Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรือฮูปแต้ม

เรือฮูปแต้ม

Published by kanikl, 2020-08-25 02:36:21

Description: เรือฮูปแต้ม

Keywords: ฮูปแต้ม

Search

Read the Text Version

บทความอีสาน เรือฮปู แตม้ : ความงามตามวถิ หี รือความงามจากจติ นาการของช่างแตม้ ผจู้ ัดทำ นำยศตวรรษ นำคศรสี ขุ รหัสนกั ศึกษำ 617220016-4 รำยวิชำ กำรวจิ ยั ทำงวฒั นธรรม ศิลปกรรมและกำรออกแบบขนั้ สงู รหสั รำยวชิ ำ 890911 รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งในกำรศึกษำระดับปรญิ ญำเอก สำขำวิชำวัฒนธรรม ศลิ ปกรรมและกำรออกแบบ 2.1 ภำคพิเศษ คณะศลิ ปกรรมศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยขอนแก่น

คานา กำรคมนำคมต้ังแต่อดีตจนถึงมีกำรเปล่ียนแปลงตำมช่วงเวลำ วัฒนธรรม และเทคโนโลยีมีกำร พัฒนำกำรสัญจรให้มคี วำมรวดเรว็ และง่ำยข้ึน แต่ปฎิเสธไม่ได้เลยว่ำสิ่งหนึ่งท่ีอยู่คู่กับกำรคมนำคม วัฒนธรรม ประเพณีหรือแม้แต่กำรสู่รบน่ันคือ “เรือ” ในอดีตเรือมีควำมสำคัญอย่ำงย่ิงกับชุมชนต่ำงๆบนโลก สะท้อนถึง ควำมอุดมสมบูรณ์ ควำมร่ำรวยของชุมชนน่ันๆอีกทั้งยังมีประเพณีควำมเชื่อต่ำงๆที่เกี่ยวข้องกับ “เรือ” กำร สรำ้ งเรือในรปู แบบลษั ณะตำ่ งๆ ของแตล่ ะพน้ื ทีห่ รอื แม้แตก่ ำรต้ังช่ือเรอื ตำมควำมเชอ่ื ของชุมชนน่นั ๆ และรปู ที่ ปรำกฏเห็นตำมสถำนท่ีต่ำงๆลว้ นเป็นควำมเชือ่ ของผู้คนในชมุ ชน สถำท่ีนัน่ ๆ และกำรเปลย่ี นแปลงของรปู แบบ เรอื ตำมกำรเปลี่ยนแปลงของสงั คมหรือจิตนำกำรของช่ำง นำยศตวรรษ นำคศรีสขุ

เรอื ฮปู แตม้ : ความงามตามวถิ ีหรือความงามจากจิตนาการของชา่ งแต้ม บทความโดย : นายศตวรรษ นาคศรีสุข สาขา วัฒนธรรมศิลปกรรมและการออกแบบ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ จิตรกรรมบนเพิงผำจิตรกรรมฝำผนังอีสำนเริ่มปรำกฏมำแล้วตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศำสตร์โดยฝีมือ ของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศำสตรซ์ ่ึงเขียนไว้ตำมเพงิ ผำหรือตำมผนังของเทือกเขำต่ำงๆ ในบรรดำภำพเขยี นสี สมัยกอ่ นประวัติศำสตร์ที่ค้นพบเปน็ จำนวนมำกเหล่ำน้ีลว้ นสะท้อนให้เหน็ ถึงคุณยำ่ ควำมสำคัญทำงศลิ ปะอันป็ นพฤติกรรมของมนุษย์และเป็นร่องรอยของอำรยธรรมอันรุ่งเรืองของมนุษยชำติแต่อดีตในภูมิภำคนี้ด้วยว่ำ เนื้อหำสำระท่ปี รำกฏเป็นภำพเขียนสีบนผนงั ถ้ำเหล่ำนน้ั ได้บรรยำยถงึ เรือ่ งรำวแห่งชวี ิตของผู้คนทอ่ี ยู่รวมกันใน สงั คมสมัยน้ัน ๆ ไดเ้ ป็นอยำ่ งดชี ำ่ งแตม้ เขียนเป็นภำพคนภำพสตั วน์ ำนำชนดิ ทง้ั สัตวบ์ กสัตว์นำ้ หรอื เครือ่ งมือจับ สัตว์น้ำต้นหญ้ำต้นไม้และภำพสัญลักษณ์เหล่ำนี้ล้วนแสดงให้เห็นถึงภำพของสังคมเป็นวิถีชีวิตของผู้คนแต่เก่ำ ก่อนในยุคสมัยท่ีก่อให้เกิดกำรเขียนภำพบนผนังถ้ำเนื้อหำสำระท่ีปรำกฏ เป็นรูปธรรมต่ำงมีควำมผูกพันแนบ แน่นกับผู้คนในสมยั นั้น (ศูนยว์ ฒั นธรรมอสี ำน. 2532) ภำพจิตรกรรมฝำผนังในอำคำรที่เกี่ยวเน่ืองกับพุทธศำสนำภำพจิตรกรรมฝำผนังตำมใบสถ์วิหำรเป็น งำนจิตรกรรมที่เก่ียวเน่ืองกับพุทธศำสนำลัทธิลังกำวงศ์ภำพจิตรกรรมฝำผนังในภำคอีสำนหรือท่ีเรียกว่ำ“ รูป แต้ม” มปี รำกฏอยู่ทเี่ ดมิ (โบสถ์) วหิ ำรหอไตรและหอแจก (ศำลำกำรเปรยี ญ) รปู แต้มทพี่ บกันเป็นสว่ นมำกทำง ภำคนีสำนมักจะเบียนอยู่บนผนังด้ำนนอกของลืมหรอื โบสถ์ 5. สิมโบสถ์ในภำษำอีสำนเรยี กว่ำสิมมำจำกคำวำ่ สมำหรือเสมำสีมำหรือเสมำแปลว่ำเขตหลักเขตกำรทำสังฆกรรมสีมำท่ีปักเขตพระอุโบสถ์ที่ทำพิธีสงฆ์เรียกว่ำ พัทะสีมำส่วนท่ีมำท่ีสงฆ์ไม่ได้ปักเขตและมิได้กระทำพิธีกรรมเรียกว่ำอพัทธสีมำโบสถ์มีใบเสมำเป็นสิ่งแสดงที่ หมำยนิมิตล้อมรอบตัวอำคำร ๔ จุดเพื่อทำหนดเขตวิสุงคำมสีมำเขตสังฆกรรมภำยในองค์พัทธสีมำถือว่ำ ศักดิส์ ทิ ธ์เิ ป็นสถำนสมมุติแห่งควำมดีงำมโดยเฉพำะสิมอีสำนแตอ่ ดีตจะถือกันเคร่งครัดมำกวำ่ สตรีจะลว่ งล้ำเข้ำ ไปในเขตนัน้ มิไดเ้ ป็น“ ขะลำ \"เป็นสิ่งมิบงั ควรแมใ้ นเวลำบวชภิกษุสำมเณรทีก่ ระทำกันในสมิ ตอนจะถวำยบำตร จีวรจะต้องกระทำกันตรงบริเวณมุขท่ีย่ืนออกมำอันเป็นบริเวณภำยนอกท่ีปักใบเสมำสิมในภำคอีสำนแบ่ง ออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่คือ“ สิมน้ำและสมบก” ตำมคติเดิมกำรบวชต้องกระทำกันภำยในสิมมีกำรขอ พระรำชทำนก้ำหนดสถำนที่นน้ั เป็นวิสุงคำมสีมำแล้วก่อสรำ้ งลิมสถำนท่ีน้ันจะใช้เป็นที่ทำสงั ฆกรรมได้ถำวรลิม ที่สมบูรณ์จะต้องมีพัทธสีมำหำกว่ำไม่มีวิสุงคำมสีมำถำวรตำมลักษณะดังกล่ำวข้ำงต้นก็ต้องไปบวชในน้ำใช้ บริเวณที่เป็นนประกอบพิธีโดยสร้ำงเป็นสิมแบบชั่วครำวหรือสร้ำงเป็นศำลำกลำงน้ำเพรำะถือว่ำน้ำเป็นสิ่ง บริสทุ ธ์ิ, (ศนู ยว์ ฒั นธรรมอีสำน. 2532) รปู แต้มบนสิมอีสำนเกิดจำกช่ำงแต้มทมี่ ีขนบกำรวำดภำพตำ่ งไปจำกท่อี ื่นช่ำงจะวำดรูปไว้ท่ีผน่ังสมท้ัง ด้ำนในและด้ำนนอกเพรำะสิมพ้ืนบ้ำนมีขนำดเล็กพื้นท่ีด้ำนในไม่เพียงพอท่ีจะวำดรูปเล่ ำเรื่องนอกจำกน้ันกำร

วำดรูปแต้มไว้นอกสิมทำให้คนที่ไม่สำมำรถเข้ำไปร่วมสำสนพิธีในสมได้ขนระหว่ำงรอช่ำงแต้มได้นำเอำชำดก และนิทำนพื้นบ้ำนที่คนในชุมชนคุ้นเคยมำแปลงเป็นรูปประทับไว้ท่ีผนังสิมผนังสิมจึงเป็นเหมือนหนังสือภำพ หรือกำร์ตูนเลม่ ใหญข่ องชมุ ชนกำรใช้รูปเป็นสอื่ เล่ำเร่อื งและสอนศิลธรรมน้ีทำให้คนดเู กิดรสชำติและจิตนำกำร ต่ำงไปจำกกำรฟังหรือกำรชมกำรแสดงบอกจำกตูปแต้มจะให้ควำมรูใ้ ห้คติและควำมเพลิดเพลินแกค่ บดูแล้วฮู ปแต้บยังทำให้สิมหลังเล็กๆมีสีสันมีลวดลำยประดับประดำตกแต่งให้สดุดตำดึงดูดควำมสนใจแก่ผู้พบเห็นกำร วำดฮูปแต้มบนผนังสิมต้ำนนอกจึงแสดงถึงควำมคิดอิสระของช่ำงพ้ืนบ้ำนเป็นควำมคิดสร้ำงสรรค์และเป็นภูมิ ปญั ญำของชำ่ งพ้นื บ้ำนในสมัยนนั้ โดยแท้ (มำลี เอกชนนยิ ม. 2548) “ฮูปแต้ม” ทำงด้ำนควำมหมำยน้ัน “ฮูป” หมำยถึง รูปภำพ “แต้ม” หมำยถึงกำรเขียนหรือกำร ระบำยสี ตรงกับควำมหมำย คือ จิตกรรม (สันติ เล็กสุขุม,2535) ในภำคอีสำนจะนิยมเรียก อุโบสถ ว่ำ “สิม” ฮูปแต้มในสิมอีสำน ได้เขียนเรื่องรำวต่ำงๆไว้อย่ำงมำกมำย เช่นชำดกที่เก่ียวกับพระพุทธศำสนำ วรรณกรรม และเร่ืองรำวเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนในถิ่นน้ันๆ หรือเหตุกำรณ์สำคัญอะไรเกิดขึ้นในช่วงเวลำนั้น (เทพพร มัง ธำน,ี 2554) เรือในสังคมไทยพจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำนพ. ศ. 2542 อธิบำยควำมหมำยของ \"เรือ\" ไว้ว่ำ \"ยำนพำหนะท่ีใช้สัญจรไปมำในน้ำ มักทำด้วยวิธีขุดไม้ทั้งต้นหรือนำกระดำน สังกะสี เหล็ก เป็น ต้น มำ ประกอบกันเข้ำและอธิบำยควำมหมำยของ “ยำน” ว่ำ“ เคร่ืองนำไป, พำหนะต่ำง ๆ เช่นรถ เกวียน เรือ, มัก ใช้เข้ำคู่กับคำ พำหนะ เป็นยำนพำหนะ คำว่ำ“ พำหนะ \"ก็มีควำมหมำยเช่นเดียวกันคือ“ เครื่องนำไป, เคร่ือง ขับขี่,..., ยำนต่ำง ๆ มีรถและเรือเป็นต้นเรีย กว่ำยำนพำหนะ” “เรือ” มีควำมหมำยโดยตรงว่ำเป็น“ ยำน\" กำญจนำคพันธุ์ อธิบำยควำมหมำยของ“ ยำน” ไว้ว่ำ“ เป็นคำสำคัญที่สุดท่ีทำงศำสนำซอบนำมำเปรียบเทียบ ถึงควำมสำเร็จโดยถือว่ำควำมมุ่งหมำยน้ันอยู่ ไกลแสนไกลหำกไม่ทำควำมดีไว้เป็นเครื่องช่วยแล้วก็ไปไม่ถึง เหมือนอย่ำงฟำกฝั่งอีกข้ำงหน่ึงหำกไม่มีเรือข้ำมก็ไปไม่ได้เรือจึงเป็นของสำคัญ” เรือไทยแบ่งได้อย่ำงกว้ำง ๆ เป็น 3 ประเภทคือแบ่งตำมฐำนะแบ่งตำมชนิดและแบ่งโดยกำลังท่ีใช้แล่นประเภทที่ 1 แบ่งตำมฐำนะจำแนก ออกเป็น 2 พวก ได้แก่ เรือหลวงและเรือรำษฎร์เรียหลวงคือเรือท่ีรำษฎรไม่มีสิทธิ์นำมำใช้ถือเป็นของสูงเช่น เรือพระที่น่ังในขบวนพยุหยำตรำชลมำรคเรือพระท่ีนั่งกิ่งเรือพระที่น่ังศรีเป็นต้นส่วนเรือรำษฎร์ ได้แก่ เรือท่ัว ๆ ไปท่ปี ระชำชนใช้ในกำรดำเนินชวี ิต ประเภทท่ี 2 แบง่ ตำมชนิตหมำยถงึ ชนิดของเรือท่ีเรียกตำมกำรสรำ้ งเรือ จำแนกเป็น 2 พวก ได้แก่ เรือขุดและเรือต่อเรือขุดเป็นเรอื ที่ขุดจำกไม้ซุงทั้งต้นส่วนเรือต่อใช้ไมแ้ ผ่นขนำดต่ำง ๆ มำตอ่ กนั เป็นเรอื ทัง้ เรอื ขดุ และเรอื ต่อยงั แบ่งออก ได้เป็น 2 พวกคือเรือแมน่ ้ำและเรอื ทะเลเรือแม่น้ำคือเรือที่ ใช้สญั จรไปมำในแม่น้ำลำคลองเปน็ เรือขุดหรอื เรือต่อเช่นเรือมำดเรือหมูเรือมว่ งเรือพำยมำ้ เรือสำปั่นเรืออีแปะ เรือป่ำบเรืออีโปงเรือบดเรือชะล่ำเรือเข็มเรือเป็ดเรือผีหลอกเรือเอ้ียมจีนเรือกระแชงเรือข้ำงกระดำนเรือยำว เรือมังกุเป็นต้นส่วนเรือทะเลคือเรือท่ีใช้ไปมำในทะเลและเลียบชำยฝั่งเป็นชนิดเรือต่อเช่นเรือสำเภำเรือปูเรือ ฉลอมเรอื โลเ้ รอื เป็ดทะเลเรอื กแหละหรือเรือกไหล่เป็นต้น ประเภทที่ 3 แบง่ โดยกำลังทใ่ี ช้แล่นเช่นเรือพำยเรือ กรรเชยี งเรอื แจวเรือโด้เรือ่ ถอื เรอื ใบ (รำชบณั ฑิตยสถำน, พจนำนกุ รมฉบับรำชบณั ฑิตยสถำน พ.ศ.2542 )

เรือในวิถีกำรดำรงชีวิตกำรคมนำคมสมัยอยุธยำจนถึงสมัยรัชกำลท่ี 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ใช้กำร เดินทำงทำงน้ำเป็นหลักคนไทยในอดีตแต่ละครอบครวั จะมีเรือจอดไว้ท่ีทำหน้ำบ้ำนแม่น้ำลำคลองท่ัวแผ่นดินมี เป็นจำนวนมำกดังตัวอย่ำงเฉพำะในกรุงศรีอยุธยำมีคลองสำคัญในกำแพงเมือง 12 สำยเช่นคลองฉะไกรใหญ่ (คลองท่อ) คลองแกลบ (คลองท่ำพระ) คลองประตูชัยส่วนคลองนอกเมืองมีถึง 19 สำยเช่นคลองมหำนำค คลองหันตรำคลองตะเคยี นคลองมอญคลองสระบัวคลองบำงบำล ฯลฯ ท่ำน้ำในกรุงศรีอยุธยำจึงมีเป็นจำนวน มำกเชน่ กนั เช่นฉนวนทำ่ น้ำ \"วำสกุ รีทำคอย (ท่ำคนั ) ทำ่ กลำโหม (ท่ำขำ้ ง) ท่ำมำ้ ทำประตูชัย ฯลฯ ชำวตะวันตก ท่ีเดินทำงเข้ำมำจึงให้สมญำนำมทั้งกรุงศรีอยุธยำและกรุงเทพมหำนครว่ำเวนิชตะวันออกวรรณคดีและ วรรณกรรมจำนวนมำกทั้งลำยลกั ษณ์และมุขปำฐะไดก้ ล่ำวถึงเรื่องรำวเก่ียวกับวิถีชีวิตไทยทุกภมู ิภำคที่สัมพันธ์ กับน้ำและเรือไว้อย่ำงน่ำสนใจโดยเฉพำะในจดหมำยเหตุของชำวตะวันตกทุกฉบับที่เดินทำงเข้ำมำในกรุงศรี อยุธยำและกรุงเทพมหำนครได้บันทึกไว้ในทำนองเดียวกันว่ำมีเรือจำนวนมำกลอยลำอยู่ทั่วไปซึ่งเป็นท้ัง พำหนะและท่ีอยู่อำศัยเช่นจดหมำยเหตุกำรเดินทำงสู่ประเทศสยำมของบำทหลวงตำชำรต์บรรยำยไว้ว่ำ ทิวทัศน์ของแมน่ ้ำน้ันงดงำมนักท้ังสองฟำกฝง่ั เต็มไปด้วยต้นไม้ใหญ่เขียวชอมุ่ อยู่เป็นอำจิณพ้ืนดินในบริเวณนน้ั จนกระทัง่ เหนือกรุงศรีอยธุ ยำขนึ้ ไปในระยะทำงเดนิ เท้ำวนั หนึง่ มคี วำมตำ่ มำกน้ำจึงทว่ มอยนู่ ำนเปน็ เวลำตั้งคร่ึง ปีฝนซ่ึงตกลงมำติดต่อกันเป็นเวลำหลำยเดือนน้ันทำให้น้ำในแม่น้ำล้นนนและท่วมเข้ำไปถึงในแผ่นดินอน่ึงกำร ท่นี ้ำท่วมนี้ยังเป็นควำมสะดวกต่อกำรท่ีจะไปไหนมำไหนด้วยเรอื ได้ทุกหนทุกแห่งแม้กระทง่ั จะฝำ่ เขำ้ ไปในท้อง ทุ่งด้วยเหตุนี้จึงมีเรือมำกมำยอยู่ในท่ีทั่วไปในท้องที่ส่วนใหญ่ของรำชอำณำจักรน้ันจำนวนผู้คนพลเมืองยังมี นอ้ ยไปกวำ่ จำนวนเรือเสียอีกบำงลำ้ ขนำดใหญ่มีประทนุ คลุมต้ังบ้ำนเรอื นใช้เป็นท่อี ยู่อำศยั ของคนท้ังครอบครัว และเม่ือรวมจอดเข้ำชิดติดกันเป็นจำนวนมำกล้แล้วก็ดูคล้ำยกับว่ำเป็นหมู่บ้ำนลอยน้ำอยู่ในสถำนท่ีท่ีจอดกัน อยู่น้ัน (บำทหลวงตำซำร์ด, จดหมำยเหตุกำรเดินทำงสูป่ ระเทศสยำมของบำทหลวงตำชำรด์ พ.ศ.2541) เรอื ในวรรณคดีสนิ ไซ : ฮปู แต้มในสมิ วดั สนวนวารีพฒั นาราม บ้านหัวหนอง อาเภอบา้ นไผ่ จังหวดั ขอนแกน่ สินไซ สังข์ และสีโหออกตำมหำพระขนิษฐำของพระบิดำรต้องฝ่ำอันตรำยหลำยด่ำนข้ำมน้ำ ขนำดใหญ่ ปรำกฏในสิมฮูปแต้มในสิมวัดสนวนวำรีพัฒนำรำมบ้ำนหัวหนอง อำเภอบ้ำนไผ่ จังหวัดขอนแก่น เป็นรูปของเรือในวรรณคดีเป็นรือขุดเป็นเรือในยุคแรกท่ีมนุษย์สร้ำงขึ้น เพื่อนำมำใช้เป็นพำหนะในกำรสัญจร ทำงน้ำ โดยใช้ต้นไม้ท้ังต้นท่ีมขี นำดใหญ่ และลอยน้ำได้ เช่น ในประเทศไทยมีต้นสัก ต้นตะเคียน ต้นตำล แล้ว

ใช้แรงงำนคนและเคร่ืองมือที่มจี ำกัด เช่น ขวำน ผ่งึ ค้อน ส่วิ ในกำรตดั และขุดเรอื มำใชง้ ำน (พลเรือตรี สมภพ ภริ มย.์ นำวำสถำปัตยกรรม 2542) เรอื ในพิธกี รรมและวิถีชีวติ : ฮปู แตม้ วัดสระบัวแก้ว อาเภอหนองสองหอ้ ง จงั หวัดขอนแก่น จำกฮูปแต้มในสิมอีสำนก็ปรำกฏให้เหน็ ถึงรูปบบลักษณะเรือท่ีเป็นเรือขุดสว่ นใหญ่และเรือในพิธีกรรม จงึ สอดคล้องกับบทควำม (วถิ ี พำนชิ พนั ธ์,2536) กล่ำงวำ่ ชำวอสี ำนสว่ ยนใหญ่มเี ชอื่ สำยลำวและมแี หล่งน้ำทำ มำหำกินตำมวิถีซึ่งวิถีชีวิตของชำวอีสำนมีควำมผูกพันธ์กับสำยน้ำไม่ว่ำจะเป็นพิธีกรรม ควำมเช่ือ กำร ดำรงชีวิต เรือของชำวอีสำนจะมีเอกลักษณ์กำรใช้ไม้กระดำนเพียง 3 แผ่นโดนภำพท่ีปรำกฎให้เห็นในฮูปแตม้ เป็นลกั ษณะของเรือขุดซึ่งเรอื ขุดลักำณะน้จี ะมีใหเ้ ห็นเมือ่ ครำวสมัยก่อนซึ่งยุคสมยั ปัจจุบันแทบจะไมพ่ บเห็นได้ น้อยมำกภำพในฮูปแต้มแสดงรูปทรงของเรือในสถำนท่ีนั่นๆเปรียบรูปร่ำงงจริงๆตำมพ้ืนท่ีท่ีมีบึงคลองอยู่ บริเวณพื้นท่ีนนั่ ๆ เรอื ของอา้ ย : ฮูปแต้มวดั สระบัวแก้ว อาเภอหนองสองหอ้ ง จังหวดั ขอนแกน่

จิตรกรรมฝำผนัง ฮูปแต้มเขียนทง้ั ผนงั ด้ำนนอกและผนงั ด้ำนใน ช่ำงแต้มคอื อำจำรย์จึ อำจำรย์ทองมำ อำจำรยน์ ้อย บ้ำนโศกธำตุ และอำจำรย์พรหมมำ จำกอำเภอวำปีปทมุ จังหวัดมหำสำรคำม ใชส้ ฝี ุ่นวรรณเย็น เนน้ ท่ีสีครำม สเี ขียว สีเหลอื งอมน้ำตำล สีนำ้ ตำลแดง และสดี ำ ผนังดำ้ นในเขียนเร่ืองพุทธประวัติ สนิ ไซ ผนังดำ้ นนอกเขยี นเรอ่ื งพระลกั พระรำม (รำมเกยี รต)์ิ กำรลำดบั ภำพ ผนังด้ำนใน เริ่มจำกผนังด้ำนหน้ำเวียนไปทำงผนังด้ำนซ้ำย ส่วนฮูปแต้มผนังด้ำนนอกลำดับภำพเริ่มจำกผนัง ด้ำนข้ำงองค์พระประธำนเวียนมำทำงผนังด้ำนหน้ำไปจบท่ีผนังด้ำนหลังองค์พระประธำน กำรเขียนภำพเขียน เตม็ ผนงั มกั เป็นภำพบคุ คลหนั หนำ้ ดำ้ นข้ำงมำกกว่ำด้ำนหน้ำ ภำพอำคำรไดแ้ ก่ ปรำสำทรำชวงั เน้นวำดเครื่อง บนด้วยกำรลงสีหลำกหลำยและลงรำยละเอียดของกระเบ้ือง เคร่ืองยอดหลังคำ กำรแบ่งค่ันภำพ ใช้เส้นแนว พื้นดิน แนวรั้วกำแพง เส้นทำงน้ำ เป็นต้น ช่ำงได้สอดแทรกวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีแบบอีสำนไว้ในภำพ หลำยตอน เช่น ประเพณีฮดสรงพระลักพระลำมที่ผนังด้ำนหน้ำ กำรทำคลอดโดยหมอตำแย ขบวนร่ืนเริงเป่ำ แคน กำรแต่งกำยของหญิงสำวอย่ำงสวยงำม (วิทย์ บัณฑิตกุล,2555) เรือในวรรณคดีในอีสำนมีกำร เปลี่ยนแปลงวยแพร่กระจำยเข้ำมำในสังคมและวัฒนธรรมใหม่ทำให้ชำวอีสำนต้องมีกำรปรับตัวให้เข้ำกับ สง่ิ แวดล้อมและสงั คมในขณะน้ัน ซง่ึ ตรงกบั ทฤษฎหี น้ำทน่ี ิยม ของนักสงั คมวิทยำ ทัลคอตต์ พำรส์ นั ส์ (Talcott Parsons)ซ่ึงได้กล่ำวไว้ว่ำมนุษย์ที่อำศัยอยู่ในสังคมจะต้องมีกำรปรับตัวเพ่ือให้สำมำรถอยู่รอดได้ในสังคมนั้น และต้องมีกำรบูรณำกำรให้สำมำรถอยู่ร่วมกันได้อย่ำปกติสุขได้ หำกมนุษย์ท่ีอำศัยอยู่ในสังคมน้ันไม่มีกำร ปรบั ตัวได้ก็อำจจะทำให้อยู่ในสังคมนั้นไม่ได้ มนุษย์จึงมคี วำมจำเป็นท่ีจะต้องปรับเปลี่ยนตัวเองให้เข้ำกับสังคม นั้นๆ ทต่ี นเองอำศัยอยู่ สอดคลอ้ งกบั ทฤษฎกี ำรแพร่กระจ่ำย ของสำนักอเมริกัน ท่ีตงั้ สมมตุ ิฐำนไว้วำ่ ท่ใี ดไม่มี อุปสรรคในกำรเดินทำงของมนุษย์ วฒั นธรรมจำกที่หน่งึ ย่อมแพร่กระจำยจำกท่ีหน่ึงไปยังทหี่ นงึ่ ได้ไม่มำกก็น้อย และอำจจะมีวฒั นธรรมบำงส่วนทเ่ี หมอื นวฒั นธรรมต้นทำง วรรณกรรมท้องถนิ่ : สมิ วัดบ้านประตชู ยั ตาบลนิเวศ อาเภอธวัชบุรี จังหวดั ร้อยเอ็ด จิตรกรรมของสิมแห่งน้ี เขียนประดับทั้งภำยนอกและภำยในโดยรอบ ส่วนใหญ่เป็นเรื่องรำวเก่ียวกับ พระพุทธศำสนำโดยผนักด้ำนนอกเขียนเรืองพระเวสสันดรชำดก ภำยในสิมเขียนภำพพระบถ จำกกำรศึกษำ เรอื ท่ปี รำกฏในนฮูปแต้มสิมอีสำน สะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ กำรเปลยี่ นแปลงทำงสงั คม วัฒนธรรม กำรเปน็ อยวู่ ิถีชีวิต ของชุมชนที่เปลี่ยนไป จำกขนบประเพณีแบบเดิม โดยท่ีเห็นได้ชัดเจนคือคนอีสำนท่ีสืบเชื้อสำยมำกลำว กำร ตอ่ เรือจะมเี รื่องควำมเช่ือและขนบประเพณที ่ชี ัดเจนดงั ทกี่ ล่ำวมำแล้ว เชน่ รปู แบบเรือทัง้ ในวรรณกรรมและวิถี

ชวี ิตจะมีรูปแบบที่เหมอื นกันตำมส่ิงทีช่ ่ำงแตม้ ได้เขยี น คือเรอื ขดุ ซึ่งจะพอเห็นไดม้ ำกในยุคสมัยน่ันเป็นต้น เมือ่ มีกำรเปล่ียนแปลงทำงสังคมและมีผู้คนจำกถ่ินอ่ืนเข้ำมำอำศัยอยู่ในชุมชนอีสำน จึงเป็นไปได้ที่จะรับอิทธิพล จำกผ้ทู ่เี ข้ำมำอำศัยใหม่ในดินแดนอีสำนและได้นำมำเผยแพร่จนเกิดกำรเรียนแบบและกำรเปลี่ยนแปลงโดยไม่ ยึดติดกับแบบแผนเดิม กำรติดต่อค้ำขำยกับคนภำยนอกชุมชนก็เป็นอีกปัจจัยหน่ึงท่ีทำให้เรือมีกำร เปลี่ยนแปลงตำมยุคสมยั ของชำ่ งแต้ม ทงั้ หมดที่กล่ำวมำ พบวำ่ อิทธิพลของกำรแพร่กระจำ่ ยทำงวฒั นธรรมและกำรปรบั ตัวของมนษุ ยเ์ พ่ือให้ ตนเองอยู่รอในสังคมน้ัน เป็นส่ิงจำเป็นท่ีซ่ึงทั้งหมดเกิดจำกกำรประปนและเปล่ียนแปลงในหลำกหลำยมติ ิของ มนุษย์เพ่ือควำมอยู่รอด ดังนั้นมนุษย์ที่อำศัยอยู่ในสังคมจะต้องมกี ำรปรับตัวเพ่ือให้สำมำรถอยู่รอดได้ในสังคม น้ันและต้องมีกำรบูรณำกำรให้สำมำรถอยู่ร่วมกันได้อย่ำปกติสุขได้ หำกมนุษย์ท่ีอำศัยอยู่ในสังคมน้ันไม่มีกำร ปรับตัว อำจจะทำให้อยู่ในสังคมน้ันไม่ได้ มนุษย์จึงมีควำมจำเป็นที่จะต้องปรับเปลี่ยนตัวเองให้เข้ำกับสังคม นัน้ ๆ ท่ีตนเองอำศัยอยู่ สอดคล้องกับทฤษฎีกำรแพร่กระจ่ำย ของสำนักอเมริกัน ท่ตี ัง้ สมมุตฐิ ำนไว้วำ่ ที่ใดไม่มี อุปสรรคในกำรเดินทำงของมนุษย์ วัฒนธรรมจำกท่ีหนึ่งยอ่ มแพร่กระจำยจำกท่ีหนง่ึ ไปยังทห่ี นง่ึ ไดไ้ ม่มำกก็น้อย และอำจจะมวี ัฒนธรรมบำงส่วนท่เี หมือนวฒั นธรรมต้นทำง เรือฮูปแต้ม ควำมงำมตำมวิถีหรือควำมงำมจำกจิตนำกำรของช่ำงแต้ม เป็นกำรสะท้อนให้เห็นช่ำงใน ยุคก่อนๆให้คนในยุคปัจจุบันมีกำรสังเกตุเปรียบเทียบภำพท่ีเห็นกับสิ่งท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยเฉพำะรูปทรง ของเรือว่ำอดีตช่ำงใช้จิตนำกำรหรือกำรสังเกตุในยุคนั่นๆ ตำมยุคสมัยและตำมอิทธิพลของศิลปวัฒนธรรมที่มี กำรแพร่กระจ่ำยเข้ำมำในสังคมที่นักออกแบบอำศัยอยู่ซ่ึงได้มีกำรถ่ำยทอดผ่ำนกำรเขียน ซ่ึงไม่ต่ำงกับช่ำง เขียนที่เขียนฮูปแต้มตำมจินตนำกำร ตำมศิลปวัฒนธรรมท่ีมีกำรแพร่กระจำยเข้ำมำ ดังปรำกฏให้เห็นในในสิม อีสำนโบรำณ”

เอกสารอา้ งองิ เทพพร มงั ธำน.ี 2554 ฮูปแต้มในสิมอีสำน : ภาพสะทอ้ นความหลากหลายของลัทธคิ วามเชอ่ื . วำรสำร ศลิ ปกรรมศำสำตร์ มหำวทิ ยำลัยขอนแกน่ . ปี่ท่3ี ฉบับที่ 1. ขอนแกน่ : คลังนำนำ ธำดำ สุทธิธรรม. 2542. สถาปัตยกรรมไทย. ขอนแกน่ : ขอนแก่นพมิ พพ์ ัฒนำ. ปรำณี วงษ์เทศ. 2543. สังคมและวฒั นธรรมในอุษาคเนย์. กรงุ เทพมหำนคร: เรอื นแก้วกำรพิมพ์. รงั สรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2546. ทนุ วัฒนธรรม: วฒั นธรรมในระบบทุนนยิ มโลก เล่ม 1. กรุงเทพมหำนคร: มติ ชน. วทิ ย์ บัณฑติ กุล. รำชอำณำจกั รไทย : กรุงเทพฯ สถำนพรบุ๊คส์ ,2555 ศรีศกั ร วัลลโิ ภดม. 2544. พัฒนาการทางสงั คม-วัฒนธรรมไทย. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. กรุงเทพมหำนคร: สำนกั พมิ พ์ อมรินทร์. สนั ติ เลก็ สขุ มุ . จิตรกรรมไทยแบบประเพณี สโุ ขทัยธรรมมำธิรำช : 2535 สวุ ภิ ำ จำปำวัลย์. 2558. พระธาตลุ ้านนา: การทอ่ งเท่ยี วและการอนรุ ักษ์ในสังคมโลกาภวิ ัฒน์. วำสำรวจิ ิตร ศริ ำชบัณฑิตยสถำน. (2546). ราชบัณฑิตยสถาน, พจนำนุกรมฉบบั รำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นำนมี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook