ช่อฟา ความศรทั ธาของชาวน่าน ธรี ะบุตร ลุสีดา สาขาวฒั นธรรมศิลปกรรม และการออกแบบ รุน่ ที 11 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ชอ่ ฟาเปนเครอื งไม้สูง ประดับอยบู่ นอกไก่ตรงบรเิ วณทีไม้ สํารวย หรอื นาคสํารวยมาบรรจบกัน ชอ่ ฟานีจะใชป้ ระดับเฉพาะ พระราชวงั โบสถ์ วหิ าร ศาลาการเปรยี ญ และสิงก่อสรา้ งอืนๆ บาง ประเภทในวดั เท่านัน รูปลักษณะและความหมายของชอ่ ฟา - รูปครุฑจบั นาค ในเมือครุฑเปนพาหนะของพระวษิ ณุ จงึ สะท้อนใหเ้ หน็ ถึงการต่อสู้ระหวา่ งพระวษิ ณุ (โดยบรวิ าลของพระ วษิ ณุ) และพญานาครอบเขาพระสุเมรุ - รูปคล้ายหงส์หรอื นกในเทพนิยาย ตลอดจนรูปของชอ่ ฟาที มีลักษณะคล้ายเรอื หงส์ ชาวพม่าถือวา่ ชอ่ ฟาของเขาเปนรูปหงส์จรงิ ๆ - เปนคํายอ่ จากฉัตรสวรรค์ชอ่ ฟา ซงึ หมายถึงแดนสวรรค์ทัง หกชนั - เปนการผสมคําระหวา่ งคําวา่ ชอ่ และคําวา่ ฟา ชอ่ หมายถึง พวง ส่วนฟา หมายถึงส่วนเบอื งบนหรอื แดนสวรรค์ ดังนัน ชอ่ ฟา อาจหมายถึงการยนื ออกไปสู่แดนสวรรค์ก็ได้ อีกประการหนึง ชอ่ ใน ภาษาเหนือหมายถึง ธง คําวา่ ชอ่ ฟาจงึ อาจแปลความหมายตามนันได้ เหมือนกัน (สภาวฒั นธรรมจงั หวดั ลําพูน, 2555)
องค์ประกอบของช่อฟา 1. ส่วนปลายยอดหรอื หงอน 2. ส่วนปาก 3.ส่วนท้อง เรยี กวา่ อก สุบรรณ
ชอ่ ฟาวหิ ารวดั มิงเมือง
ชอ่ ฟาหอพระไตรปฎกวดั ศรพี ันต้น
ชอ่ ฟาวหิ ารวดั พญาวดั ทีถูกทําลายลงเพือจะสรา้ งใหม่
ชอ่ ฟาศาลาการเปรยี ญวดั มิงเมือง
ชอ่ ฟาอุโบสถวดั สวนตาล
ชอ่ ฟาพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ น่าน
ชอ่ ฟาอุโบสถวดั รอ้ งแง
ชอ่ ฟาวดั พระธาตุแช่แห้ง
ชอ่ ฟาวหิ ารวดั พระธาตุแชแ่ ห้ง
ชอ่ ฟาอุโบสถวดั ภูมินทร์
ชอ่ ฟาอุโบสถวดั สวนตาล
ชอ่ ฟาพระอุโบสถวดั พระธาตุชา้ งคา
ชอ่ ฟาอุโบสถวดั มิงเมือง
ธรี ะบุตร ลุสีดา นักวชิ าการวฒั นธรรมปฏิบตั ิการ สํานักงานวฒั นธรรมจังหวดั ขอนแก่น กําลังศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา หลักสูตรปรญิ ญาโท สาขาวฒั นธรรมศิลปกรรม และการออกแบบ รุน่ ที 11 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
Search
Read the Text Version
- 1 - 43
Pages: