมายเลข 6 ด้านทศิ ตะวนั ตก เมื่อเดินทางไปถงึ ด่านงูซวง(10)ได้ตอ่ สู้กับงซู วงและฆา่ งตู าย แลว้ เดนิ ทางตอ่ ไป โดยโดยมีสงั ขน์ ำาหน้าไปก่อนจนถึงห้วงน้ำาใหญ่ สนิ ไกซุมใภหัณ้สฑโี แ์หออบยซุ่มู่เปอยน็ ่ใู เนพสวอ่ื นนอหทุ ยกากนมุ าร ทฝ่ี ัง่ นาำ้

ถืิ่่น� ฐานบ้า้ นสาวะถีี 83 11 ผนังหมายเลข 6 ดา้ นทศิ ตะวนั ตก 12 สสิินินไไซซรรบบกกัับับยัยกั ักษ์ษ์กั์กันันดดานาน(Zวรรุณุณยยัักักษษ์)์ ์X สนิ ไซเดินทางข้ามแม่นาำ้ กวา้ ง ๑ โยชน์(11)ไปถงึ เขามหาวงศ์ และเขาล้านซง่ึ สูง มากจนพระอนิ ทร์ต้องมาช่วยพาขา้ มไป แลว้ เกดิ ต่อสู้กับวรณุ ยกั ษ์ สินไซฆา่ วรุณ ยกั ษ์ตาย(12) “ลายตกฮ้อนเปน็ ไฟทุกที่ ผนังหมปานื ยกเลภต็ ขูวัด5นขดาารา้ ดนถคทนอ่ิศา้ นใวตฟศ้ รันซแ้ำาหแง่2กหวัว่งทยะงิ ลาย นางสุมณซฑวางตชามยสเตว็มนหอวทุา่ งยดาอนยดูฮา้ ย” .................. (เดินทางพบงซู วง เปน็ งใู หญ่ลาำ ตัวยาว ตาแดงดังแสงอาทติ ย์ เวลาพน่ พิษรอ้ นดังไฟ สินไซจงึ เข้าต่อสู้โดยมสี โี หช่วย สดุ ท้ายก็สามารถฆ่างูซวงตาย)

84 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ ด่านพญาช้างฉทั ทนั ต์ 1 ผนงั หมายเลข 5 ดา้ นทศิ ใต้ กุมภณั ฑ์เหาะไปเมอื งเป็งจาน (1) กมุ ภัณฑ์*เปน็ พญายกั ษค์ รองเมอื งอโนราช แต่ยังไมม่ มี เหสเี คียงกาย วันหนึ่ง จึงขึน้ ไปเขา้ เฝา้ พระยาเวสสวุ รรณเพอ่ื ไถ่ถามถึงเน้อื คู่ เม่อื ทราบว่าเนื้อคู่ของตนไป เกิดยงั โลกมนษุ ย์ เปน็ น้องสาวพระยากศุ ราชแหง่ เมอื งเปง็ จาน จงึ เกดิ ความกระสัน อยากได้นางมาเปน็ มเหสี โดยไม่ฟังคำาทดั ทานจากท้าวเวสสวุ รรณวา่ จะนาำ ความ เดอื ดร้อนมาให้ 3 ผนงั หมายเลข 5 ดา้ นทศิ ใต้ เดนิ ทางไปถงึ ฝ่งั แมน่ ้ำาก“วผย้านักงกงั ษหุม๒์ใมเหาอยญโาเยนลย่ ขชาา้ ง7ยนพทด์(ร1้าะนา3ยกท)าศิพนเลหฮนพอือลดันปไนุ ด1เ้ป4อื ง ดา่ นพระยาช้างฉัททันต แ์ ลมะันบแรสิววางขรึน้ ชเวา้ หงานป้ีเฉอมพเามะฆรอย เทา้ ใหญ่เกิน 3 วา เกิดตออ่ ุม้ สอูก้ อ่ ันนแพกร้วะสยะแาชคมา้ งตยุม้ อตม่อมแขพว้ ัญส”ิน ไซจงึ ออกเดินทางต่อโดยมีช้างฉัททันต์และบรวิ ารตาม สง่ (14) กมุ ภณั ฑแ์ อบซมุ่ อย่ใู นสวนอุทยาน 13 ผนังหมายเลข 6 ด้านทิศตะวันตก

ถืิ่่�นฐานบ้้านสาวะถีี 85 ด่านยกั ษ์สีต่ น “หลงิ ดมู ารมาล้อมระวังดินดาแตก ภวู นารถทา้ วทวยกา้ งแกวง่ ธนู เสยี งแผดเพี้ยงฟา้ ล่นั ลงเหว มารมัวกระจดั ตมุ่ ตายตงมว้ ย” 16 ผนังหมายเลข 7 ดา้ นทิศเหนือ สนิ ไซข่ีสงั ข์ขา้ มแม่นำ้ากว้าง ๓ โยชน์ 2 (15) เดินตามรอยสังขไ์ผปนงัถหงึ มเาขยาเลมขา5ศดา้ นทิศใต้ เงินยวง นางสุมณฑาชมสวนอุทยาน รบกับยกั ษสี่ตน (16)และพรรคพวก จนยักษเ์ หล่านัน้ ตายหมด ผนงั หมายเลข 7 ดา้ นทิศเหนอื 15

86 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ ด่านดย่าักนษนข์ าณิ รีผล 1 ผนงั หมายเลข 5 ดา้ นทิศใต้ กมุ ภณั ฑ์เหาะไปเมืองเป็งจาน (1) กุมภณั ฑ์*เปน็ พญายกั ษ์ครองเมอื งอโนราช แตย่ งั ไม่มมี เหสีเคยี งกาย วนั หนง่ึ จงึ ขึ้นไปเข้าเฝ้าพระยาเวสสุวรรณเพ่ือไถ่ถามถึงเนอ้ื คู่ เม่ือทราบวา่ เน้อื คูข่ องตนไป เกิดยังโลกมนุษย์ เป็นน้องสาวพระยากศุ ราชแหง่ เมืองเป็งจาน จงึ เกิดความกระสัน อยากได้นางมาเปน็ มเหสี โดยไมฟ่ งั คาำ ทดั ทานจากทา้ วเวสสวุ รรณวา่ จะนาำ ความ เดอื ดรอ้ นมาให้ 3 ผนงั หมายเลข 5 ด้านทิศใต้ “ยกั ษ์ใหญย่ ้ายทะยานฮอดปุนเปอื ง 20 ผนังหมายเลข 7 ดา้ นทิศเหนอื กม1ุมนั 9เอแาสนวางขงพ้นึ ผรเวนาหงักหาพมปลาอยพเมลลเขนัม7ไฆด้านทศิ เหนอื ผนังหมายเลข 7 ดา้ นทศิ เหนือ 18 ผนังหมายเลข 7 ด้านทศิ เหนอื อุ้ม1อ7อ่ นแก้วสะแคมตมุ้ ตอ่ มขวญั ” อตเปย่อ็นา่มผงาไัวสมพสตฟนิ ล่ ยน้ินันไดซาไไคลยซมกอะา้ทข็ขพมีม่สี่า้ จญหมีผงั นลาขนลถอธ์ขเาำ้ งึปรกก้าแข็นลมวมา่อสน้าดน่ างำ้าหสาำ้วกกิน๔ลสววาไวซา้โ้ายยยงรงคหชูว้ รส่าน๕า้้งั ินเโก์(ปย1ไโลซน็ย7ชบั เชน)นชเไนขายม์ ง(์ส้าช่ต1ยแินมา9ักดไยน)ษซนแาสขจ์นตริน่สีงึ ีผาเ่ รไงักงลซบีขรยทเข์ไงกัดปาำกา้ ษินใมลหสทข์ไวั พ้่วดณิาจนญส้งงึ (ีนถ่วห1านาึงน8ธงตนร)ีไยปห้นายักงงึนักษยเาษกกัก์ ร์อดิ ษ็วีผยตงิ่์ไลาต่อมกาส่(2ไมกู้ ด0นั ้) คือ สนิ ไซ สามารถขา้ มได้ กมุ ภัณฑ์แอบซมุ่ อย่ใู นสวนอุทยาน

ถืิ่�่นฐานบ้้านสาวะถีี 87 ดา่ นนารผี ล ผนงั หมายเลข 7 ด้านทิศเหนอื 19 20 ผนังหมายเลข 7 ด้านทิศเหนอื สตน้ินไไซมท้ข่ีมี่สผีงั ขล์ขเปา้ น็ มสนาาำ้ วกนสวาวผา้งยนงสังหหุมสม้าณาินโยยไเฑซลชขาเนชช5ย์มด(ช้า1สนม9วทน)ศินาใสอตริน้ทุผี ไยลซาทเดนำา2นิใหท้พาญงถางึธตรหน้ ึงนเากริดผี ตลอ่ ส(2ูก้ 0นั ) คือ ฟันคอพญาธรขาดหลายครงั้ กลบั ไม่ตายแต่เกรงกลัวจงึ หนไี ป สนิ ไซ

88 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำปีี ๒๕๖๓ ดดา่ ่านนยยกั ักษษ์ออ์ ัสัสสสมมุขขุ ีี 1 ผนงั หมายเลข 5 ด้านทศิ ใต้ กุมภณั ฑ์เหาะไปเมอื งเป็งจาน (1) กุมภณั ฑ*์ เป็นพญายักษ์ครองเมืองอโนราช แตย่ งั ไม่มีมเหสเี คียงกาย วันหน่ึง จึงข้นึ ไปเข้าเฝ้าพระยาเวสสุวรรณเพือ่ ไถ่ถามถงึ เนอ้ื คู่ เมอื่ ทราบวา่ เน้อื คูข่ องตนไป เกิดยงั โลกมนษุ ย์ เป็นน้องสาวพระยากุศราชแห่งเมอื งเป็งจาน จึงเกิดความกระสนั อยากไดน้ างมาเป็นมเหสี โดยไมฟ่ งั คาำ ทัดทานจากท้าวเวสสุวรรณว่าจะนาำ ความ เดอื ดร้อนมาให้ 3 ผนงั หมายเลข 5 ดา้ นทิศใต้ “ยกั ษใ์ หญย่ า้ ยทะยานฮอดปนุ เปือง กุมเอานางพรากพลพลนั ได้ มนั แสวงข้ึนเวหาปอมเมฆ อ้มุ อ่อนแก้วสะแคมตุ้มต่อมขวญั ” 2200 ผผนนังงัหหมมาายยเลเลขข77ดดา้ า้ นนททศิ ศิ เเหหนนอื เมเมอ่ื อ่ื ขข้า้ามมหหว้ ้วงงนนาำ้ ้าำ ๖๖ โโยยชชนก็พบอัสสมขุ ียกั ษ(์ ยักษม์ ีหนา้ เหมืออนนมม้า้า))((2200))พพออเเจจออสสินิน รไซไรบี ซีบกตกต็ตา็ตารมรมงหงเหขเาขาา้อา้ออาอาุ้มมุ้ สเสเหินหินาไาไซะซะจเจเพพงึ ึงใือ่ใ่ือชชจ้ดะาเบอาตไัดปคเอปน็นาผงวั ยักสษนิ ์ตไาซยบอกกุมใหภัณป้ ฑล์แ่ออยบยกซกุม่็ไ็ไมอมย่เ่เปใู่ ปนน็ สน็ วผผนลลอุทดดย้วาว้ ยนยตตอ้ ้องง

ถืิ่�น่ ฐานบ้้านสาวะถีี 89 จากกนัน้้�นั้ ขขึ้�น้ึ เขาเวระบาด เขข้้าแดนดอก กกัลั ปพฤกษษ์์ (กาละพฤกษษ์์) ทที่�พ่ี ระออินิ ททรร์์ เนรมมิติ ไวว้้ คนมมีีบบุญุ จจึึงึ จะเหห็น็ ในดออกกนัน้้น�้ั มีี ผมีีเสผื้อ�้เี สอ้อื าอภารภณ์รส์ณว์สยวๆยงๆางมาๆมๆดัังดเงัคเรคื่อ�รงื่อทงรทงรง เทวดา สสินิ ไซจจึึงึ ผผลลัดั เปลลี่�่ยี นใหหมม่่ แลล้ว้ เดดิิน ทางต่อ่ 2ท1างตผอ่ นังหมายเลข 7 ด้านทศิ เหนือ ดา่ นนางกินรี “พระบาททา้ วฮักฮปู เกยี งคำา สองซมสองซา่ งออยอาำ อิ้ง ดดู งั อันประสงคไ์ ดโ้ ดยคะนิงลุลาภ แก้วแกน่ ไท้ซมซ้อนอ่มิ เสนห่ ์” ผนงั หมายเลข 7 ดา้ นทศิ เหนอื 22 หเทลพงั จกาินกรสีพนิ รไอ้ ซมผบลรัดวิ เาปนรลาอผ่ียงนีกนสงั หุมเ๕มสณ๐า้อื ย๐ผเฑล้าขากอช5าำามดลภ้าสงันรลวทณงิศนเใใ์ อลตห้ทุ่นมยน่แา้ำาลนว้2สจินึงเไดซินเขท้าาเงกต้ีย่อวพพาบรนาสาีจงเนกไยีดง้นคาำาง เกียงคาำ มาเป็นเมยี พรอ้ มทง้ั บริวารทั้ง ๕๐๐ อยู่กับนางเกียงคาำ ๗ วนั จงึ เดนิ ทางต่อ (22)

90 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ 1 ผนงั หมายเลข 5 ดา้ นทิศใต้ กมุ ภณั ฑ์เหาะไปเมอื งเปง็ จาน (1) กมุ ภัณฑ์*เปน็ พญายกั ษค์ รองเมืองอโนราช แตย่ งั ไม่มีมเหสีเคียงกาย วันหนึ่ง จึงขึน้ ไปเขา้ เฝ้าพระยาเวสสวุ รรณเพือ่ ไถ่ถามถึงเนอ้ื คู่ เม่ือทราบวา่ เนอ้ื คู่ของตนไป เกดิ ยงั โลกมนุษย์ เป็นนอ้ งสาวพระยากุศราชแหง่ เมอื งเปง็ จาน จึงเกดิ ความกระสนั อยากได้นางมาเป็นมเหสี โดยไม่ฟงั คำาทดั ทานจากท้าวเวสสวุ รรณว่าจะนำาความ เดอื ดรอ้ นมาให้ 3 ผนังหมายเลข 5 ดา้ นทิศใต้ “ยักษ์ใหญ่ย้ายทะยานฮอดปุนเปอื ง กุมเอานางพรากพลพลันได้ ผนงั หมายเลขม12ันดแา้ สนวทงศิ ขต้ึนะวเวันหออากปอ2ม3เมฆ สนิ ไซข่ีสังขข์ ้ามน้ำากว้าง ๗ โยชน์ (23) เปน็ เวลาสอองุ้มวอนั ่อจนึงแถกงึ้วฝสงั่ะแสคังมขต์เมุ้ดตินอ่ ทมาขงวลัญ่ว”ง หนา้ ไปดูลู่ทางกอ่ น ขณะท่ีสนิ ไซพักผ่อนได้ฝนั ไปว่า มีลมพัดจนทาำ ใหน้ า้ำ ทว่ มโลก สงู ถึงเขาพระสเุ มรุ แลว้ ตนเองทรงธนูฆา่ ยักษไ์ ดน้ ับลา้ น สีหราชรอ้ งกอ้ งโลก อีกทง้ั พระอนิ ทรก์ ป็ ระทานมนตใ์ ห้ ส่วนสังข์กข็ า้ มไปท่วั จกั รวาลเพื่อพทิ กั ษ์โลก นอกจาก นน้ั ยงั ฝนั อกี วา่ นาคขอมาถวายเปน็ แท่น ใหส้ ินไซปรกะมุ ภทัณบั ฑ์แพออบดซุ่มีเชอา้ยใู่สนนิ สวไซนอกุท็สยะานดุ้งตนื่

ถืิ่น่� ฐานบ้า้ นสาวะถีี 91 ดา่ นยั กษก์ มุ ภั ณฑ์ (เมืองยกั ษ์อโนราช) ผนังหมายเลข 10 ดา้ นทศิ ตะวันออก 24 กล่าวถึงเมืองอโนราช(24) ฝา่ ยกุมภณั ฑ์นอนหลบั ด้วยท่าทางน่าเกลยี ดผิดธรรมดา แสดงถึงลางร้าย พระนางสุมณฑาจึงห้ามไมใ่ ห้กมุ ภณั ฑ์ออกปา่ แตก่ ุมภณั ฑ์ไม่ ยอมเชื่อ ขณะเดินป่ากเ็ กิดหูตามืดมวั ลง ฝ่ายสนิ ไซเมื่อเหน็ วา่ ยกั ษ์กมุ ภณั ฑ์ไปแลว้ จงึ เข้าไปหาพระนางสมุ ณฑาแสดงให้นางรู้ว่าเปน็ หลาน แลว้ ชวนแกมบังคบั ให้ พระนางนน้ั กลบั คืนสเู่ มืองเป็งจาล แต่ด้วยยงั อาลัยในกุมภัณฑ์นางจงึ ขอลำ่าลาสามี กอ่ น เมอ่ื จวนถึงเวลาที่ยกั ษ์กุมภณั ฑ์จะกลับมา นางจงึ ซ่อนสนิ ไซและสังข์ไวใ้ นกอง ดอกไม้แหง้ ครนั้ ยกั ษผน์กังมุ หมภาณั ยเลฑข์ม5าดถ้าึงนไทดิศ้กใตล้ ่ินมน2ษุ ย์จึงถามพระนางสุมณฑา นางก็ แสร้งทำาโกรธ พระนยางกสุมุมภณั ฑจ์าชึงปมลสอวบนปอรทุ ะยโาลนมนางแล้วหลบั ไป สินไซได้โอกาสก็ บงั คบั นางให้ออกเดนิ ทาง แตน่ างรกั ทา้ วกุมภัณฑ์มากไมใ่ ครจ่ ะไป เฝ้าแต่กลับมาหา สามถี ึงสามครัง้ คร้งั แรกอา้ งว่ามาเอาสไบ ครง้ั ท่สี องอ้างวา่ ลืมปนิ่ ครัง้ สุดทา้ ยอ้างวา่ มาเอาซอ้ ง จนในทสี่ ดุ สนิ ไซตอ้ งใช้วิธีขู่นางถงึ ไปดว้ ย

92 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำำปีี ๒๕๖๓ 12255 ผนงั หมายเลข 5 ด้านทศิ ใต้ กมุ ภณั ฑเ์ หาะไปเมอื งเป็งจาน ผผนนงั ังหหมมาายยเเลลขข1100ดด้า้านนททศิ ิศตตะะววันันออออกก (เ1ม)่ืออกอมุ กภเเัณดดินินฑทท์*าเาปงงไน็ไปปพจจญนนถาถยึงงึ เกัเขขษาาลค์ ล้าร้านอนงเมไไดือด้เงเ้ขอขา้ โา้ นราช แตย่ ังไม่มมี เหสเี คียงกาย วนั หนง่ึ จพงึ กัขท้นึ ี่ถไปำ้าแเแขออา้ ่นน่เฝทท้าพี่ ีพ่ พรรระะะออยนิ นิ าททเวรรจ์ส์จดัสัดเวุเตตรรรียียณมมทเทพีไ่ ี่ไวือวใ้ไใ้หถห้ถ่ ้ ามถึงเนอื้ คู่ เมือ่ ทราบว่าเน้อื คู่ของตนไป เกดิ ยังโลกมนุษย์ เปน็ น้องสาวพระยากศุ ราชแหง่ เมอื งเปง็ จาน จงึ เกดิ ความกระสัน อสยินาไกซไปดดิ ้นปปาางากมกถาถาำ้เา้ำ ปขข็นงั งั พมพรเรหะะนสนีาางงสสมุโุมดณณยฑฑไมาาเ่ฟเออังาาคไไวำาว้ท้ ัดทานจากท้าวเวสสุวรรณวา่ จะนำาความ เสดินือดไซร้อกนลลมับับาไไใปปหร้รบบกกับับยยักักษษ์ก์กุมุมภภัณัณฑฑ์(์(2255)) จก3ุนมภพัณรผะฑนฑยยงั์ก์กหาาลมลยยาับัับกยักเกษลกษขล์ลถ์ถ5าาึงึงดยยกกา้ เนเับปับปทค็นศิค็นใอเอตเจจข้ ข็ด็ดาารดรด่า่างงรร่าฟ่าฟงงันขันขออออีกงีกง ออนนุยยุ ทุ ุทธธกกรรรรมม กลับกลายยเเปป็นน็ สส่สี ่สี ิบิบเเกก้าา้ รรา่ ่างง ฆฆ่า่าออีกีกกกลลาายย เป็นสามรรอ้ อ้ ยยรรา่ ่างง พพววกกยยกั ักษษ์มม์ าาสสมมททบบออีกีก “ยกั ษ์ใหญ่ยา้ ยทะยานฮอดปนุ เปอื ง ย่ิงฆ่าจำานนววนนกกย็ ็ย่งิ ่ิงเเพพมิ่ ่มิ ททววคี คี ณู ูณ กุมเอานางพรากพลพลันได้ มันแสวงขน้ึ เวหาปอมเมฆ อุม้ อ่อนแก้วสะแคมตมุ้ ต่อมขวญั ” กุมภัณฑ์แอบซุ่มอยู่ในสวนอทุ ยาน

ถืิ่่�นฐานบ้้านสาวะถีี 93 2266 ผผนนังังหหมมาายยเเลลขข33ดดา้ า้ นนททศิ ิศใใตต้ ้ ขณะทีย่ กั ษ์กมุ ภณั ฑ์กลับไปเกณฑ์พวกมาช่วยรบ สนิ ไซกกบั บั สสังังขขก์ ก์ ลลับับมมาาพพาาออาาออออกก เดนิ ทางตอ่ ไปจนถงึ วไิ ชยยนต์ทพ่ี ระอินทร์เนรมติ ใหพ้ ัก (2266)) สินไซแผลงศรไปเรียกสีโหให้มาช่วย แต่สีโหเห็นว่าเป็นเเพพียียงงททัพัพเเสสนนาาตต่ำา่ำาตต้อ้อยยไไมม่ ่ จำาเปน็ ทีต่ นจักต้องมาชผนว่ งัยหจมงึายกเลลขบั 5ไปด้านทิศใต้ 2 ในการรบมีการแสดงนฤาทงธส์เิมุ ดณชตฑ่าางชๆมสสวินนไซอสุทายมาานรถฆา่ แม่ททัพพั หหลลาายยตตนนมมีไีไววยยกุ กุ ันัน ไคสี เพ็ชไค เหลอื แต่ไวยุเวท ผเู้ ปน็ หลานของกุมภัณฑ์ไดดพ้ ้พาากกอองงททัพพั กกลลบั บั เเขขา้ ้าเเมมอื ืองง อโนราช


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook