Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อิทธิพลความเชื่อเรื่องนาคของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อในจังหวัดน่าน

อิทธิพลความเชื่อเรื่องนาคของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อในจังหวัดน่าน

Published by kanikl, 2020-12-24 03:00:15

Description: อิทธิพลความเชื่อเรื่องนาคของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อในจังหวัดน่าน

Keywords: นาค,ชาติพันธุ์,น่าน

Search

Read the Text Version

ชื่อบทความ อทิ ธิพลความเชอื่ เร่ืองนาคของกลุมชาติพันธไุ ทลอื้ ในจังหวัดนาน ชื่อเจา ของบทความ ธนวิชญ สุดงูเหลอื ม (635220007-3) นกั ศึกษาหลกั สตู รศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรม ศลิ ปกรรมและการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน คำสำคัญ (Keyword) ไทล้ือ , ความเช่อื , สัญลักษณ บทนำ ชาติพนั ธุ “ไท” เปนชนชาติหนง่ึ ทม่ี ีประวตั ิความเปนมาอันยาวนาน และมีเอกลักษณทางวัฒนธรรมท่ี เดนชัดทั้งวิถีชีวิต ภาษา การแตงกาย รวมถึงการตั้งถิ่นฐาน ลักษณะชุมชน และสถาปตยกรรมเหตุการณทาง ประวัติศาสตรข องชาวไทมีความสัมพนั ธกับพัฒนาการของกลุมชาติพนั ธุอื่นหลายแหง ในแถบเอเชียตะวันออก เฉียงใตทั้งจากการขยายอาณาเขตของตนไปสูพื้นที่ตาง ๆ ใน อดีตการกระจายตัวของการตั้งถิ่นฐานการ แพรกระจายทางวัฒนธรรม ไปจนถึงการถูกครอบครองจากกลุมชาติพันธุอื่น ในปจจุบัน อาณาจักรของชาติ พนั ธุไททเี่ คยมีในอดีต ไดตกอยูภ ายใตการปกครองของประเทศตา ง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใตหลาย ประเทศ เชน ประเทศไทย ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประเทศสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา เปนตน ซึ่งเปนที่แนนอนวาชาวไทที่ตกอยูภายใตการปกครองของ ประเทศตาง ๆ จงึ มีการเปลยี่ นผานการ ปกครอง และตกอยใู นสภาวะที่ถูกหอมลอมจากกลุมชนวัฒนธรรมอื่น หลายยุคหลายสมัย ซึ่งแตกตางกันไปตามการตั้งถิ่นฐานและ บริบทที่ตนมีปฏิสัมพันธอยูเมื่อชาวไทตกอยู ภายใตบ รบิ ทท่แี ตกตา งกัน ภมู ทิ ัศนท างกายภาพของชุมชน ที่เปนผลสะทอนและตก ผลึกมาจากวัฒนธรรม ซ่ึง สันนิษฐานวาแทบทกุ แหลงนาจะมีรปู แบบทางวัฒนธรรมที่ สอดคลอ งดว ยตนกำเนดิ แหลง เดียวกันใน ตอนตน จะยังคง มีแบบแผนอันเกี่ยวเนื่องกับความสัมพันธระหวางระบบ นิเวศ วิถีชีวิต และสถาปตยกรรม รวมกันหรือตางกัน อยางไร อีกทั้งยังคงมีระบบคุณคาของความยั่งยืนเฉก ภาพจาก แฟนเพจ:หอมรดกไทย เชนเดิมหรือนำพาชุมชนไปสูสถานะที่แตกตางกันในระดับ ใด (ชัยสิทธ์ิ ดา นกิตติกุล, 2548)

การศึกษาและทำความเขาใจถึงพัฒนาการของแหลงตั้งถิ่นฐานชาวไทลื้อที่มีความสำคัญในประเทศ ไทย ดวยการคนหาอิทธิพลความเช่ือที่แสดงออกมาผานระบบสัญญลักษของงานประติมากรรมพื้นถิ่นไทลือ้ ที่ สะทอนใหเ ห็นภูมิปญญาในการสรางสรรคใหส อดคลองสัมพันธกับสภาพแวดลอมและวิถีชีวิตที่มีพัฒนาการมา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เพื่อวิเคราะหและสรุปความเชื่อที่ปรากฏผานประติมากรรมนาคของชาวไทลื้อใน จงั หวดั นา น ไทลื้อในประเทศไทย ชาวไทลื้อมีการเคลื่อนยายเขามาตั้งชุมชนลานนาหรือภาคเหนือตอนบนของ ประเทศไทยมานานหลายรอยปแลว ท้งั นก้ี ารเคลื่อนยา ยคร้งั ใหญเ กิดใน \"ยคุ เก็บผักใสซา เกบ็ ขา ใสเมือง\" ของ ลานนาในสมัยพระเจา กาวลิ ะ หรือยุคธนบรุ ีจนถงึ ตนยุค รตั นโกสนิ ทรช าวล้อื เปนชนชาติที่มวี ัฒนธรรมเดียวกับ ชาวยองในพ้ืนทีจ่ ังหวัดเชยี งใหม- ลำพนู ปจจุบนั เปน ชาวแควนสิบสองปนนา ดว ยกันทง้ั สนิ ตางกันท่ีชาวยองที่ เชียงใหมลำพูนนั้นอพยพมาจากเมืองยองและเมอื งตาง ๆ ทางฝงตะวันตกของแมนํา้ โขงหรือทีช่ าว สิบสองปน นาเรียกวาแมนํ้าลานชาง สวนชาวลื้อท่ีพะเยา-เชียงราย-นา นมาจากเมืองตาง ๆ ในฝงตะวันออกที่ติดกับลาน ชางและนา น ชาวลอื้ ท่อี ยูใ นพะเยา-เชียงราย-นา นปจ จุบนั นั้น เดินทางจากฝง ตะวนั ออกของสิบสองปนนาลงมาทาง ใตเขาสูประเทศไทย โดยมีจุดหมายแรกที่เมืองนาน การเขาสูประเทศไทยเขาทาง อ.แมสาย อ.เชียงแสน อ. เชียงของ จ.เชียงรายปจจุบัน แลวเขาสู จ.พะเยาที่ อ.เชียงคำ อ.ภูซาง ผานไปยัง อ.ปงและ อ.เชียงมวนซึ่ง ขณะนั้นพะเยาอยูในการปกครองของเมืองนาน เจาอนันตวรฤทธิเดชเจา ผูครองนครนานในขณะนั้นจึงใหชาว ลื้อตั้งชุมชนอยูที่อ.ทาวังผา จ.นาน และ อ.เชียงมวน จ.พะเยา จึงปรากฏชุมชนชาวลื้อ ใน อ.เชียงมวนหลาย หมูบาน บางหมูบานตั้งชื่อตามหมูบานในสิบสองปน นาทต่ี นจากมา เชน บานมาง บา นทุงมอก บา นทาฟา เปน ตน แตดวยลักษณะพื้นที่อ.เชียงมวนเปนที่ราบ แคบ ๆ ระหวางหุบเขา ทำใหไมเหมาะแกการ เพาะปลูกโดยเฉพาะการการทำนาของ ชาวไทล้ือ ชุมชนไทลื้อบางสวนจึงขอพระราชทานอนุญาตจาก ภาพ 1 แผนท่แี สดงเสน ทางการอพยพของชาวไทล้ือ เจาผูครองนครนานยายไปตั้งชุมชนที่อ.เชียงคำซึ่งมี ทม่ี า: ธนิก หมื่นคำวงั ศูนยว ฒั นธรรมไทลอื้ 2555. พื้นที่ราบ กวางขวางกวา (เวนพื้นที่อ.ปงไปเนื่องจาก เปน ชมุ ชนของคนไทยวนหรือคนเมืองตงั้ อยูกอนแลว) และเมื่อไปตั้งอยูใน อ.เชียงคำบาง หมูบานก็ใชช่ือ ตามชือ่ หมูบานใน อ.เชยี งมว น ท่ียา ยมา (ศโิ รดม เสือคลา , 2558)

พญานาควัดภูมินทร มีลักษณะเฉพาะแตกตาง จากพญานาคสวนใหญของวัดทั่ว ๆ ไป ที่จะมีเฉพาะสวน ทอนหัวกับลำตัวเลื้อยอยูบนราวบันไดทางเขาโบสถ แต พญานาควัดภูมินทรกลับมีทั้งสวนหัวและสวนหาง ที่ดู เหมือนกำลังเลื้อยทะลุออกมาจากโบสถ หรือกำลังเลื้อย เทินหนุนโบสถหลังนี้เอาไว ทั้งนี้นักวิชาการบางคนไดตั้ง ขอสังเกตวา ประติมากรรมพญานาควัดภูมินทร เปนการแสดงคติความเชื่อในเรื่องน้ำของคนโบราณ โดยใช พญานาคเปนสัญลักษณเลื้อยผานตลอดวิหาร สวนบริเวณพื้นนั้นเปรียบดังสระน้ำสี่เหลี่ยมที่มีโบสถ-วิหารวัด ภูมินทรตั้งอยู สวนถาหากมองตามคติพุทธทั่ว ๆ ไปแลว พญานาคตามวัดตาง ๆ นั้นเปรียบเสมือนผูปกปอง ศาสนาพุทธ พญานาควัดภูมินทร เปนประติมากรรมปูนปน พญานาค 2 ตน(เพศผู –เพศเมีย) ซึ่งชางโบราณใช ฝมือสรางสรรคออกมาไดอยางนาทึ่ง เปนนาคสะดุงลำตัว อวบอวน หนาตาดูใจดี ดูมชี ีวติ ชวี า กำลงั ชูหวั สงา ทาทาง ดูเหมอื นกำลังเล้ือยอยจู ริง สังเกตไดจ ากชว งอกตน คอกอน ยกหัวขึ้นชางเขาปนไดมีกลามอกดูละมายคลายงูใหญ กำลังเลื้อยอยู จึงทำใหพญานาคที่วัดภูมินทรแหงนี้ ไดรับ การยกยองจาก อ.ถวัลย ดัชนี วา “เปนพญานาคที่ดูทรง พลงั ทส่ี ดุ ในเมืองไทย” ตำนานความเชื่อโบราณเกี่ยวกับ \"พญานาค\" จากภาพคือบันไดนาคเลื้อยที่ถูกกลาวขานวาสวยสด งดงามที่สุดในสยามประเทศ ความเชื่อเรื่องพญานาคมีความเกาแกมาก ดูทาวาจะเกากวาพุทธศาสนาอีกดว ย สืบคนไดวามีตนกำเนิดมาจากอินเดียใต ดวยเหตุจากภูมิประเทศทางอินเดยี ใตเ ปน ปาเขาจึงทำใหมีงูอยูชุกชุม และดวยเหตุที่งูนั้นลักษณะทางกายภาพคือมีพิษรายแรง งูจึงเปนสัตวที่มนุษยใหการนับถือวามีอำนาจ ชาว อินเดียใตจ ึงนับถืองู ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตยังมีตำนานเรื่องพญานาคอยางแพรหลาย ชาวบานในภูมิภาคนี้มักเชื่อกัน วาพญานาคอาศัยอยูในแมน้ำโขง หรือเมืองบาดาล และเชื่อกันวาเคยมีคนเคยพบรอยพญานาคขึ้นมาในวัน ออกพรรษาโดยจะมีลักษณะคลายรอยของงูขนาดใหญ และเมื่อไปเลนน้ำในแมน้ำโขงควรยกมือไหวเพื่อเปน การสกั การะส่ิงศักดิส์ ทิ ธิ์

ลักษณะของพญานาคตามความเชื่อในแตละภูมิภาคจะแตกตางกันไป แตพื้นฐานคือพญานาคนั้นมี ลกั ษณะตวั เปนงูตวั ใหญมีหงอนสีทองและตาสีแดง เกล็ดเหมอื นปลามหี ลายสีแตกตา งกันไปตามบารมี บางก็มี สีเขียว บางก็มีสีดำ หรือบางก็มี ๗ สี และที่สำคัญคือนาคตระกูลธรรมดาจะมีเศียรเดียว แตตระกูลที่สูงขึ้นไป น้นั จะมีสามเศียร หา เศียร เจ็ดเศยี รและเกา เศียร นาคจำพวกนี้จะสบื เชอ้ื สายมาจาก พญาเศษนาคราช (อนันต นาคราช) ผูเปนบัลลังกของพระวิษณุนารายณปรมนาท ณ เกษียณสมุทร อนันตนาคราชนั้นเลากันวามีกาย ใหญโตมหึมามีความยาวไมสิ้นสุด มีพันศีรษะ พญานาคนั้นมีทั้งเกิดในนำและบนบก เกิดจากครรภแ ละจากไข มอี ิทฤทธส์ิ ามารถบันดาลใหเ กิดคณุ และโทษได นาคน้นั มักจะแปลงรางเปน มนษุ ยร ปู รางสวยงาม พญานาควัดพระธาตุแชแหง มีจุดที่นาสนใจอยู 2 จุดดวยกัน จุดแรกเปนพญานาค 2 ตนที่เชิงเนิน ดานหนาวัด(บริเวณปายหนาวดั ) เปนงานประติมากรรมปูนปน พญานาคขนาดใหญ ตัวยาวเฟอ ย ท่ีชางโบราณ สรา งสรรคอ อกมาไดอยางสวยงาม ดูสงาหนาตาขรึมขลัง หัวสีทอง ลำตวั เกลด็ สนี ้ำตาล มหี างสที องเปนแฉก 9 แฉก ชูคอตระหงาน (ดูเหมือน)กำลังเลื้อย ทอดยาวไปตามราวทางเดินเขาวัด เมื่อมองจากเนินขึ้นไปจะนำ สายตาไปสอู งคพ ระธาตุแชแหงสีทองอราม พญานาค 2 ตนนี้ มขี อ มูลระบวุ า “ยาว 64 วา สูง 4 ศอก และยก หัวสูงถึง 10 ศอก” สันนิษฐานวาสรางขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2349 ในสมัยเจาอัตถวรปญโญ โดยสื่อความหมายวา เปนดงั สะพานเช่ือมระหวางโลกมนุษย(เชงิ เนินเบื้องลาง)กับสรวงสรรค(บนเนินเบ้ืองบนท่ีประดิษฐานองคพระ ธาตุแชแหง ) สวนอีกจุดหนึ่งของวัดพระธาตุแชแหงนั้นอยูที่“พระวิหาร หลวง” ซึ่งเปนงานสถาปตยกรรมลานนาแบบ“มาตาง ไหม” หลังคาซอน 3 ชั้นอันออนชอย ตัวพระวิหารกออิฐ ถือปูน ทาสีขาวนวลทั้งดานนอกและดานใน ดานหนา ประตูทางเขามีงานปูนปน 2 สิงห ไดแก “สิงหสรวล” (ซาย) และ “สิงหคายนาง”(ขวา)ขณะที่บริเวณพื้นที่เหนือ ประตูทางเขาดานหนาพระวิหารหลวง(ที่หลายๆคนอาจมองขามไปนั้น) ชางโบราณไดสรางสรรคเปน

ประติมากรรมปูนปนนูนสูง รูป“อัฏฐพญานาคราช” มีลักษณะเปนพญานาค 8 ตัว(ฝงละ 4 ตัว) กำลังใชสว น ลำตวั และหางเกาะเกีย่ วกระหวัดรัดกันไปเปน 3 ช้ัน โดยมชี อดอกบวั ตมู 7 ดอกโผลพ งุ ออกมาจากดา นขา ง อัฏฐพญานาคราช ถือเปนหนึ่งในปริศนาธรรมแหงวัดพระธาตุแชแหง มีนัยแฝงเปนพุทธปรัชญา โดย พญานาค 8 ตัว หมายถึง อริยมรรคแปด อันเปนแปดเสนทางที่พระตถาคตใชสอนพุทธศาสนิกชนใหเดินสู หนทางแหงความหลดุ พนสวนการเกี่ยวกนั เปน 3 ช้นั นนั้ แทนองค 3 ในพระพทุ ธศาสนา ไดแก พระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ หรือ ศีล สมาธิ ปญญา สวนหางท่ีเกี่ยวกนั ดานบนสดุ เปนส่ีบวงนั้น คือ อริยสัจ 4 ทุกข สมุทัย นโิ รธ มรรค ดา นดอกบวั 7 ดอก แทนอภธิ รรมา 7 คมั ภีร หรือ หลักธรรมสัปปุริสัทธรรม 7 ประการ นอกจากนี้พญานาค 8 ตัว ที่เกี่ยวกระหวัดกันที่หนาบันแหงนี้ หากเพงพินิจใหดีจะเห็นเปนรูปฟอรม ของเจดีย หรือพระพุทธรูป ซึ่งลวนตางก็เปนดงั ตัวแทนของพระพุทธองคอยางไรก็ดีงานปูนปนพญานาคเกีย่ ว กระหวัดแฝงปริศนาธรรม ไมไดมีแตเฉพาะที่เหนือประตูทางเขาดานหนาพระวิหารหลวงเทานั้น แตที่เหนือ ประตูทางเขาดานหลังพระวิหารหลวงก็มีเชนกัน เปนผลงานของชางยุคปจจุบัน ปนเปนพญานาคสีทองเกี่ยว กระหวดั กันอยู แตดวยความที่ชางปนออกมาไดดูหยาบ พญานาคดูแข็งกระดาง ไรชีวิตตางไปจากดานหนา แถมตัว นาคยังทาสที องดูหลุดออกมาจากงานดั้งเดิม ทำใหพญานาคที่เหนือประตูดา นหลังของพระวิหารหลวงน้ีไดร บั เสยี งวพิ ากษวิจารณอยูไมน อยเลยและนี่ก็เปนเสนห พญานาคแหงเมืองนา น จากวดั ภมู ินทรแ ละ วัดพระธาตุแช แหง 2 วดั ซึ่งดงู ดงามมีชีวิตชวี าควรแคแ กการอนรุ ักษใหอ ยคู ูเมืองนานไปตราบนานเทานาน สรปุ จากทีก่ ลา วมาขา งตน ความคดิ เรื่องนาค ของชนชาตติ าง ๆ เปน ความคดิ รวมของมนุษยชาตทิ ่ีนา สนใจ และยังคงสืบทอดมาถึงปจจุบัน ซึ่งสอดคลองกับ ทฤษฎีปฏิสัมพันธเชิงสัญลักษณ (Symbolic Interaction) ของ จอรจ เฮอรเบริ์ต มีด (George Herbert Mead) ที่ สะทอนใหเห็นความสำคญั ของระบบสัญลักษณ จาก งานวรรณกรรมงานศิลปะ ความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรมนั้น นาคศรัทธาในพระพุทธศาสนาหรือเกี่ยวของ กับพระพุทธศาสนา เปนผูปกปกรักษาสถานที่สำคัญ หรือบานเมือง มีรูปลักษณคลายงูใหญและรูปลักษณที่ ทอ นบนเปน มนุษยท อนลา งเปนงู นาคเปน เจาแหง นำ้ และแผนดิน นาคท่เี ก่ยี วของกบั การเกษตรและความอุดม สมบูรณ นาคกับการสรางบานเรือนและที่อยูอาศัย นาคกับโหราศาสตรมโนทัศนนาคเปนผูชวยเหลือมนุษย และมโนทศั นรูปลักษณข องนาคมีความงามทางศิลปะ การวเิ คราะประติมากรรมเรือ่ งนาคจังหวดั นานในปจจบุ ันพบวายงั คงปรากฏการรบั รเู ร่อื งนาค เน่ืองจากมกี ารถา ยทอดผา นงานศิลปะจากรุนสรู นุ โดยเฉพาะในทอ งถนิ่ ท่เี ปน สงั คมแบบด้ังเดิมและมีประชากร ในวัยอาวุโสจะมีความเขมขนของการปรากฏและการสืบทอดมโนทัศนเ ร่ืองนาคสูง ท้ังน้บี ทบาทของ “สื่อ” น้นั เปน ปจ จยั สำคัญท่สี งผลใหร ะบบสัญลกั ษณเ รือ่ งนาคยังคงดำรงอยูในการรับรูของคนในสงั คม