Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความวัฒนธรรมสัมพันธ์

บทความวัฒนธรรมสัมพันธ์

Published by kanikl, 2021-02-25 03:21:50

Description: บทความ วัฒนธรรมสัมพันธ์ : ปรับปรนมรดกแห่งความดีงาม วิถีแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น

Keywords: วัฒนธรรมสัมพันธ์,ปรับปรนมรดก,วิถีแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น

Search

Read the Text Version

วฒั นธรรมสมั พันธ์ : ปรับปรนมรดกแห่งความดีงาม วถิ ีแหง่ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน1 โชคชัย คำจนั ทำ2 บทคดั ย่อ บทความเร่ือง วัฒนธรรมสัมพันธ์ : ปรับปรนมรดกแหง่ ความดีงาม วิถีแห่งภูมิปญั ญา มุ่งศึกษา คุณค่าทางภูมิปัญญาท้องถ่ิน และแนวทางการพัฒนาที่ย่ังยืน ตามโครงการคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่น วฒั นธรรมสัมพนั ธ์ ประจาปีพทุ ธศกั ราช 2564 โครงการคัดเลือกผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ เป็นโครงการเชิดชูเกียรติแก่บุคคลที่ไดร้ บั ยกยอ่ งว่า เป็นผทู้ ม่ี คี ุณสมบัตเิ ป็นปราชญ์แห่งภมู ปิ ญั ญาท่สี ามารถทาประโยชนแ์ ละสรา้ งมลู คา่ แก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่ทรงคุณค่าเกิดจากสติปญั ญาของชาวบา้ นทแ่ี สดงศกั ยภาพ ความสามารถในการดาเนนิ ชวี ติ และการประกอบอาชพี ถอื ไดว้ ่าเป็นองคค์ วามรูท้ ่ชี าวบา้ น คิดคน้ สั่งสม ถ่ายทอด ปรับปรุง และพัฒนาต่อยอด เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื โดยอยู่บนพื้นฐานแนวทางการแก้ไขท่ีจะช่วยยกระดับโครงการคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรม สัมพนั ธ์ และขบั เคล่อื นนวตั กรรมทเ่ี นน้ เทคโนโลยเี ปน็ หลัก ไปพร้อมกับยุคไทยแลนด์ 4.0 คาสาคญั : วัฒนธรรมสมั พันธ์, ปรับปรนมรดก, วถิ ีแหง่ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ 1 บทความนเี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของนกั ศึกษาปฏบิ ตั สิ หกจิ ศึกษา เรือ่ ง วฒั นธรรมสัมพนั ธ์ : ปรับปรนมรดกแหง่ ความดีงาม วถิ แี ห่งภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ 2 นักศึกษาปฏิบัติสหกิจศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

บทนา ทา่ มกลางความเปล่ยี นแปลงของวิถีและนโยบายในการกาหนดทศิ ทางในการบรหิ ารจัดการโลก จั ด ก า ร ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย ข อ น แ ก่ น ใ ห้ รู้ เ ท่ า ทั น แ ล ะ ก้ า ว น า ไ ป กั บ โ ล ก มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเฉพาะฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้เฝ้ามองและ สงั เกตการณ์เปลยี่ นแปลงของปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ด้วยฐานข้อมูลทางวชิ าการด้านศิลปวัฒนธรรมอันเปน็ ฐานขอ้ มลู ท่สี รุปบทเรียนทเี่ กดิ จากมรดกทางภูมปิ ัญญาบรรพชนคนอีสานผสานกบั อารยธรรมสากล เชน่ อารยธรรมโลกจากศาสนา ผี พราหมณ์ พุทธ คริสต์ อิสลาม หรือแม้อารยธรรมตะวันออก ได้แก่ เวียดนาม จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ที่ผสมผสานอยู่ในวิถีบรรพชนคนอีสาน ทาให้เกิดการเชิดชู “ศิลปินมรดก อีสานสืบสานวัฒนธรรมสัมพันธ์” ขึ้นมาเป็นปีที่ 15 การศึกษาเรียนรู้วิถีคิดวิถีทาที่กลายมาเป็น มรดกวัฒนธรรมของศิลปินและนักวัฒนธรรมของบรรพชนและคนร่วมสมัยท่ีสืบค้นต่อก่อร่างสร้าง แนวทางให้เด่นชัด จนกลายเป็นอัตลักษณ์แห่งอารยธรรมของประชาชนคนในวัฒนธรรมรว่ มของชาติ ไทย (เขม เคนโคก, มารศรี สอทิพย์, 2563 : บทนา ) การตอ่ ยอดวชิ าการมรดกภมู ิปญั ญาจากวิถีของ “ ศิลปนิ และนักวัฒนธรรม” ทงั้ ท่เี ปน็ นามธรรม และรูปธรรมด้วยนวตั กรรมล้าสมยั และเทคโนโลยีที่เปลยี่ นใหมต่ ลอดเวลา จะทาใหภ้ ูมปิ ญั ญาเหลา่ น้เี ปน็ ภูมิคุ้มกันผู้คนในวัฒนธรรมใหม่ ไม่ให้ตกเป็นทาสของไวรัส (ความเปล่ียนแปลง เช่น เชื้อไวรัสโคโรนา 2019) หรอื เช้อื ไวรสั ตวั อน่ื ๆ ทจี่ ะตดิ ตามมากบั ความเปลยี่ นแปลงไดอ้ ยา่ งยั่งยืนและเหมาะสมต่อความ เป็นมนุษยชาติท่ีมีอยู่บนฐานของอารยธรรม เพราะมรดกทางวัฒนธรรมอีสานผูกติดและสัมพันธ์กับ วิถีของส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ ความเชื่อศาสนา และวฒั นธรรมทาใหส้ ังคมอยรู่ ่มเยน็ เปน็ สุขเสมอมา เปน็ สังคมอารยะท่ีมีแม่บทแห่งธรรมในพระพุทธศาสนาและความเช่ือท้องถ่ินเป็นวิถีดาเนินชีวิต ดัง ความหมายท่ีว่า ศิลปินมรดกอสี านคอื ผสู้ บื ทอดภมู ปิ ัญญาความดีงามดง้ั เดิม ส่วนนักวัฒนธรรมสัมพนั ธ์ คือ ปรับปรนมรดกแห่งความดีงามให้เข้ายุคสมัยที่เปล่ียนไปเพ่ือความเป็นมนุษย์ผู้มีอารยธรรม (เขม เคนโคก, มารศรี สอทิพย์, 2563 : บทนา ) โครงการคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ถือว่าเป็นโครงการหน่ึงที่มุ่งการเรียนรู้ ทางวชิ าการและภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ในภาคอีสาน ซ่งึ เปน็ มรดกทางวฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาพื้นบา้ นทีเ่ ปน็ ปจั จยั สาคัญในการสรา้ งฐานข้อมลู ทางดา้ นความเช่ือ ศาสนา ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรม และองค์ความรู้ ท้องถิ่นอีสาน ซ่ึงสามารถนาไปสู่การทาความเข้าใจรากเหง้า ภูมิปัญญา และต่อยอดในเชิงเศรษฐกิจ ต่อไป โดยฐานความรู้เหล่าน้ีได้ถูกรวบรวมไว้เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ซงึ่ เป็นศูนยก์ ลางการเรียนรู้ศลิ ปะ และวัฒนธรรมที่ผสานเขา้ กับอารยธรรมสากล จึงเป็นโอกาสอันดีท่ีทางมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้เปิดรับการเสนอรายชื่อผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรม สัมพันธ์ เพ่ือเชิดชูเกียรติในบทบาทด้านการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู สร้างสรรค์ และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

เนื่องในโอกาสวนั คล้ายวันพระราชสมภพสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีและวนั อนุรักษ์มรดกไทย การสร้างฐานข้อมูลเกิดจากรากฐานการเรยี นรู้ เป็นสิ่งท่ีมนุษยชาติพึ่งมีและปฏิบัติตามวัฏจกั ร ตามการเรียนรู้ หากไม่มีรากฐานความรู้ที่แข็งแกร่งพอก็ไม่อาจมีศักยภาพที่ดีได้ โดยเฉพาะรากฐาน ความรขู้ องขมุ ทรพั ย์แห่งภมู ิปัญญา ซึง่ เปน็ องคค์ วามรทู้ ม่ี ีคณุ คา่ และดีงามกบั การดารงชีวติ ท่ีอยรู่ วมกบั ธรรมชาติและสภาพแวดล้อมไดอ้ ยา่ งกลมกลนื และใช้กระบวนการถ่ายทอดความรู้ที่มจี ากรนุ่ หน่ึงไปสู่ รุ่นหน่งึ ตามความเชื่อและวถิ ชี ีวิตของคนกลมุ่ นนั้ เป็นการแสดงออกถึงวฒั นธรรมอันดีงามท่ีควรสืบทอด ซึ่งเป็นการวางรากฐานภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดความรู้สู่สาธารณชน อันเป็นฐานความรู้ท่ีสาคัญต่อ การพฒั นาศิลปวฒั นธรรมแห่งความดงี าม ทางศนู ย์ศิลปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น จึงมีนโยบาย การจัดโครงการศิลปินมรดกอีสาน สืบสาน วัฒนธรรมสัมพันธ์ขึ้นในแต่ละปี เพ่ือเป็นการเชิดชูเกียรติ ให้แก่ปราชญท์ างภมู ิปญั ญาได้มีช่องทางการถ่ายทอดผลงาน เพอื่ เป็นการสร้างรากฐานทมี่ ่นั คง และเป็น การอนุรกั ษท์ รพั ย์สนิ แหง่ ภูมปิ ัญญาต่อไป (นันธวชั นุนารถ, 2560 : 20) คุณค่าทางภูมิปัญญาแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม เป็นความรู้ ความสามารถและทักษะแห่งการ ดารงชวี ิตจากประสบการณ์ ท่ีมนุษย์เขา้ ใจจรงิ และผ่านกระบวนการของความคิดสร้างสรรค์หรอื การใช้ แก้ปัญหาให้เกดิ ผลสาเร็จ ภูมิปัญญาเปน็ นามธรรมคือ ไม่มีตัวตนที่จะสามารถจบั ต้องได้ เป็นความรสู้ ึก นึกคิด จดจาเป็นส่ิงท่ีอยู่ในตัวเราหรือในทุกคนที่อยู่รอบตัวเรา ซึ่งแสดงถึงวิถีชีวิตและ คุณค่า แห่งวัฒนธรรม ซึ่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถจาแนกได้หลายสาขาวิชาชีพตามความเช่ียวชาญและองค์ ความรู้เก่ียวกับเร่ืองน้ัน ๆ ซ่ึงศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้กาหนดไว้ 10 สาขา (กฤษณา วงษาสนั ต์, 2552 : 5) ดังนี้ 1) สาขาเกษตรกรรม ย่อมมีความรู้ความสามารถในการผสมผสานองคค์ วามรู้ทักษะภมู ปิ ญั ญา ท้องถ่ิน และเทคนิคด้านเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าดั้งเดิม สามารถพ่ึงพา ตนเองในสภาวการณ์ต่าง ๆ ได้ 2) สาขาหัตถกรรม ย่อมมีทักษะความสามารถในการประดิษฐ์ส่ิงของ เครื่องใช้ในชีวิตประจาวันบนฐานภมู ิปญั ญาท้องถิน่ มีการอนรุ กั ษ์ พัฒนา สบื สาน และเผยแพร่ 3) สาขา การแพทย์หรือเภสชั กรกรรมแผนไทย ย่อมมีความสามารถในการจัดการป้องกันและรกั ษาสุขภาพของ คนในชุมชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพึง่ ตนเอง ทางสุขภาพและอนามัยได้ 4) สาขานิเวศน์วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม จะต้องมีความสามารถในการจัดการ อนุรักษ์ พัฒนาและใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณค่า สมดุลและย่ังยืน 5) สาขาวิสาหกิจชุมชน ย่อมมี ความสามารถในการบริหารจดั การทุนทางวัฒนธรรมที่มีฐานภูมิปญั ญาท้องถิ่น ผสานภูมิปัญญาสากล โดยเป็นผลผลติ มาจากกระบวนการทมี่ สี ่วนรว่ มและเรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบในชมุ ชน โดยชมุ ชนเปน็ ผรู้ ิเรม่ิ สรา้ งสรรค์นวตั กรรม และนาสู่การเปน็ ชุมชนท่ีพงึ่ พาตวั เองได้ 6) สาขาศลิ ปกรรม จะต้องมีการผลิตและ ประยุกต์ใช้ศิลปะสาขาต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นคุณค่าและวิธีการทางศิลปกรรม เพื่อนาไปสู่การพัฒนาในมติ ิ

ตา่ ง ๆ อย่างเปน็ รูปธรรม 7) สาขาภาษาและวรรณกรรม ย่อมมีความสามารถสร้างผลงานทางด้านภาษา และการใช้ภาษาด้านวรรณกรรม รวมถึงการอนุรักษ์และเผยแพร่ เพื่อให้ภาษาและวรรณกรรมดารง คงอยู่ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจร่วมกัน 8) สาขาศาสนาและประเพณี ย่อมมีความสามารถในการ ประยกุ ตแ์ ละปรับใช้หลกั คาสอนทางศาสนา ความเชอื่ และประเพณที ม่ี ีคณุ ค่าให้ความเหมาะสมต่อการ ประพฤติปฏิบัติ 9) สาขาอาหารและโภชนาการ ย่อมมีความสามารถในการประกอบอาหารและ โภชนาการ และมีกระบวนถ่ายทอด โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการประยุกต์ใช้ ได้อย่างเหมาะสม อัน เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพตามหลักโภชนาการที่ดี ท้ังยังแสดงถึงภูมิปัญญาบูรณาการตามสมัยนิยมได้ และ 10) สาขาสื่อสารวัฒนธรรม ย่อมมีความสามารถในการสื่อความหมาย เรื่องราว เน้ือหา หรือ กิจกรรม ที่เป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีท้องถ่ิน หรือสะท้อนอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมท้องถิ่น อยา่ งมคี ุณค่าและเหมาะสม กล่าวได้ว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นทั้ง 10 สาขา เป็นองค์ความรู้ท่ีทรงคุณค่าเกิดจากสติปัญญาของ ชาวบ้านที่แสดงศักยภาพและความสามารถในการแก้ปัญหา การดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ เพอ่ื ให้ตวั เองอย่รู อด กลับเปน็ ส่ิงทส่ี รา้ งมลู ค่าและเป็นมรดกทางวฒั นธรรมท่ไี ดร้ ับยกยอ่ ง ซง่ึ ถือได้ว่าเป็น องคค์ วามรูท้ ่ีชาวบา้ น คดิ คน้ สัง่ สม ถ่ายทอด ปรับปรงุ และพฒั นาต่อยอด เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ของชุมชน และการพฒั นาทยี่ งั่ ยืน ด้วยสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID -19 ระลอกใหม่ ทา ให้มหาวิทยาลยั ขอนแก่นได้รบั ผลกระทบในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านเครือข่ายศิลปวัฒนธรรม ซ่ึงใน หลาย ๆ โครงการต้องหยุดชะงัก และถูกชะลอการดาเนินงาน สถานการณ์ที่เกิดข้ึนดังกล่าวควรมี แนวทางวางการแผนในระยะยาว เพ่ือลดปัญหาและไม่ให้เกิดความเสยี หาย โดยใช้แผนปฏิบตั ิพัฒนาท่ี ยง่ั ยนื ซ่ึงเป็นการเปล่ียนแปลงไปในทศิ ทางท่ีดีขนึ้ เกดิ จากการต่อยอดคุณค่าจากส่ิงทมี่ ใี ห้เกิดประโยชน์ หรือส่งเสริม พัฒนา ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ซึ่งจะช่วยทาให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง และสามารถสร้าง อัตลักษณ์ให้กับชุมชนได้ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์พัฒนาระหวา่ ง ชมุ ชน อันแสดงถึงความยัง่ ยืนในการพัฒนาสงั คม ดังจะเห็นได้จากโครงการคัดเลอื กผมู้ ีผลงานดีเดน่ วัฒนธรรมสมั พันธ์ เปน็ โครงการที่จดั ข้นึ ควบคู่ กับศิลปินมรดกอีสานในทุก ๆ ปี ซึ่งในประจาปีพุทธศักราช 2564 นี้ ทางศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ไดอ้ อกประกาศหลกั เกณฑ์การพิจารณาการคัดเลอื กผทู้ มี่ ผี ลงานดีเด่นวฒั นธรรม สัมพันธ์ โดยใหร้ ายละเอียดหลักเกณฑ์และขอบขา่ ยความหมายของแต่ละสาขาไวอ้ ย่างชัดเจน แต่เนือ่ ง ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID -19 ระลอกใหม่ ทาให้ต้อง ชะลอการพิจารณาการคัดเลือกผู้ท่ีมีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์เป็นปีพุทธศักราชหน้า แต่ทาง ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ยังคงมีมาตรการการพจิ ารณาผลงาน โดยคานึงถงึ การดแู ล สุขภาพของบุคลากร นักศึกษาเปน็ หลัก และควบคุมการแพร่กระจายของโรค ด้วยวธิ ีการเปดิ รบั ผลงาน

อย่างต่อเนอื่ ง ในลักษณะแบบชวี ิตวถิ ีใหม่ (NEW NORMAL) ซึ่งเป็นการปรบั เปล่ียนรปู แบบโดยใช้ระบบ สารสนเทศมาช่วย เป็นเคร่ืองมือในการนาส่งข้อมูลทางออนไลน์ หรือการนาสง่ ทางไปรษณีย์ เป็นการ หลกี เลี่ยงการแพร่กระจายเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หรือ COVID -19 นอกจากนย้ี งั ขยายเปิดรบั ผลงานได้ ไมเ่ กนิ วันท่ี 30 มกราคม 2564 พร้อมระบุเหตุผลการพิจารณาผลงาน เมื่อมีการประกาศรายชื่อผู้ท่ีได้รับรางวัลผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ทางศูนย์ ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ยังคงได้รับผลกระทบเช่นเดิมกับปีพุทธศักราช 2563 ที่มีการ ประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ แต่ไม่สามารถจัดงานประกาศ รบั รางวลั ได้ จึงทาให้ระงบั การจดั งานจนกระทั่งลว่ งเลยเวลามาถึงปีพทุ ธศกั ราช 2564 การแก้ไขดังกล่าว เป็นการแก้ไขในระยะสั้น ดังนั้นหากมีแนวทางการประกาศรางวัลในระบบออนไลน์ โดยเรียนเชิญ ผทู้ ่ีสง่ ผลงานรว่ มรับชมการแพรภ่ าพสดผา่ นทางเพจเฟซบ๊กุ ศูนย์ศลิ ปวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น KKU Art & Culture Center พร้อมส่งโล่รางวัลเกียรติยศของผู้ที่ได้รับรางวัลทางไปรษณีย์ในทุก ๆ ปี ก็นับได้ว่าเป็นการแก้ไขปัญหาที่ดีในสถานการณ์บ้านเมืองเช่นนี้ ก็เป็นการยกระดับความสามารถใน การจัดโครงการคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ประจาปีพุทธศักราช 2564 ที่สามารถ ขับเคล่ือนนวัตกรรมที่เน้นเทคโนโลยีเป็นหลัก ไปพร้อมกับยุคไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งก็เป็นการพัฒนา โครงการในรูปแบบท่ียั่งยืนได้ โดยปราศจากผลกระทบต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน อย่างไรก็ตามทางศูนย์ ศลิ ปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแก่นยังคงเฝ้าระวังสถานการณ์การแพรร่ ะบาดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรอื COVID -19 ระลอกใหมอ่ ยู่ตลอดเวลาและจะพจิ ารณาหารือแนวทางการคัดเลือกผทู้ ่มี ผี ลงานดเี ดน่ วัฒนธรรมสัมพนั ธ์ใหม่อีกครงั้ เพ่ือไม่ใหเ้ กิดความผิดพลาดกับสถานการณท์ ่ีเกิดขึ้นเช่นน้ีอีก ทั้งนี้กเ็ พ่ือ เป็นการรักษาคุณทรัพย์ที่มีให้เป็นแบบอย่างของการพัฒนาสังคมด้วยรากฐานความรู้ด้านวัฒนธรรม อสี านตอ่ ไป วัฒนธรรมสัมพันธ์ : ปรับปรนมรดกแห่งความดีงาม วิถีแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น สรุปได้ว่า รากฐานทสี่ าคัญเกิดจากการเรียนรู้ เป็นสงิ่ ที่มนษุ ยชาตพิ งึ่ มแี ละปฏบิ ตั ิตามวฎั จกั รตามการเรียนรู้ หากไม่ มีรากฐานความรู้ทีแ่ ข็งแกรง่ พอก็ไม่อาจมีศักยภาพทีด่ ีได้ โดยเฉพาะรากฐานความร้ขู องขุมทรพั ย์ แห่ง ภูมิปัญญา ทางศูนยศ์ ิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแกน่ จึงมีนโยบายจดั โครงการคดั เลอื กผู้มผี ลงาน ดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ซึ่งเปน็ โครงการเชิดชูเกียรติแก่บุคคลทไ่ี ด้รับยกยอ่ งว่า เป็นผู้ทีม่ คี ณุ สมบัตเิ ป็น ปราชญ์แหง่ ภูมปิ ัญญาทส่ี ามารถทาประโยชน์และสร้างมลู ค่าแกช่ ุมชน สังคม และประเทศชาติ ซ่ึงเป็น องค์ความรทู้ ี่ทรงคุณค่าเกิดจากสตปิ ัญญาของชาวบา้ นทแ่ี สดงศักยภาพความสามารถในการดาเนินชีวิต และการประกอบอาชีพ ถือได้ว่าเปน็ องค์ความรู้ที่ชาวบ้าน คดิ คน้ สงั่ สม ถา่ ยทอด ปรับปรงุ และพฒั นา ต่อยอด เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และการพฒั นาท่ยี งั่ ยนื โดยอยู่บนพื้นฐานแนวทางการ แก้ไขระยะยาวจะช่วยยกระดับโครงการคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ และขับเคลื่อน นวัตกรรมที่เนน้ เทคโนโลยีเปน็ หลัก ไปพร้อมกับยคุ ไทยแลนด์ 4.0

เอกสารอา้ งองิ กฤษณา วงษาสนั ต.์ (2552). วิถีไทย. กรงุ เทพฯ: เธริ ด์ เวฟ เอด็ ดเู คช่นั . เขม เคนโคก, มารศรี สอทพิ ย์, บรรณาธิการ. (2563). ศลิ ปินมรดกอีสาน สืบสาน วัฒนธรรมสมั พนั ธ์. ฝา่ ยศลิ ปวฒั นธรรมและเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น นนั ธวัช นนุ ารถ. (2560). ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน คุณค่าแหง่ วิถชี ีวิต วฒั นธรรม เพอ่ื การศึกษาทยี่ งั่ ยนื . วารสารวชิ าการและวจิ ัยสงั คมศาสตร์, 12 (34), 17-26


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook