บทความวิชาการ วิถชี วี ิตทีซ่ ่อนอยู่ ผู้จดั ทำ นำยศตวรรษ นำคศรสี ขุ รหัสนักศกึ ษำ 617220016-4 รำยวชิ ำ กำรวจิ ัยทำงวฒั นธรรม ศิลปกรรมและกำรออกแบบขนั้ สูง รหสั รำยวิชำ 890911 รำยงำนนเ้ี ป็นสว่ นหนง่ึ ในกำรศึกษำระดับปรญิ ญำเอก สำขำวชิ ำวัฒนธรรม ศลิ ปกรรมและกำรออกแบบ 2.1 ภำคพเิ ศษ คณะศลิ ปกรรมศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยขอนแกน่
คานา ควำมยำกจนที่เกิดกับคนชนบทในแต่ละภำคน้ัน คนชนบทได้มีกำรช่วยเหลืองตนเองให้อยู่รอด ด้วยกำรหำรำยได้มำจุนเจือครอบครัว โดยกำรโยกย้ำยออกจำกท้องถ่ิน มำรับจ้ำงทำงำนในเขตที่มีควำม เจริญ เช่น ในเขตเกษตรก้ำวหน้ำ โดยกำรรับจ้ำงทำงำนในไร่นำ ในปัจจุบันประเพณีด้ังเดิมของคนชนบท ท่ีให้ควำมช่วยเหลือซึ่งกันและกนั ในกำรดำนำ และเกี่ยวข้ำว ท่ีเรียกกันว่ำ \"ลงแขก\" คือ เพื่อบ้ำนช่วยกัน ทำงำนในไร่นำซ่ึงกันและกัน เพื่อให้งำนเสร็จทันเวลำ โดยไม่คิดค่ำจ้ำงแต่อย่ำงใดนั้น ได้เลิกไปแล้วเกือบ ท้ังหมด เน่ืองจำกปัจจุบันวิถีกำรดำเนินชีวิตต้องอำศัยเงินมำกข้ึน จึงต้องทำโดยกำรรับจ้ำง ส่วนบำงคนก็ เข้ำสู่ตวั เมอื ง แล้วทำงำนในโรงงำนอตุ สำหกรรม เช่น ทอผำ้ ผลติ อำหำรกระปอ๋ ง หรือกำรรบั จำ้ งท่วั ไป ใน ร้ำนอำหำร ภัตตำคำร บ้ำน ที่อยู่อำศัย หรือเป็นกรรมกรแบกหำม ขับรถรับจ้ำง ฯลฯ คนชนบทจึงเข้ำ ปะปนกับคนเมือง วิถีชีวิตของคนชนบทก็ค่อยๆ เปล่ียนไป ตำมสภำพสิ่งแวดล้อมของเมือง ดำเนินชีวิต แบบคนเมือง เช่น ฟังวิทยุ และมีกำรคมนำคมขนส่งท่ีทันสมยั มำกข้ึน กำรกินอยู่ ก็ได้กินอำหำรที่มีคุณคำ่ มำกขึ้น เครื่องใช้ เช่น พัดลม และวิทยุ เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเขำมำกข้นึ ควำมนิยมในเพลงลูกทุ่ง เริ่มเขำ้ แทนที่กำรละเลน่ พื้นบำ้ น นำยศตวรรษ นำคศรสี ุข
วิถชี วี ติ ที่ซอ่ นอยู่ บทความวชิ าการ นาย นายศตวรรษ นาคศรสี ขุ สาขาวฒั นธรรมศิลปกรรมและการออกแบบ คณะศลิ ปกรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ หลวงพระบำง เป็นเมืองหลวงเอกของ สปป. ลำว (สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำว) อยู่ ทำงภำคเหนือ ท้ังยังเป็นเมืองเก่ำในอำณำจักรล้ำนช้ำงซ่ึงเดิมมีชื่อว่ำเมืองซวำ (ออกเสียงว่ำ ซัว) ในปี พ.ศ. 1300 ขุนลอ ปฐมกษัตริย์ลำวได้ทรงแต่งต้ังให้เมืองซวำเป็นรำชธำนีของอำณำจักรล้ำนช้ำง หลังจำกนั้นได้เปล่ียนช่ือใหม่เป็นเมืองเชียงทอง โดยต่อมำพระโพธิสำรรำชเจ้ำพระองค์ได้ทรงอำรำธนำ พระบำงจำกเมอื งเวยี งคำขึ้นมำประดิษฐำนท่ีเมืองเชียงทองจำกน้ันจงึ เรียกเมืองหลวงพระบำงตั้งแต่บัดนั้น เป็นต้นมำ ด้วยลักษณะทำงวัฒนธรรมและภูมิประเทศแล้วน้ันคล้ำยกับจังหวัดน่ำนของไทยจึงมีกำร สถำปนำควำมสัมพันธ์ว่ำเป็นเมืองพ่ีน้องหรือเมืองคู่แฝดกับหลวงพระบำงสืบมำ ปัจจุบันหลวงพระบำงมี ประชำกรประมำณ 430,000 คน โดยร้อยละ 40 เป็นลำวมุ่ม ร้อยละ 46 เป็นลำวเทิง และร้อยละ 14 เป็นลำวสูง ด้วยควำมท่ีหลวงพระบำงเป็นเมืองที่มีประวัติอันยำวนำนและเป็นเมืองหลวงเก่ำสมัย อำณำจักรล้ำนช้ำง ทำให้หลวงพระบำงเป็นศูนย์รวมควำมเจริญในภำคเหนือของประเทศลำวในทุกด้ำน ได้แก่ กำรเป็นศูนย์กลำงทำงกำรศึกษำทำงภำคเหนือของ สปป. ลำว มีมหำวิทยำลัยแห่งชำติสุพำนุวง วทิ ยำลยั กฎหมำยภำคเหนือ วทิ ยำลยั เงนิ -กำรธนำคำรภำคเหนือ โรงเรียนแพทย์และพยำบำล วทิ ยำลยั ครู วิทยำลยั สำรพดั ชำ่ ง ซึ่งล้วนแตต่ ง้ั อย่ใู นหลวงพระบำงทง้ั สน้ิ ทั้งยังเป็นเมืองศูนย์กลำงทำงกำรคมนำคมและขนส่งท่ีสำคัญทำงภำคเหนือของลำวทำให้มีกำร เช่ือมโยงด้ำนกำรท่องเที่ยวกับจังหวัดน่ำนของไทยทั้งทำงบก ทำงน้ำ และทำงอำกำศ ยิ่งไปกว่ำน้ันหลวง พระบำงยังเป็นเมืองหลวงเก่ำท่ีอุดมไปด้วยเรื่องรำวทำงวัติศำสตร์อันลุ่มลึก เมื่อได้เข้ำไปที่หลวงพระบำง จะพบวัด วัง และสถำปัตยกรรมท่ีงดงำม อีกทั้งมีประเพณี ควำมเชื่อ และควำมผูกพันในพระพุทธศำสนำ ของคนเมืองนี้ที่ยังมีเร่ือยมำจนถึงปัจจุบันซึ่งควำมเป็นจริงนี้คือควำมประทับใจของผู้ที่เข้ำมำเย่ียมเยือน เมืองนี้นั่นเอง ทำให้เมืองหลวงพระบำงเป็นจุดหมำยหนึ่งของนักเดินทำงหลำยๆ คนต่ำงบอกกันว่ำเป็น เมืองในอุดมคติ เป็นโลกอีกด้ำนหนึ่งมีควำมเคลื่อนไปอย่ำงช้ำๆ จนมีอำกำร “หลงวัน ลืมคืน” จนถึงข้ัน “หลงรัก” เลยทีเดียว จนกระทั่งปี พ.ศ. 2538 องค์กำรยูเนสโก (UNESCO) ได้ประกำศให้หลวงพระบำง เป็นเมอื งมรดกโลกดำ้ นกำรอนรุ ักษ์โบรำณสถำนและเป็นศูนย์กลำงวฒั นธรรมและประเพณขี อง สปป. ลำว นับวำ่ เปน็ ปัจจัยหนึง่ ท่ืดงึ ดูดนักท่องเท่ียวเขำ้ มำในหลวงพระบำงอย่ำงต่อเนื่อง ในชว่ งปี พ.ศ. 2548-2553 มีนักท่องเที่ยวต่ำงชำติเดินทำงเข้ำมำท่ีหลวงพระบำงมำกกว่ำ 1 ล้ำนคน นับเป็นกำรสรำ้ งรำยได้ให้ สปป. ลำว ถึง 296 ล้ำนดอลลำร์สหรัฐ ย่ิงไปกว่ำน้ันสถำปัตยกรรมท่ีนับว่ำโดดเด่นไม่แพ้วัดและวังก็คือ บ้ำน เรือนสล์โคโลเนียลอันเป็นเอกลักษณ์ตัวเมืองตั้งอยู่ริมน้ำโขงและน้ำคำนท่ีไหลบรรจบกับท่ำมกลำง ธรรมชำตอิ ันงดงำมอีกด้วย ด้วยเหตุน้ที ำใหธ้ ุรกิจกำรท่องเที่ยวของ สปป. ลำว โดยเฉพำะอยำ่ งยงิ่ ในหลวง พระบำงจงึ มีมำกข้ึนตำมลำดบั เช่น ธุรกิจเก่ยี วขอ้ งกับกำรทอ่ งเท่ียว และกำรบริกำรเกดิ ข้นึ มำกมำย ไมว่ ่ำ
จะเปน็ โรงแรม รีสอรท์ เฮอื นทพี่ ัก ร้ำนอำหำร อนิ เตอรเ์ น็ทคำเฟ เป็นตน้ เพ่อื เปน็ กำรตอ้ นรบั นักทอ่ งเที่ยว จำกท่ัวโลกนัน่ เอง จำกกำรทีห่ ลวงพระบำงได้เป็นเมืองมรดกโลก สปป. ลำว เนือ่ งจำกเป็นเมอื งท่ีมี “เอกลักษณ์ทำง สถำปัตยกรรมและประเพณีวัฒนธรรมท่ีโดดเด่น” ท้ัง 5 ด้ำน ได้แก่ ประวัติศำสตร์ท้องถ่ินหลวงพระบำง วัฒนธรรมในเขตหลวงพระบำงท่ีสืบทอดกันมำต้ังแต่อดีตคร้ังสมัยเป็นเมืองซวำ พ้ืนท่ีกำยภำพ สถำปตั ยกรรมทำงศำสนำ สำนักงำน บำ้ นเรือนในเขตตวั เมืองท่ีมีคนอยอู่ ำศัย รวมถงึ ศำสนำและชีวิตควำม เป็นอยู่ของชำวหลวงพระบำง คณะกรรมกำรเมืองมรดกโลกแห่งสหประชำชำติได้กล่ำวโดยสรุปใน คำ ประกำศ ควำมว่ำ หลวงพระบำงเป็นกรณีของควำมยั่งยืนแห่งวัฒนธรรมอันเก่ำแก่ที่ยังไม่ถูกทำลำยใน ปจั จบุ นั เป็นควำมสำเร็จแห่งกำรหล่อหลอมรวมวฒั นธรรม ประเพณี สถำปัตยกรรม โครงสรำ้ งของชุมชน และอิทธิพลของอำณำนคิ มยโุ รปในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19-20 ลกั ษณะเฉพำะของภูมทิ ัศนข์ องเมอื งหลวงพระ บำงบ่งบอกถึงภำพวำดแห่งข้ันตอนสำคัญของกำรผสมผสำนกันอย่ำงลงตัวของทั้งสองวัฒนธรรม (ศุภชัย สงิ ห์ยะบุศย์ 2552) สำยน้ำทั้งสอง รวมทั้งแนวทิวเขำท่ีแวดล้อมเมืองหลวงพระบำง อย่ำงไรก็ดี นองเขตปริมณฑล ของพื้นท่ีรำบ ยังมีสำยน้ำขนำดกลำงอกี สองสำย ไหลทอดยำวจำกต่ำงพื้นที่มำบรรจบกับแม่น้ำโขง ส่งผล ให้พื้นท่ีรำบและตำแหน่งท่ีตั้งของเมืองกลำยเป็นดินแดนที่เหมำะสมที่จะตั้งถ่ินฐำนของมนุษย์ และยัง กลำยเป็นจุดศูนย์กลำงของกำรคมนำคมทำงน้ำ ซ่ึงทำให้ดินแดนแห่งนี้มีควำมหน้ำหลงใหลในมนต์เสน่ห์ ของธรรมชำติ ดินแดนทม่ี ีมนตเ์ สนห่ ์น่ำหลงใหล ธรรมชำติที่สวยงำมศิลปวัฒนธรรมท่บี งบอกถงึ ตวั ตนของตนเอง จนได้รับกำรขนำนนำมว่ำ รำชธำนีแห่งควำมทรงจำ คือเมืองหลวงพระบำง แห่งรำชอำณำจักรล้ำนช้ำง (ศภุ ชยั สงิ หย์ ะบศุ ย,์ 2553) หลวงพระบำง นครแห่งพระบำง เปน็ เมอื งทต่ี ั้งอยใู่ นสถำนท่ีท่ีมีชัยภูมิท่พี ิสดำร แต่ยุคดึกดำบรรพ์ เป็นบ่อนมำคบ(บรรจบ)ของปำกน้ำคำนไหลป่องใส่ของ(แม่น้ำโขง)เปรียบเสมือนเป็น กำแพงวงั น้ำท่ีปกป้องเมอื งใหป้ ลอดภยั (คณะกรรมกำรแหง่ ชำติลำว,ม.ป.ป.:12) อดีตของเมืองหลวงพระบำง ตำแหน่งที่ต้ังเมืองเป็นพื้นที่ ท่ีมีควำมสำคัญด้ำนเศรษฐกิจ เป็น เส้นทำงคมนำคมสำคัญระดับภูมิภำค ท่ีสำมำรถเชื่อมต่อระหว่ำงยูนำน เวียดนำมตอนเหนือ และกับเมือง ต่ำงๆตำมชำยฝั่งทะเลอันดำมันร่วมถึงอ่ำวไทย (วิทย์ บัณฑิตกุล,2555) ในขณะเดียวกันนั้นจีนกับอินเดีย ซึ่งเป็นสองรัฐที่มีอำนำจในทวีปเอเชีย ได้มีนิติสัมพันธ์ติดต่อค้ำขำยต่อกัน เส้นทำงกำรค้ำขำยบำงสำยได้ ผ่ำนเมอื หลวงพระบำงเพ่อื ลงไปยงั ทะเลอันดำมนั เมืองหลวงพระบำงและเขตใกลเ้ คียง เปน็ แหลง่ ผลิตของ สินค้ำสำคัญหลำยประเภทเช่น โลหะมีค่ำ สัตว์ป่ำ ไม้ป่ำ และเครื่องเทศ ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 18-21จึง ทำใหเ้ มอื งหลวงพระบำงเปน็ รฐั กึ่งเมอื งท่ำด้วยเหตุน้ี (โยชิยูกิ มำซฮู ำรำ,2546)และเมอื งหลวงพระบำงรำช ธำนขี องรำชอำณำจกั รลำว ในอดีต ตกอยู่ใต้กำรปกครองของเจ้ำอำณำนคิ มฝร่งั เศสต้ังแต่ พ.ศ. 2436 เป็น ต้นมำ เมืองหลวงพระบำงได้ถูกกำหนดให้เป็นเขตในอำรักขำทำงตอนเหนือ ซึ่งหมำยถึงเขตกำรปกครอง โดยออ้ ม ขณะทีท่ ำงตอนกลำงและตอนใต้จะถูกปกครองในฐำนะอำณำนคิ มโดยตรง และในปี พ.ศ. 2442( แพทรีเชีย ชีสแมน,2536)หลวงพระบำงได้ถูกปกครองเป็นหน่วยกำรปกครองเดียวกันกับอำณำนิคมส่วน อ่ืนๆของฝรั่งเศส แต่กระนั้นฝรั่งเศสก็ยังคงควำมเป็น “รำชครน” หรือเมืองที่ประทับของเจ้ำมหำชีวิต หลวงพระบำงซ่ึงถูกยกระดับให้เป็นกษัตริย์แห่งรำชอำณำจักรลำวท้ังประเทศ กำรเปลี่ยนแปลงกำร
ปกครองแบบสังคมนิยมได้ถูกนำไปกำหนดและจำแนกศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และแนวทำงกำร ประพฤติปฏิบัติของกลุ่มคนที่เป็นเจ้ำหน้ำท่ีรัฐ ซ่ึงในช่วงเวลำดังกล่ำว เมืองหลวงพระบำงเป็นช่วงเวลำท่ี ปะทะและประสำนกับโลกทัศน์ของคนท้องถ่ินกบั คนตะวันตก ท่ถี กู นำเข้ำมำโดยเจำ้ อำณำนิคม บำ้ นเมือง ถกู ทำลำยจำกโจรฮอ่ และเมอื่ ฝรั่งเศสเข้ำมำเป็นเจำ้ อำณำนิคม จึงได้มีกำรปรับปรงุ และเปล่ียนแปลงพ้ืนที่ หลวงพระบำง ซึ่งส่งผลต่อภำพรวมของเมืองหลวงพระบำง และในคณะเดียวกันในสมัยเจ้ำมหำชีวิตศรี สว่ำงวงศ์กับศรีสว่ำงวัฒนำได้มีกำรปรับปรุงและพัฒนำงำนช่ำงศิลปะแห่รำชสำนักหลวงพระบำงทุกสำขำ จนตกทอดเปน็ มรดก ให้กับเมืองหลวงพระบำงในระยะต่อมำ (ศภุ ชยั สิงหย์ ะบุศย,์ 2553) เมืองหลวงพระบำงไม่ได้มีดีแค่สถำนที่ทำงศำสนำเพียงเท่ำนั้น แต่ยังมีวิถีชีวิตท่ีเป็นเอกลักษณ์ ของชำวลำวตำมหมบู่ ้ำนต่ำงๆ ให้นักท่องเท่ียวได้เข้ำไปเย่ียมเยียนและอุดหนุนสินค้ำชำวบ้ำนท่ีสะท้อนถงึ วิถีชีวิตท่ีถูกสั่งสมจนกลำยมำเป็นสินค้ำน่ำซ้ือไว้เป็นที่ระลึก “หมู่บ้ำนช่ำงไห” เป็นหมู่บ้ำนที่อยู่ติดริม แม่น้ำโขง จุดเด่นคือ เป็นหมู่บ้ำนมีช่ือเสียงในกำรต้มเหล้ำเป็นเหล้ำพ้ืนเมอื ง หรือเหล้ำขำวอย่ำงที่เรำรจู้ ัก กันดี อำจจะเรียกอีกอย่ำงว่ำ สำโท ก็ได้ ซ่ึงมีสองสี คือ สีขำวรสด้ังเดิมและสีชมพู รสชำติออกหวำน นอกจำกนี้ ยังมีกำรนำเหล้ำมำดองกับสัตว์ชนิดต่ำงๆ เพ่ือเป็นเครื่องดื่มชูกำลัง เช่น ดองงู ดองตะขำบ ดองแมงป่อง นอกจำกน้ี ยังมีผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น ผ้ำทอ เคร่ืองแก้ว เคร่ืองเงิน ส่วนอีกหน่ึงหมู่บ้ำนที่มี ชื่อเสียงในเรื่องของกำรทอผ้ำคือ “บ้ำนผำนม” ด้วยหัตถกรรมท่ีมีควำมประณีต สวยงำม นักท่องเที่ยว มักจะเขำ้ ไปเลือกซื้อผำ้ ทอ แม่น้ำสำยสำคัญ เมอื งหลวงพระบำง www.louangbrabang.net ลำวเป็นวัฒนธรรมทลี่ ะเอยี ดอ่อนเพรำะวำ่ เป็นวัฒนธรรมที่มีกำรผสมผสำนแบบผี พรำหมณ์ พุทธ มำนำนแล้ว คือเป็นวัฒนธรรมอันเก่ำแก่ท่ีผสมผสำนกันระหว่ำงควำมเชื่อดั้งเดิมและวัฒนธรรมอินเดียที่ เข้ำมำตำมหลัง เช่น ฮินดู และพุทธศำสนำ เพรำะท่ีต้ังของลำวเป็นเส้นทำงของกระแสวัฒนธรรมที่ ประสำนกัน สุเนตร โพธิสำร (2549) ชำติลำวเป็นชนชำติที่เก่ำแก่ชำติหนึ่งท่ีประกอบไปด้วยหลำยกลุ่ม ชำติพันธ์ อำศัยอยู่ดินแดนท่ียิ่งใหญ่ที่เรียกว่ำ อำรยะธรรมลุ่มน้ำโขง ซึ่งมีวัฒนธรรม ที่สืบต่อกันมำ
ยำวนำน ทั่งในด้ำน ภำษำ สถำปัตยกรรม กำรดำรงชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม หุมพัน รัตนวงศ์ (2550) หลวงพระบำง เริ่มได้รับควำมนิยมในหมู่นักท่องเท่ียวชำวไทยจำกภำพยนตร์เรื่อง สบำยดีหลวง พระบำง เป็นเมืองที่เงียบสงบ ใครๆ ก็อยำกมำสโลไลฟ์ เสนห์อย่ำงหน่ึงของเมืองนี้คือ ยังคงรักษำ เอกลักษณท์ ำงสถำปัตยกรรม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณดี ง้ั เดิม ไวอ้ ยำ่ งดเี สมอมำ สถำนท่ีท่องเทีย่ วมำกกมำยในเมอื งหลวงพระบำงผคู้ นหลงใหลในสถำนท่ีควำมสวยงำมในเมืองแต่ ทัดไปจำกตัวเมืองสถำนท่ีท่องเที่ยวเพียงไม่ก่ีกิโลเมตรเรำจะเริมเห็นวิถีและควำมเป็นเมืองหลวงพระบำง จริงๆเดินทำงออกจำกตัวเมืองจะได้พบเห็นสิ่งท่ีหลำยคนไม่คิดว่ำเมืองท่ีสวยงำมดูเจริญจะมีชีวิตของชำว ลำวท่ีรถขนำดใหญ่ไม่สำมำรถขำ้ มไปยงั หมบู่ ำ้ นไกล้ๆได้เลย ผู้คนต้องอำศัยเรือในกำรเดินทำงเป็นส่วนใหญ่เพ่ือท่ีจะออกไปจับจ่ำยใช้สอยภำยในหมู่บ้ำน อำชีพหลักของชำวหลวงพระบำงคือ เกษตรกร รวมถึงประมงและป้ำไม้ รองลงมำคือ งำมบริกำรละ งำนอุตสำหกรรม ตำมลำดับ ซ่ึงอำชีพต่ำงๆมีผลต่อธุรกิจของลำวมำอย่ำงยำวนำน อีกทั้งลำวยังมีควำม อุดมสมบูรณ์ของทรัพยำกรทำงธรรมชำติ คนหลวงพระบำงใช้ชีวิตแบบพออยู่พอกิน ทำไร่ ทำนำ เล้ียง
สัตว์ และกำรล่ำสัตว์ก็เป็นอีกอำชีพที่ชำวหลวงพระบำง เต็มไปด้วย แม่น้ำ คลองบึง รวมถึงสภำพภูมิ ประเทศท่เี หมำะกบั กำรเกษตรกรรม ทำไร่ทำนำ ปลกู ขำ้ ว ไดผ้ ลผลิตตำมฤดกู ำล จำกวิถีชีวิตดังกล่ำวทำให้ผู้คนนักท่องเท่ียวท่ีมำเย่ียมชมควำมสวยงำมของตัวเมืองลืมนึกไปว่ำวถิ ี ชีวิตจริงๆของชำวหลวงพระบำงท่ีซ่อนอยู่ กำรใช้ชีวิตกำรเดินทำง อำชีพต่ำงๆ พระยำอนุมำนรำชธน (2501) กล่ำวว่ำวัฒนธรรมคือส่ิงท่ีมนุษย์พัฒนำกำรหรือเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือผลิตข้ึนจำกปัจจัย ต่ำงท่ีมีกำรกระทำหรือจำกกำรรับวัฒนธรรมอื่นท่ีแพร่กระจำยเข้ำมำ เพื่อควำมเจริญงอกงำมในวิถีชีวิต และส่วนรวม วัฒนธรรมคือบทบำทท่ีเกิดจำกวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมนั้นท่ีมีกำรถ่ำยทอดกันได้ เรียน แบบกนั ได้ เอำอยำ่ งกันได้ วฒั นธรรมจึงเปน็ ผลลิตของส่วนรวมทีม่ นษุ ย์ได้เรียนรูม้ ำจำกคนสมัยกอ่ นสืบต่อ กันมำและมีพัฒนำกำรมำอย่ำงต่อเน่ือง จนกลำยเป็นประเพณีวัฒนธรรม ซึ่งเป็นท้ังควำมคิดเห็นหรือกำร กระทำของมนุษยใ์ นสังคมทเี่ ป็นลักษณะเดียวกันและแสดงใหป้ รำกฏออกมำเปน็ ภำษำ ควำมเชือ่ ระเบียบ ประเพณี ซงึ่ ได้นำทฤษฎที ำงสังคมดังต่อไปนี้ ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (Structural – functional Theory) นำทำงควำมคิดของทฤษฎีคือ August Comte และ Herbert Spencer ออกุสต์ กองต์ ที่มองว่ำ กำรท่ีสังคมจะสำมำรถดำรงอยู่ได้น้ัน จะต้องมีกำรเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงไปด้วยกันทั้งระบบ ต่อมำเฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ ได้เสนอ แนวควำมคดิ ว่ำ สงั คมมนษุ ย์นน้ั มีลักษณะเหมอื นกับโครงสร้ำงร่ำงกำยของมนุษย์ (Human organism) ท่ี มีส่วนประกอบต่ำง ๆ ทั้งภำยในและภำยนอก แต่ละส่วนประกอบจะมีควำมสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และ ทำงำนร่วมกันอย่ำงเป็นระบบ และแนวควำมคิดของสเปนเซอร์ เป็นแนวควำมคิดหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อนัก คิดทำงสังคมในสมัยที่สเปนเซอร์มีชีวิตอยู่เป็นอย่ำงมำก August Comte เป็นผู้ต้ังช่ือวิชำน้ีว่ำสังคมวิทยำ จงึ มกั ได้รบั กำรยกยอ่ งใหเ้ ปน็ บิดำคนแรกของสงั คมวิทยำมำกกว่ำ Herbert Spencer กองต์มีควำมสงสัยว่ำ ส่วนต่ำง ๆ ของสังคมนั้นประกอบไปด้วยอะไร อะไรคือส่ิงท่ีทำหน้ำที่ให้ องค์ประกอบต่ำง ๆ ทำงสังคมมำรวมเข้ำเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน และอะไรคือปัจจัยที่ทำให้สังคมมีควำม สับสนอลหม่ำน (Anarchy) หรือไร้ระเบียบ (Chaos) ทำไมกำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนในแต่ละสังคมจึงมี ลักษณะเฉพำะที่แตกต่ำงกันออกไป ทำไมจึงไม่มีลักษณะท่ีต่อเนื่องและเป็นไปในทิศทำงเดียวกัน ดังนั้น กองต์จึงเสนอกำรศึกษำสังคมเป็น 2 แบบ คือ สังคมสถิตย์ (Social statics) และสังคมพลวัตร (Social dynamics) ซึ่งกำรศึกษำสังคมแบบสถิตย์ก็คือกำรศึกษำส่วนต่ำง ๆ ของสังคมท่ีได้มีกำรจัดระเบียบ (Social order) ไว้แล้วหรือส่วนของสังคมท่ีมีเสถียรภำพ (Social stability) ท่ีมำรวมกันเป็นสังคม ซ่ึงถือ ได้ว่ำเป็นส่วนท่ีมีกำรเปล่ียนแปลงอย่ำงช้ำ ๆ แทบจะสังเกตเห็นไม่ได้ แต่สำมำรถทำนำยล่วงหน้ำได้ ส่วน กำรศึกษำสังคมแบบพลวัตรก็คือกำรศึกษำกำรเปล่ียนแปลงทำงสังคมท่ีเกิดจำกกำรพัฒนำรูปแบบของ สถำบนั ตำ่ ง ๆ ซง่ึ ถือไดว้ ำ่ เปน็ ส่วนที่มกี ำรเปลีย่ นแปลงไปอยำ่ งรวดเร็ว ยำกทจี่ ะมองเหน็ ล่วงหนำ้ ได้ แนวควำมคิดในกำรพัฒนำทฤษฎีโครงสร้ำง – หน้ำท่ี เป็นผลมำจำกกำรนำเอำแนวควำมคิด ทำงด้ำนชีววิทยำมำใช้ โดยอุปมำว่ำ โครงสร้ำงของสังคมเป็นเสมือนร่ำงกำยที่ประกอบไปด้วยเซลล์ต่ำงๆ และมองว่ำ หน้ำท่ีของสังคมก็คือ กำรทำหน้ำท่ีของอวัยวะส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย โดยแต่ละส่วนจะ ชว่ ยเหลอื และเกอ้ื กูลซ่งึ กนั และกนั เพ่ือใหร้ ะบบท้ังระบบมชี ีวิตดำรงอยไู่ ด้ กล่ำวสรุปได้ว่ำ ทฤษฏีโครงสร้ำงและหน้ำท่ี ส่วนสำคัญทั้งในวิถีชีวิตท้ังหมดบนโลกรวมท้ังชีวิต ต่ำงๆในเมอื งหลวงพระบำงอกี ด้วย
เอกสารอ้างอิง จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. 2548. สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์. พิมพ์คร้ังที่ 2. กรุงเทพมหำนคร: สำนักพิมพม์ หำวิทยำลยั เกษตรศำสตร.์ นพมำศ ธีรเวศิน. 2539. จติ วทิ ยาสังคมกบั ชีวติ . กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์มหำวิทยำลยั ธรรมศำสตร.์ ป รี ช ำ วิ ห ค โ ต แ ล ะ ค ณ ะ . 2541. ก ำ ร ศึ ก ษ ำ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก ำ ร ใ ช้ สิ่ ง เ ส พ ติ ด ข อ ง นั ก เ รี ย น มหำวทิ ยำลัยสุโขทัยธรรมำธริ ำช. นนทบุรี: มหำวิทยำลัยสุโขทยั ธรรมำธิรำช, (อัดสำเนำ) ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์ : หลวงพระบางเมืองมรดกโลก ราชธานีแห่งความทรงจา และพ้ืนที่พิธีกรรมใน กระแสโลกาภิวัตน์ : สำนักพมิ พิ์วญิ ญชู น จำกัดไพฑูรย์ แสงพุ่ม. 2543. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ Sigmend Freud. กรุงเทพมหำนคร: ศูนย์กำรต้ำนยำ เสพตดิ สำนกั พฒั นำกำรปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหำยำเสพตดิ . ศภุ ชัย สงิ ห์ยะบุศย.์ 2552. หลวงพระบาง: การเปลี่ยนแปลงในฐานะเมืองมรดกโลก. วำรสำรศรนี ครินท รวโิ รฒวจิ ยั และพัฒนำ 1: 84-104. สุเทพ สุนทรเภสัช. 2540. ทฤษฎีสังคมวิทยาร่วมสมัย: พ้ืนฐานแนวความคิดทฤษฎีทางสังคมและ วัฒนธรรม. เชียงใหม่: โกบอลวิชัน่ . อัญญำ ปลดเปล้ือง. 2556. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปรากฏการณ์วิทยา. วำรสำรพยำบำลกระทรวง สำธำรณสขุ 23: 1-10. Mead, GH. 1934. Mind, self, and society from the standpoint of a social behaviorist. Chicago: University of Chicago Press.
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: