44 ตอนที่ 61 บน้ั สำมพญำชนชำ้ ง ตัวบทท่ี 7 เมื่อนั้น พระจ่งิ จารจาต้าน ถามเถิงอามยิ่ง อนั ว่า มันก็นบนอบไท้ ทูลไหวบ้ อกพล ปะคือขาวนน้ั หาญขึ้นฟา้ มืด คือดังกาและแฮง ดลู ้นมากพล (หนา้ 394) ถอดความได้ว่า : พระเจ้าเมืองขวาง และพระเจ้าเมืองสรวง เม่ือส่งทูตไปเจรจาทูลตกลงกันว่า หากยกธุงขาว ขน้ึ แสดงวา่ ยอมแพ้ จากตัวบทดังกล่าวน้ีอยู่ในตอนท่ี 61 บ้ันสามพญาชนช้าง เป็นเหตุการณ์การตกลงในการชนช้างของ พระเจ้าเมืองขวาง พระเจ้าเมืองสรวง และพระเจ้าผายี หากฝ่ายใดยกธุงขาว หรือส้ินพระชนม์แสดงว่า เป็นฝ่ายแพ้ จากนั้นพญาท้ังสามจึงได้ชนช้างกัน และทาให้เจ้าฟ้าหยาดและลูก แห่งเมืองผายีส้ินพระชนม์ใน สนามรบ ซงึ่ ทาใหเ้ ห็นว่ามกี ารเรยี ก ปะคือ (ธุง) ซ่ึงมีปะคือขาวปรากฏอยู่ในเหตุการณ์การออกศกึ สู้รบ ซงึ่ แสดง ถึงการพักรบ หรือเปน็ การแสดงถึงการยอมรบั หากฝา่ ยใดฝ่ายหน่ึงเสยี เปรยี บ ตอนที่ 65 จดั แต่งเมอื งผำยี ตวั บทที่ 8 เม่ือนั้น เสนาทา้ ว แสนเมอื งทกุ หมู่ โฮมแล้ว เขากต็ ้งั ทพั ไว้ ปะคอื อาจตั้ง ขนนั เจา้ ชู่พาย ยนๆไกว เค็งๆกอ้ ง หลายหมู่พลแสน ตนพระเจา้ ลุ่มฟ้า แกว่งหางเหลอื งเหล้อื ม เสียงนนั เนอื งเสพ เซายัง้ ทสี่ นาม (หน้า 420) ถอดความได้ว่า : เสนา ไพรพ่ ลได้ตงั้ ทัพลอ้ มท่เี มอื งผายี หลังจากชนะศกึ มธี ุงตัง้ เรยี งทุกทิศสะบัดไสวและมีไพร่ พลหลายแสนเฉลมิ ฉลองเสยี งดังสน่ันทว่ั เมือง จากตัวบทดังกล่าวนี้อยู่ในตอนที่ 65 จัดแต่งเมืองผายี เป็นเหตุการณ์ที่พระยาเมืองขวาง และพระยา เมืองสรวงจัดแบ่งนางสนม สมบัติ ทรัพย์ศฤงคารต่าง ๆ ให้แก่ขุนศึก ไพร่พลทหารของตน เม่ือจัดการพระศพ เจ้าฟ้าหยาดเสร็จ จึงจัดเตรียมบ้านเมืองและกาลังพล เพ่ือบุกประชิดเมืองจาปาต่อไป จากตัวบทจะเห็นได้ว่ามี การเรียก ปะคือ (ธุง) ปรากฏอยู่ในเหตุการณ์การเฉลิมฉลองงาน เมื่อหลังได้รับชัยชนะหลังสู้ศึก เพ่ือเป็น เคร่อื งหมายแสดงให้กับไพรพ่ ล ตอนที่ 66 ฑูตำฟ้ำหยำดทูลพระเจำ้ จำปำ ตัวบทท่ี 9 ขา้ พระขอ ยังพายสารชา้ ง ตัวดดี อมราช จงิ เทอญ เมอ่ื นนั้ พระบาทให้เลือกชา้ ง ทั้งมา้ ปันให้ซขู่ ุน ตัวหนึ่ง เฮยี กซอ่ื ไฟลามไหม้ จกั วาลลือโลก
45 ใจเปง่ กลา้ หาญ้ล้าลว่ งขอ ตัวนีไ้ ว้แกอ่ สี รู ท้าว ชนซวดมา้ ง แสนเมืองทงขวี่ จงิ เทอญ ปะคอื แสดไว้ มนั ก็ไหลพลแพน พลท้าวบ่หน หมายหมอู่ ีสูร แปดแสนไปตัง้ (หน้า 426) ถอดความได้ว่า : พระยากามะทาทรงให้ขุนนางทุกคน เลือกช้างม้าเพ่ือใช้ในการออกรบ ตัวหน่ึงชื่อว่า ไฟลาม ไหม้ มอบแก่อีสรู ทา้ ว หรือผู้ท่ีเปน็ นักรบผู้กลา้ มีธุงแสดหมายไว้แก่ผกู้ ล้า ไพร่พลก็จับหอกตัง้ แถวแปดแสนคน จากตัวบทดงั กล่าวนี้อยู่ในตอนท่ี 66 ฑตู าฟ้าหยาดทูลพระเจ้าจาปา เป็นเหตุการณ์ที่ทูตเมืองฟ้าหยาด มาถึงเมืองจาปาและแจ้งแก่ “เพ็ชล่วง” ซ่ึงเป็นแม่ทัพเมืองจาปาว่า ศึกเข้ามาตีเมืองจาปา เจ้าฟ้าหยาดและลูก ได้สิ้นพระชนม์ เพ็ชล่วงจึงรีบเข้าทูลพระยากามะทาและเฝ้าท้าวคัชชนาม เพื่อเตรียมทัพรับการบุกประชิด ข้าศึก จะเห็นได้ว่ามีการเรียก ปะคือ (ธุง) ปรากฏอยู่ในการสู้รบ โดยในตัวบทนี้ได้มีการระบุสีปะคือแสด เพื่อเปน็ เคร่อื งหมายแสดงให้กับไพร่พล ตอนท่ี 67 ทัพพญำจำปำเล็วสองพญำ ตวั บทที่ 10 แต่นนั้ เสินๆช้าง ผาพังเพช็ ล่วง มาแลว้ ปะคอื มยุ่ กั้ง เพ็ชลว่ งฟ้า กางเขา้ บข่ าม มนั ก็วางปนื ไฟ เสียงโฮเบอ้ื ง ใสตอ่ เสินๆ ชายหม่ืนจ้ืน ผ่าไปเลยลม้ บาหาญเพ็ชลว่ ง ใจเขม้ แข่งไฟ (หนา้ 431) ถอดความได้ว่า : เพ็ชล่วงแม่ทัพเมืองจาปาเดินช้าง พร้อมธุงขาวก้ันบ่เกรงขาม เพ็ชล่วงฟ้าบ่กลัว เดินช้างผ่า ลูกปืนไฟ จึงทาให้เพ็ชล่วงล้มเสียงดังสนั่นไปท้ังเบ้ือง ทาให้แม่ทัพเพ็ชล่วงเปียกแฉะไปทั้งตัว เพราะใจแข็งแข่ง กับลูกไฟ จากตัวบทดังกล่าวน้ีอยู่ในตอนท่ี 67 ทัพพญาจาปาเล็วสองพญา เป็นเหตุการณ์ท่ีพระยากามะทา และท้าวคัชชนามบุกประชิดข้าศึกของทัพ พระยาเมืองขวาง และพระยาเมืองสรวง จะเห็นได้ว่ามีการเรียกว่า ปะคือ (ธุง) ปรากฏอยู่ในการสู้รบ โดยในตัวบทนี้ได้มีการระบุว่าเป็นปะคือมุ่ย หรือสีขาว เพื่อเป็นเคร่ืองหมาย แสดงใหก้ ับไพรพ่ ลหรือขา้ ศกึ ได้รู้ ตอนที่ 68 เศิกจะเขำ้ เมืองจำปำ ตวั บทท่ี 11 เมือ่ นั้น ยาบๆ้กา้ ท้าวทมุ่ เมอื งสรวง ทงเขาทอง ออกเวียงอวนหนา้ ปะคือขาวเปอื้ ง ลมไกวหมายหมู่ ไปแล้ว
46 พลล่วงเท้า คือนา้ อัง่ อาย เคือเล่าขนึ้ ขว่ชี า้ ง สารใหญ่ควงสวรรค์ ปะคือแดงไกว แกวง่ ลมเซยเขา้ ไหลพล้ก้า ภายขวาท้าวทุ่ม พระกว็ างลัน่ กอ้ ง สบแู กว้ คืน่ เคง็ พระบาทขนึ้ ขว่ีช้าง สารใหญ่สิงคี ปะคือค้าไกว แกวง่ ลมหนนุ เข้า กลองไชยเ์ บอ้ื ง สองเมืองตีสนั่น เสยี งฟั่งฟนื้ คือข้วา้ แผ่นดนิ (หนา้ 444) ถอดความได้ว่า : ฝ่ังพระยาเมืองสรวงก็ได้ยกทัพตีเข้ามา ธุงขาว แดง เบ้ืองโบกไสว กลองไชยเบื้องสองเมืองตี สนน่ั พระยาเมืองขวาง และพระยาเมอื งสรวงทรงขึน้ ชา้ งจบั ศึก จากตัวบทดงั กลา่ วนีอ้ ยู่ในตอนที่ 68 เศิกจะเข้าเมอื งจาปา เปน็ เหตกุ ารณ์ที่ทงั้ สองเมอื งระหวา่ งพระยา เมืองขวาง พระยาเมืองสรวง และพระยากามะทา ท้าวคัชชนาม ได้ทาศึกปะทะกันอย่างหนักหน่วง ซึ่งทาให้ เห็นว่า มีการเรียกว่า ปะคือ (ธุง) ปรากฏอยู่ในการสู้รบ โดยในตัวบทนี้ไม่ได้ระบุสีปะคือ แต่เป็นเครื่องหมาย แสดงให้กบั ไพรพ่ ล ตอนที่ 73 สองพญำกัวคชั ชนำม ตัวบทท่ี 12 เมอ่ื นนั้ ราชาเจา้ ทัง้ สองกษตั รยิ ์ใหญ่ พระก็ วางลั่นกอ้ ง สะบแู ก้วคืน่ เคง็ เมอื่ นนั้ ผู่ใสทา้ ว ภูวนาถสาขา พระก็ ทงคณู เมอื ง ออกเวียงไปหน้า ไหๆเหล้ือม ปะคอื คา้ สองหมู่ เมอื่ นน้ั เสียงเสพเทา้ ทะลงั พ้ืนแผ่นดิน ไปแลว้ พระก็ ขตั ติยะราชาเจา้ พญาใหญ่คัชชนาม ไหลพลมา หม่นื กอื กองล้น แท้เด ราชาเจา้ สองเมอื งหลงิ ้ล่า เฮ็วแลว้ ดดู ่ังพลเพ่ือนลน้ ขนานแท้แกต่ า แลนอ (หน้า 467) สองแจม่ เจา้ ตา้ นปากจากนั ฮาคอ่ ยหนุนพลแพน อย่าลอนลมื ฮู้ ดูดัง่ พลแพนท้าว เหลือตาคบั ทง่ กบ็ ่มีหอกงา้ ว สังแท้เป่าดาย ฮาจกั นองพลเข้า เอาคายสนั เก่า
47 ถอดความไดว้ า่ : ในขณะพระยาเมอื งขวาง และพระยาเมืองสรวง กาลงั รบอยนู่ ้นั ไดม้ องไปเห็นท้าวคชั ชนามผู้มี บญุ แกต่ น จากตวั บทดงั กล่าวน้ีอยู่ในตอนท่ี 73 สองพญากัวคัชชนาม เป็นเหตุการณ์ขณะสู้รบ เม่ือท้าวคัชชนาม ปรากฏตัวข้ึน พระยาเมืองขวาง และพระยาเมืองสรวงถึงกับตะลึงงัน จึงหยุดทัพและรีบลงมาจากหลังช้าง เพื่อกราบทูลขออภัยโทษ จากน้ันคัชชนามติเตียนคนเนรคุณท้ังสอง แล้วจึงยก “ท้าวไชยะราช” ซึ่งหนีภัย สงครามไปอยู่ท่ี “เมืองกาสี” ให้มาครองเมืองผายีแทน จะเห็นได้ว่าในตัวบทนี้ มีการเรียกว่า ปะคือ หรือ ธุง ปรากฏอยใู่ นการสูร้ บ ซงึ่ เปน็ เคร่อื งหมายใหก้ บั ไพร่พล จาการศึกษาตัวบทวรรณกรรมอีสาน เร่ือง ท้าวคัชชนาม พบว่า คาว่า ธง หรือ ธุง มีการใช้เรียกว่า ปะคือ เนอ่ื งด้วยเป็นภาษาโบราณท่แี ปลความหมายว่า รม่ หรือ ฉตั ร ซง่ึ เม่อื ปรวิ รรตแล้วก็มีความหมายตรงกับ คาว่า ธง โดยปะคือนั้นเป็นภาษาโบราณที่ตายไปแล้ว ซึ่งจะเห็นในตัวบทข้างต้น แต่ในช่วงตอนต้นเรื่องมีการ เรียกวา่ ธงุ ไชย ท่ีปรากฏอยู่ในเหตกุ ารณ์ตอนย่าเฒ่าฝัน ภายในเร่ืองมีการบ่งบอกถึงสีของธุงอันเป็นสัญลักษณ์ ที่ตา่ งกัน ดังเช่น ธุงไชยใช้ต้ังนาหน้า เพ่ือเปน็ สัญลักษณ์แสดงถึงชัยชนะ ส่วนธงุ สีแดงเบื้องขวา เป็นสัญลักษณ์ แสดงถึงการเสียสละเลือดเนื้อ ส่วนธุงสีเหลืองทองหรือแสดเบ้ืองซ้าย เป็นสัญลักษณ์แสดงถึง ความปลอดภัย ของไพร่พล หรือความน่าเกรงขาม ส่วนธงุ มุ่ย หรือธุงสีขาวตามหลงั เป็นสญั ลกั ษณแ์ สดงถงึ การพกั รบ หรอื เป็น การแสดงถึงการยอมแพ้หากฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงเสียเปรียบ ทั้งน้ียังปรากฏธุงคา (สันนิษฐานว่าเป็น ธุงคาส่ัง) เป็นเคร่อื งหมายเพอ่ื ออกคาสัง่ เมือ่ พร้อมทจี่ ะส้รู บ โดยจะมียกธุงขึ้นเหนือฟ้า นอกจากน้ีธุงยังปรากฏอยู่ในเหตุการณ์ การเตรียมออกศึก และการสู้รบมากที่สุด ดังจะเห็นได้จาก ตอนท่ี 56 ไม้ฮ้อยกอเกวียนฮ้อยเหล้มฮบจาปา ตอนที่ 57 เกวียนฮ้อยเหล้มโฮมพล ตอนที่ 58 ไม้ฮ้อยกอ เกวียนฮ้อยเหล้มเล็วเมืองผายี ตอนที่ 61 สองราชาแต่งฑูตาไปเถิงพระเจ้าผายี ตอนท่ี 61 บั้นสามพญาชนช้าง ตอนท่ี 66 ฑูตาฟ้าหยาดทูลพระเจ้าจาปา ตอนที่ 67 ทัพพญาจาปาเล็วสองพญา ตอนท่ี 68 เศิกจะเข้าเมืองจาปา และตอนท่ี 73 สองพญากัวคัชชนาม และพบว่ามีธุงท่ีปรากฏอยู่ในเหตุการณ์ ตอนที่ 65 จัดแต่งเมืองผายี ซ่ึงมีการจัดงานเฉลิมฉลองหลังการได้รับชัยชนะจากศึก แต่เหตุการณ์ดังกล่าวน้ี ก็มีความสอดคล้องกับการสู้รบอยู่ดี ซ่ึงธุงในตอนที่ 65 น้ีเป็นการนาธุงมาตกแต่งสถานที่งานเฉลิมฉลอง เพ่ือ แสดงถึงเคร่อื งหมายว่ามกี ารจัดงาน ทั้งน้ยี งั มเี หตกุ ารณใ์ นตอนต้นเรื่อง ตอนที่ 2 บนั้ พระอนิ ทร์ ที่ปรากฏธงุ อยู่ ในลักษณะของนิมิต หรือความฝัน เป็นการส่ือความหมายในการบอกเหตทุ ่ีจะเกิดข้ึนล่วงหน้า จึงกล่าวได้ว่าธุง ท่ีปรากฏในวรรณกรรมเร่อื ง ท้าวคัชชนามน้ี ใช้เป็นเครอื่ งหมาย เคร่ืองแสดง และเคร่ืองสงั เกตแกม่ นษุ ย์ 4.3.2 วรรณกรรมอสี ำน เร่อื ง พระยำคันคำก วรรณกรรมอีสาน เร่ือง พระยาคันคาก จัดเป็นวรรณกรรมทางพุทธศาสนาท่ีให้ทั้งสาระและความ บันเทิง สอดแทรกความรู้ ด้านคติธรรม คาคม และจารีตประเพณีท่ีดีงาม ซ่ึงจากการศึกษาแล้ว พบว่ามีธุง ปรากฏอยู่ในเรอื่ งในบางตอน โดยผู้วิจัยได้รวบรวมตวั บทในแตล่ ะตอนไวด้ งั นี้
48 ตอนท่ี 11 คำงคกใหส้ รำ้ งทำงข้นึ สู่เมอื งฟำ้ พระยำแถน ตวั บทที่ 1 ฟังยนิ คนื่ ๆ ก้อง กลองเสพสะบัดไชย พุ้นเยอ ยน ๆ ยวง ฮ่มขาวกางกั้ง พ้นุ เยอ หลิงเหน็ พาบ ๆ เหลื้อม ปะคอื ขาวไปก่อน นาคา ไปภายบน บอกทางทันเค้า กไ็ ป (หน้าท่ี 52) เม่อื นนั้ พระยาครุฑพรอ้ ม ทงั สังขไ์ ปกอ่ น ทะยานป่อมลม ก่อนบาบญุ กวา้ ง บินบนพรอ้ ม พงึ คณานกป่า ถอดความได้ว่า : ได้ยินเสียงตีกลองสะบัดไชยก้องสน่ัน มีร่มขาวกางกั้ง ปะคือ (ธุง) ขาวอร่ามตา พญานาคา เป็นผู้แจ้งทาง ขณะนน้ั พญาครฑุ พร้อมจึงได้ทะยานตวั บินไปพร้อมเหลา่ นกปักสาทง้ั หลาย จากตวั บทดงั กลา่ วนี้อยใู่ นตอนที่ 11 คางคกให้สร้างทางขน้ึ สเู่ มืองฟา้ พระยาแถน ซ่ึงเปน็ ตอนที่พระยา คันคากนั้นให้เหล่าพญานาคและปลวกสร้างทางข้ึนไปสู่พระยาแถนโดยเร็ว เมื่อสร้างทางเสร็จแล้วพระยาคัน คากจึงรวบรวมไพร่พลและรีบส่ังให้ม้าเร็วไปแจ้งแก่พระยาเมืองต่าง ๆ ซ่ึงให้มาสมทบภายในเจ็ดวัน เหล่าไพร่ พลจากเมืองต่าง ๆ ต่างนาทัพหล่ังไหลมาเข้าเฝ้าพระยาคันคาก จึงรวมกา ลังพลได้เป็นแสนล้านคน พญาช้างสารนับแสนเชือก โดยมาชุมนุมกันเต็มแผ่นธรณี มีช้างเผือกฉัททันต์ถึงแปดหมื่นสี่พันตัว งดงามด้วย เครื่องประดับทองคา เพ่ือนาทัพไปสู้กับพระยาแถนท่ีไม่ยอมปล่อยน้าลงมายังโลกมนุษย์ จากตัวบทข้างต้น จะเห็นว่ามีปะคือขาว หรือธุงสีขาว ปรากฏอยู่ในเหตุการณ์รวบรวมไพร่พลเตรียมท่ีจะสู้รบกับพระยาแถน ซ่ึงเป็นเครื่องหมายแสดงถึงการสู้รบ แต่ในตัวบทระบุไว้ว่าเป็นปะคือสีขาวจึงสันนิษฐานว่า ปะคือขาวดังกล่าว เป็นการแสดงถึง การพักรบ หรือเป็นการแสดงถึงการยอมแพ้หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียเปรียบ แต่ในบริบทน้ี เป็นไปไม่ได้ว่าพระยาคันคากจะนาปะคือขาวนี้ไปใช้เพ่ือขอยุติการสู้รบ แต่น่าจะเป็นการไปขอเจรจาการสู้รบ ซึ่งอาจจะเหน็ ในตอนทพี่ ระยาคนั คากขอชนชา้ งกบั พระยาแถน จึงอาจจะนาปะคอื ขาวน้ไี ปใชใ้ นการเจรจา ตัวบทที่ 2 ฝงู หมู่ คนเซง็ ชัน้ ช้นั ขาลายเขียดตะปาด เขานัน้ เปน็ เล็กน้อย คนช้ันแนบใน ทนั ท่ี ยน ๆ ย้าย ปะคือไชยไปก่อน งามซะลา้ ย ทงั เอเ้ ครื่องขาว อันวา่ พระยานาคเจา้ อันอยู่ในสมทุ ร ก็ไป พระองค์นั้น นิมติ เป็นฉันคน แหพ่ ระองคห์ ัวหนา้ อันว่า ปติ าไท้ มาดาพอ่ แม่ สองเถา้ ยังอฺยูบ่ ้าน ปนุ ปอ้ งนั่งเมือง (หนา้ ท่ี 57) ถอดความได้ว่า : หมู่คนทุกชนช้ัน ค่อย ๆ เคลื่อนย้าย โดยมีปะคือไชย หรือธุงชัยนาหน้า พญานาคอันอยู่ใน ใต้มหาสมุทรเดนิ ทางแห่พระยาคนั คาก สว่ นบดิ าและมารดาของพระยาคันคากยังอยเู่ มอื ง เพื่อปกปอ้ งเมือง
49 จากตวั บทดงั กล่าวนี้อยใู่ นตอนท่ี 11 คางคกใหส้ รา้ งทางข้ึนสู่เมืองฟา้ พระยาแถน ซ่ึงเป็นตอนท่ตี ่อจาก ตัวบทที่แล้วว่ามีผู้ใดออกเดินทางสู้รบร่วมกับพระยาคันคาก แต่ยังเหลือเพียงบิดาและมารดาของพระยาคัน คากที่ยังอยู่เฝ้าเมือง ซึ่งตัวบทข้างต้นน้ีได้กล่าวถึงปะคือไชย หรือธุงไชย นาหน้า ซ่ึงเป็นการแสดงถึงชัยชนะ ปรากฏอยู่ในเหตุการณก์ ารสูร้ บ ตอนที่ 14 พระยำแถนไมฟ่ ังคำโหรทกั ตวั บทท่ี 3 ภธู ร ทรงพลายสาร ออกเวยี งยกยา้ ย ฟงั ยิน คน่ื ๆ กอ้ ง สะบดั ไชยเตอื นปา่ ว พนุ้ เยอ ฝงู หมู่ เสเนศพร้อม ทงั คา้ ยแหแ่ หน หลงิ เหน็ ไยไ่ ยเ่ ปอื ง ปะคอื ปลิวไปกอ่ น พ้นุ เยอ ฝูงหมู่ ไทฮม่ พร้อม กางก้ังมดื มัว ฟงั ยนิ งง ๆ ฆ้อง ตอ่ ยตีเตือน พนุ้ เยอ (หนา้ 63) ถอดความได้ว่า : พระยาแถนทรงเสด็จข้ึนหลังช้างยกพลออกจากวังไป เสียงกลองสะบัดไชยตีปลุกใจเหล่า ทหารดงึ กึกก้อง เหล่าไพร่พลพากันแห่แหนพระยาแถนออกไปสู้รบ มองไปเห็นปะคือ โบกปลิวไสว พวกพลร่ม กต็ ่างพากันกางรม่ ตวั บทที่ 4 เมื่อน้นั อือทือก้า่ พระยาหลวงคนั คาก เจา้ ก็ จา่ หมอโหร บอกยามไปหน้า ยาบ ๆ แส้ ไปกอ่ นปะคอื ไชย (หนา้ 64) ถอดความได้ว่า : ขณะกาลังจะออกศึกพระยาคันคากจึงจาคาของโหราจารย์ไว้ว่า ให้นาปะคือไชยนาหน้า เพ่ือแสดงถงึ การไดร้ บั ชัยชนะ จากตัวบทดังกล่าวน้ีอยู่ในตอนท่ี 14 พระยาแถนไม่ฟังคาโหรทัก เป็นตอนท่ีพระยาแถนไม่เช่ือฤกษ์ มหาไชยท่ีโหราจารย์ได้กล่าวว่า หากท่านยกทัพไปสู้ศึกวันนี้ท่านอาจพ่ายแพ้ อดใจรอให้ถึงพรุ่งนี้ก่อนเถิด ถึงจะได้รับชัยชนะ แต่พระยาแถนไม่เชื่อฟังโหราจารย์ จึงได้ยกทัพรวบรวมไพร่พลทหารออกจากวัง และได้สู้รบกับพระยาคันคาก เหตุก่อนออกศึกพระยาคันคากได้จาคาโหราจารย์บอกไว้ว่า ให้นาประคือชัย นาหนา้ เพราะเปน็ การแสดงถงึ การได้รบั ชยั ชนะ จากตัวบทขา้ งต้นกลา่ วไดว้ า่ ธงุ ท่ปี รากฏมกี ารเรียก ปะคือ ซึ่ง อยู่ในเหตุการณ์สู้รบ หรือการเตรียมพร้อมท่ีจะออกรบ และมีการปรากฏคาว่า ปะคือไชย ซึ่งแสดงถึงชัยชนะ จากขา้ ศึก ตอนที่ 17 มอดเข้ำทำลำยสงิ่ ของฝำ่ ยแถน ตัวบทที่ 5 เม่อื นน้ั โยธาพรอ้ ม นนั เนืองแหนแห่ ดแี ก่ ทกุ ซู่ดา้ น ขวาซา้ ยเกิ่งกนั เค็ง ๆ กอ้ ง สะบัดไชยตปี ่าว
50 ยาบ ๆ ฟอ้ น ปะคอื ด้างดาบไชย สน ๆ แส้ อาชาไนยหือละแหน่ เผยี ง ๆ ชา้ ง เสถียรฮ้องคื้นเคง ทม ๆ กอ้ ง เวหาอากาศ ชาด ๆ ช้าง หลายตอื้ เฮอื่ งา (หนา้ 74) ถอดความได้ว่า : ฝั่งพระยาคันคากได้จัดทัพไพร่พลอีกคร้ัง ไพร่พลโยธาต่างแห่แหนกันมาเนืองแน่นทุกทิศ นั่งปีกซ้ายปีกขวามากมายเท่ากัน เสียงกลองสะบัดไชยตีปลุกใจทหารหาญดังกระหึ่ม ที่เห็นปลิวไสวน่ันคือธง และมีภู่ท่ีตดิ ดา้ มดาบ เสียงลงแส้เร่งม้าอาชาไนย อาชาไนยเลยร้องเสยี งแหลม พวกช้างก็ส่งเสียงร้องกึกกอ้ งทั่ว เวหาอากาศ ทัพช้างมากมายหลายล้านล้วนมีงาสะพรั่ง ราชาคางคกนาร้ีพลรุกเข้าจนประชิดวังพระยาแถน แถนกแ็ ตกตน่ื ตีฆอ้ งโกลาหล จากตัวบทดังกล่าวนี้อยู่ในตอนท่ี 17 มอดเข้าทาลายส่ิงของฝ่ายแถน ซ่ึงเป็นเหตุการณ์หลังจากได้รบ กันไปแล้ว 1 ครั้ง ทาให้พระยาคันคากได้ถอยทัพกลับมาตั้งหลักใหม่ ขณะกลางคืนพระยาคันคากจึงสั่งให้พวก มอดไปกัดกินอาวุธของแถนจนหมดส้ิน พอถึงรุ่งเช้าพระยาคันคากจึงได้จัดทัพใหม่อีกคร้ังพร้อมท่ีจะสู้กับแถน แถนจึงท้าชนช้าง โดยไม่ต้องให้ไพร่พลเสียเลือดเน้ือแต่อย่างใด ท้ายท่ีสุดแถนจึงพ่ายแพ้ต่อพระยาคันคาก จากตัวบทดงั กล่าวนี้จะเห็นได้ว่า มีการเรียก ธุง ว่า ปะคือด้างดาบไชย เพราะปะคือประเภทน้ีเป็นปะคือภทู่ ่ีติด ด้ามดาบ ซึ่งปรากฏอยู่ในเหตุการณก์ ารสรู้ บ จากการศึกษาตัวบทวรรณกรรมอีสาน เรื่อง พระยาคันคาก พบว่า มีการปรากฏธุง ว่า ปะคือ ซึ่งปะคือมีความหมายว่า ร่มหรือฉัตร หากปริวรรตแล้วตามความหมายจะหมายถึง ธง หรือ ธุงน้ันเอง ส่วนลักษณะของธุงที่ปรากฏนั้นเห็นว่า มีปะคือ ปะคือขาวและปะคือไชย ส่วนบริบทในการปรากฏอยู่นั้นคือ เหตุการณ์การสู้รบท้ังหมด ซ่ึงปะคือไชยจะใชน้ าหน้าการสู้รบ อันหมายความวา่ ชัยชนะหรือความสิริมงคลแก่ ทัพ ส่วนปะคือขาวน้ัน คือการพักรบ หรือการยอมแพ้หากฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงเสียเปรียบ ดังจะเห็นได้จาก ตอนท่ี 11 คางคกให้สรา้ งทางข้ึนสเู่ มืองฟ้าพระยาแถน ตอนที่ 14 พระยาแถนไมฟ่ งั คาโหรทกั และตอนที่ 17 มอดเข้า ทาลายสง่ิ ของฝ่ายแถน 4.3.3 วรรณกรรมอสี ำน เรอื่ ง ตำนำนอุรังคธำตุ วรรณกรรมอีสานเรื่อง ตานานอุรังคธาตุ เป็นนิทานเก่าแก่ท่ีถูกเรียบเรียง 3 เร่ือง ได้แก่ ศาสนานคร นิทาน เป็นเร่ืองเก่ียวกับลาดับกษัตริย์ท่ีประมวลมาจากพงศาวดารล้านช้าง ปาทลักษณนิทาน เป็นเร่ือง เกี่ยวกับการประทับรอยพระพุทธบาทในลุ่มแม่น้าโขง และอุรังคธาตุนิทาน เป็นเร่ืองเก่ียวกับการสร้างเจดีย์ บรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุในลมุ่ น้าโขง ซ่ึงจากการศึกษาแล้ว พบวา่ มีธงุ ปรากฏอยู่ในเรื่องในบางตอน โดยผู้วจิ ยั ได้รวบรวมตัวบทในแต่ละตอนไว้ดังน้ี
51 อุรงั คธำตุนิทำน ตอนที่ 10 อญั เชญิ พระอรุ ังคธำตุส่ภู ูกำพร้ำ ตวั บทที่ 1 ยามพอใกล้รุ่ง มหากัสสปะเจ้าพาอรหัตตาห้าร้อยตน น่าอุรังคธาตุ พระเจ้าไปไว้เทิง แท่นท่ีอูบมุงอันบ่แล้วน้ัน ครั้นว่า แจ้งแล้วจีงเข้าไปบิณฑบาตในเมืองหนองหาญหลวงแล หนองหาญน้อย พญาสุวรรณภิงคาร พญาค่าแดง แลชาวเมืองทั้งหลายใส่บาตรแล้ว จีงแต่ง ประธูป ประทีป คันธรสของหอมทุกเยื่องดอกไม้ ทุงไชยทุงกระด้าง ท้ังหลายไปก่อนแล้ว (หน้า 60) ถอดความไดว้ ่า : เวลาใกล้รุง่ พระมหากัสสปเถระพาพระอรหัตหา้ รอ้ ยตน นาเอากระดกู หัวอกของพระพุทธเจ้า ไปไว้บนแท่นเจดีย์ท่ีก่ออิฐถือปูน รูปกลมไม่มียอด จากนั้นจึงได้เข้าไปบิณฑบาตในเมืองหนองหาญหลวงและ หนองหาญน้อย ซึ่งมีพญาสุวรรณภิงคาร พญาคาแดง และชาวเมืองท้ังหลายใส่บาตร แล้วจึงแต่งธูปเทียน ตะเกียงดอกไม้ และทงุ ไชยทงุ กระดา้ ง จากตัวบทดังกล่าวอยู่ในอุรังคธาตุนิทาน ตอนที่ 10 อัญเชิญพระอุรังคธาตุสู่ภูกาพร้า ซึ่งเป็นตอนที่ พระมหากัสสปะเถระพร้อมด้วยพระอรหันตาเจ้าห้าร้อยตน ได้พากันอัญเชิญพระอุรังธาตุของพระพุทธองค์ มาสู่ภูกาพร้า ผ่านเมืองหนองหาญหลวง พญาสุวรรณภิงคารกับพญาคาแดง เจ้าเมืองหนองหาญหลวงกับเจ้า เมืองหนองหาญน้อย ได้ออกมากราบไหว้ แล้วเกิดความอยากได้พระอุรังธาตุไว้บูชาอยู่เมืองของตน จึงพากัน ก่อธาตสุ ถปู แขง่ กันระหวา่ งชาวบา้ นผู้ชายกบั ผู้หญงิ เพือ่ จะได้เอาพระอุรงั ธาตุขององค์พระพุทธเจา้ มากราบไหว้ โดยผู้หญิงใช้มารยาล่อผู้ชาย ทาให้ธาตุสถูปของผู้หญิงสร้างสาเร็จก่อน โดยให้ชื่อว่า “ธาตุนารายเจงเวง” แต่ พระมหากัสสปะห้ามไม่ให้เอาพระอุรังธาตไุ ว้ท่แี ห่งน้ี เพราะวา่ องค์พระพทุ ธเจ้าไมไ่ ด้สงั่ ความไว้ก่อนปรินพิ พาน จึงให้พระอรหันต์นาเอาพระอังคารธาตุมาให้ใส่ไว้ในธาตุสถูปไว้บูชาแทน จากตัวบทข้างต้นจะเห็นได้ว่ามีธุง ปรากฏอยู่ในส่วนของพิธีกรรมทางศาสนาโดยการใส่บาตร ส่วนการเรียกชื่อ ธุง ถูกเรียกว่า ทุงไชย และ ทุงกระด้าง ซ่ึงมีการใช้พยัญชนะ ท แทน ธ ซ่ึงทุงไชยนั้น เป็นเคร่ืองหมายของชัยชนะหรือความสิริมงคล สว่ นธงุ กระด้าง เป็นเครอ่ื งหมายของการบชู าสถูปเจดีย์ ลกั ษณะทุงกระดา้ งจะมีรูปนักษตั ร อรุ งั คธำตนุ ิทำน ตอนท่ี 12 พญำอินทรำธริ ำชมำบูชำพระอรุ งั คธำตุ ตวั บทที่ 2 จตุรงคเทวบุตรทงั้ 4 มีบริวารพันหน่งึ เปา่ หอยสงั ข์อวนไปก่อน ถัดนนั้ เทวดาพนั ตนถอื ชอ่ เทวดาพนั ตนถอื ธุง เทวดาพนั ตนถือ ดอกไม้เครือ่ งสักการบชู า เทวดาพันตนถอื ดอกโกมุท เทวดาพนั ตนถือ ดอกกสุ มุ พุ ถัดน้นั เทวดาสสี่ ิบตนถือ ผ่านตะวัน เทวดาสสี่ ิบตนถือเสตตฉัตร เทวดาสส่ี บิ ตนถือ วแี กว่ง
52 เทวดาสสี่ ิบตนถือ จามรแกวง่ (หนา้ 74) ครั้นว่าเอาเครื่องทั้งมวลฝูงน้ีไปฮอดภูก่าพร้าแล้วจึงเข้ามาถวายพญาอินทร์เจาะใส่หัว แล้วไปเอาให้ บุปผาเทวบตุ รเอาไปอยายบูชาชดุ ้านใหเ้ สมอกนั เทอญ ถอดความได้วา่ : เทวดาทั้ง 4 เปา่ หอยสังข์ข้นึ ก่อน ถดั จากน้ันมเี ทวดาพนั ตนถือช่อ ต่อมามีเทวดาพนั ตนถือ ธุง รองลงมามีเทวดาพันตนถือ ดอกไม้เคร่ืองสักการบูชา มีเทวดาพันตนถือ ดอกบัวแดง และมีเทวดาพันตนถือ ดอกกุสุมพุ ถัดจากนั้นเป็นเทวดาส่ีสิบตนถือ ผ่านตะวัน ต่อมาเทวดาสี่สิบตนถือ ร่มสีขาว จากนั้นเทวดาสี่สิบ ตนถือ พดั โบก และเทวดาสสี่ ิบตนถือ จามรแกว่ง หรือเคร่อื งสงู ชนิดหนง่ึ สาหรับประดบั ขบวน ตวั บทท่ี 3 ถดั นน้ั นางเทวดาท้งั หลาย 3 แสนตน ถือชอ่ ธุง ถือดอกไม้ ถือเทียนตามใจนัก ถัดนั้น เทวทูตเทวบุตร เทวทูตเทวดาท้ังหลายมักว่าชุมโถง แลใช้ช่วงฝูงน้ีได้ 3 แสนตน ถือ ทวนดอกไม้กางของต่างฮม่ กงั้ เทวบตุ รเทวดา ทั้งหลายทว่ั โลกกอ็ ยดู่ ว้ ยฮ่มอันนน้ั เสียทั้งมวล ถัดนน้ั มาตลีเทวบุตรแลอนมุ าเทวบตุ รนังคสารถแี นมราชรถถือ ประคอื ไชย ถดั นนั้ เทวดาทัง้ หลายแสนหน่ึงถอื เทียน แสนหน่งึ ถือ ธงุ แสนหนึ่งถอื ดอกไม้ ถดั นน้ั พญาท้งั 4 ถือ ระฆงั คา่ มบี ริวารแสน 1 ถอื ชอ่ ธุงเทียนดอกไมแ้ ห่กา่้ ขวา ถัดน้ันสุริยเทวบุตร จันทรเทวบุตร มือซ้ายถือดอกไม้ชะเอมเทศมือขวาถือหอยสังข์มีบริวาร แสน 1 ถือช่อธงุ เทยี นดอกไม้แห่กา่้ ซา้ ย ถัดน้ันเทวดาทั้งหลาย 3 แสน ถือดอกมัททวรี แลถือธุง ถือเทียนตามค่ามักมุบหลังทั้งมวล (หนา้ 76 - 77) ถอคความได้ว่า : ถัดน้ันมีนางเทวดาทั้งหลายสามแสนตน ถือช่อธุง ถือดอกไม้ ถือเทียน ถัดมามีเทวบุตร และ เทวทูตเทวดาทั้งหลายถือ ช่อดอกไม้กางร่ม ถัดมาน้ันมีมาตลีเทวบุตร อนุมาเทวบุตร และคนบังคับม้าถือ ประคือไชย หรือธุงไชย ถัดมาน้ันเทวดาแสนหนึ่งถือเทียน อีกแสนหนึ่งถือ ธุง และอีกแสนหนึ่งถือ ดอกไม้ ถัดนั้นพญาทั้ง 4 ถือ ระฆังคา มีบริวารแสน 1 ถือ ช่อธุง เทียนดอกไม้ ถัดนั้นสุริยเทวบุตร จันทรเทวบุตร มือซ้ายถือดอกไม้ชะเอมเทศ มือขวาถือหอยสังข์มีบริวารแสน 1 ถือ ช่อธุงเทียนดอกไม้ และถัดจากน้ันเป็น เทวดาทง้ั หลาย 3 แสน ถือดอกมัทวรี และถือธงุ ถอื เทยี น ตวั บทท่ี 4 ในกาลยามนั้น เทวดา นาค ครุฑกุมภัณฑ์ คนธรรพ์ ยักษ์ ฝูงอยู่ขอบจักรวาลก็มาฮอด ภูก่าพร้า ในกาลยามนั้น ก็ปฏิสันถารต้านจารจากันดอมเทวดาท้ังหลาย ฝูงอันเป็นนายจ่าเริญรักษา คาดไว้น้ัน ซ้่าหลิ่นมหรสพคบงันสักการบูชาธาตุท่ีนั้นหลาย ประการต่าง ๆ สืบไป บูชาด้วยกันธะของ หอมประธูป ประทปี เทยี น ชอ่ ทงุ เปน็ ต้น (หน้า 85) ถอคความได้ว่า : เมื่อนั้น เทวดา นาค ครุฑ ชาวสรรค์ ยักษ์ ที่อยู่ขอบจักรวารก็มาถึงภูกาพร้า ก็มีการทักทาย โต้ตอบกันของเหล่าเทวดาทั้งหลาย และมีการเล่นมหรพสักการบูชาพระธาตุ โดยเคร่ืองบชู ามีดังนี้ เคร่ืองหอม ธูป ตะเกียง เทยี น และช่อทุง เป็นต้น
53 จากตัวบทดงั กล่าวทีอ่ ยู่ในอุรังคธาตุนิทาน ตอนท่ี 12 พญาอินทราธิราชมาบูชาพระอุรงั คธาตุ เป็นตอนที่เม่ือเจ้าพญาท้ัง 5 ได้ลาจากกันกลับเมือง หลังจากน้ันพระวิษณุกรรมจึงได้ลงมาลักลายอูบมุง เหล่าเทวดาท้งั หลายก็ต่างลงมาบูชาพระอรุ ังธาตุพรอ้ มถอื เครอ่ื งสกั การะต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเป็นเครื่องหอม ดอกไม้ ธูป เทียน ตะเกียง หรือแม้ธุง ก็นับได้ว่าเป็นเคร่ืองที่แสดงถึงความศักดส์ิ ิทธ์ิ จากนั้นเมื่อถึงภูกาพร้าเทวดาต่าง แบง่ เวรยามกนั มาดูแลรักษาพระอรุ งั คธาตุ จะเห็นได้ว่าจากตวั บทข้างต้นนัน้ ปรากฏธุง ในลักษณะของพิธีกรรม ทางศาสนา ซึ่งมีเคร่ืองสักการบูชาต่าง ๆ แก่อุรังคธาตุ ที่แสดงถึงความศักด์ิและการนับถือ ทั้งน้ีแล้วยัง ปรากฏธุงในช่ือเรียกท่ีหลากหลายช่ือ ได้แก่ ธุง ทุง และปะคือ หรือประคือ ซึ่งทั้งสามชื่อน้ีก็มีความหมาย เหมือน ๆ กัน หากขึ้นอยู่กับผู้เรียก นอกจากนี้แล้วยังมีการปรากฏคาว่า ช่อธุง ซ่ึงสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นธุงที่ เรียงร้อยต่อกันเป็นกลุ่ม อันแสดงถึงสายใยแห่งบุญ ส่วนประคือไชย เป็นปะคือที่ใช้ในขบวน อันหมายถึง ความมงคล อรุ ังคธำตุนทิ ำน ตอนที่ 25 อำนิสงส์กำรสรำ้ งหนงั สอื ตำนำนอรุ ังคธำตุ ตัวบทที่ 5 โย ปุค̣คโล อันว่า บุคคลผู้ใด คือว่านักบวชแลคฤหัสถ์ หญิงชายผู้ใดผู้ 1 ก็ดี อันมีเจตนา ศรัทธาฟงั เชื่อใสในกุศลธรรม ลิก̣ขิต วา่ ได้แตม้ ไดเ้ ขียนด้วยตนก็ดี ไดจ้ ้างท่านเขียนให้กด็ ี จิน̣ติต ว่าได้ระนึกคิด เถิงก็ดี ปูช ว่าได้สักการบูชาด้วยบรมมิส มีต้นว่าข้าวน่้าโภชนะอาหาร ข้าวเปลือก ข้าวสาร วัตถุ เงินค่า แก้ว มุกดาหาร วัตถภุ ารณประทปี ประธูป ชอ่ ทุง สัตร เกิบ น่้าอนุ่ น่า้ เย็น แล ไม้สีฟนั เป็นตน้ ก็ดี (หน้า 164) ถอคความได้ว่า : โย ปุค̣คโล บุคคลผู้ใด คือนักบวชและผู้ครองเรือนชายหญิงอันมีเจตนาศรัทธาในกุศลธรรม ลิก̣ขิต ว่าได้การเขียนด้วยตน และได้จ้างท่านเขียนให้ก็ดี ส่วน จิน̣ติต ว่าได้ระนึกคิดถึง และ ปูช ว่าได้ สักการบูชาด้วย ข้าวน้าโภชนะอาหาร ข้าวเปลือก ข้าวสาร วัตถุ เงินคา แก้วมุกดาหาร วัตถุอาภรณ์ ประทีป ประธปู ชอ่ ทงุ สัตร เกิบ นา้ อุน่ น้าเย็น และ ไมส้ ีฟัน เปน็ ตน้ จากตัวบทดังกล่าวอยู่ในตอนอุรังคธาตุนิทาน ตอนท่ี 25 อานิสงส์การสร้างหนังสือตานานอุรังคธาตุ เปน็ ตอนสดุ ท้ายท่มี กี ารกลา่ วถึงอานิสงสก์ ารสร้างตานานอรุ งั คธาตุ บ่งบอกถงึ ผลแห่งบุญการสรา้ งหนังสอื เล่มน้ี ขึ้น ซึ่งไม่ว่าจะเป็น เร่ืองการเคารพเชื่อฟังก็ดี การสักการบูชาก็ดี หรือผู้เขียนก็ดี ย่อมได้รับผลแห่งบุญท่ีดีงาม เสมอ ซึ่งจะเห็นว่าตัวบทข้างต้นน้ีมีธุง ปรากฏอยู่ด้วยและถูกเรียกว่า ทุง มีความหมายเดียวกันกับคาว่าธุง และจะเห็นว่ามีการกล่าวถึงส่วนของพิธีกรรมทางศาสนา คือมีการสักการบูชา อันแสดงถึงการถวายเป็นพุทธ บชู า จาการศึกษาตัวบทวรรณกรรมอีสาน เร่ือง ตานานอุรังคธาตุ พบว่า มีการปรากฏธุง ว่า ธุง ทุง หรือ ประคือ ซึ่งในทางความหมายก็คือ ธุง หรือ ธง น้ันเอง ส่วนลักษณะของธุงที่ปรากฏน้ันเห็นว่า มีธุง ช่อธุงหรือ ช่อทุง และประคือไชย ส่วนบริบทในการปรากฏอยู่น้ันคือ พิธีกรรมทางศาสนา โดยการสักการบูชาอุรังคธาตุ ซึ่งช่อธุงนั้นสันนิษฐานว่า เป็นธุงท่ีเรียงร้อยต่อกันเป็นกลุ่ม อันหมายถึง สายใยแห่งผลบุญ ส่วนประคือไชยนั้น น่าจะเป็นการเคลื่อนขบวน อันหมายถึงความสิริมงคล ดังจะเห็นได้จาก ตอนท่ี 11 คางคกให้สร้างทางข้ึน ส่เู มอื งฟ้าพระยาแถน ตอนที่ 14 พระยาแถนไม่ฟังคาโหรทัก และตอนท่ี 17 มอดเข้าทาลายสิ่งของฝา่ ยแถน
54 4.4 ธงุ ทปี่ รำกฏในวรรณกรรมอสี ำนทว่ี ำ่ ด้วยเรอ่ื งจกั รวำลวทิ ยำ จากการวิเคราะห์ตัวบทวรรณกรรมอีสาน เรื่อง ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และตานานอุรังคธาตุ เป็นวรรณกรรมสองฝ่ังโขงที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาต้ังแต่สมัยโบราณ ซ่ึงมาในรูปแบบของเร่ืองเล่าชาวบ้าน หรือแบบมุขปาฐะ ท้ังที่เป็นเรื่องราวของความเช่ือ โดยมักเก่ียวข้องกับเร่ืองของพระราชา เทวดา ของวิเศษ ต่าง ๆ หรือยักษ์ที่เป็นวัตถุในการเล่านิทานให้เด็กฟัง ซึ่งการดาเนินเรื่องมักจะเป็นการสู้รบ ตีเอาเมือง และยกธิดาของเมืองนั้นให้ผู้ท่ีชนะครอบครอง ท้ังนี้แล้วพระราชาจะต้องมีความเที่ยงธรรม และมีธรรมธิบาล ชักจูงให้ผู้คนทาความดี มศี ลี ธรรมให้เป็นพสกนกิ รประสบแตค่ วามดี พ่ึงเปน็ ลกั ษณะของผปู้ กครองทด่ี ี เมอ่ื มอง ราชา หรือผู้ปกครองเมืองในทางจักรวาลวิทยาแล้ว พบวา่ มีลักษณะการปกครองที่เหมือน ๆ กัน ดังจะเห็นได้ จากแนวคิดจักรวาลวิทยาอันประกอบด้วย หนึ่งการปกครองด้วยการใช้กฎหมายด้วยวิธีการเขียนหนังสือเร่ือง ไตรภูมิพระร่วง เพ่ือเป็นคาสอนให้พสกนิกรทุกหมู่เหล่าได้กระทาแต่ความดี ละเว้นความช่ัว สองใช้อานาจใน การปกครองแบบพ่อปกครองลูกผนวกกับนาความเช่ือด้านพระพุทธศาสนามาปกครองอย่างกลมกลืน และสามส่งเสริมนโยบายขยายอาณาจักร ด้วยวิธีการสารวจ สุดท้ายปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง ชักจูงให้ พสกนกิ รกระทาแตค่ วามดเี ปน็ ผ้ปู กครองท่ีดี และใชอ้ านาจโดยธรรม ท้ังนี้ธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสานทั้ง 3 เรื่องส่วนใหญ่เป็นธุงที่เกี่ยวข้องกับการสู้รบ และพิธกี รรมทางศาสนา เพราะธงุ เป็นเครื่องหมาย เคร่ืองสังเกตให้แก่พวกไพร่พล โดยผู้วิจัยไดว้ ิเคราะหต์ วั บท และจัดหมวดหมู่ธุงตามความเหมาะสมและตามบริบทเหตุการณ์ พบว่า ธุงมีจานวน 9 ประเภท ได้แก่ 1) ธุง ธรรมดา 2) ธุงชัย 3) ธุงคา หรือธุงคาส่ัง 4) ธุงกระด้าง 5) ธุงปฏาก หรือธงจระเข้ 6) ธุงด้างดาบไชย 7) ธุง ประดับ 8) ธุงประกอบพิธีกรรม และ9) ช่อทุง เมื่อมองธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานทั้ง 3 เร่ืองตาม โครงสร้างจกั รวาลวทิ ยาแล้วนนั้ ธุงกส็ ามารถเปรียบเสมือนเปน็ ตวั แทนแกนจักรวาล เพราะเป็นศูนยก์ ลางแสดง ถึงเคร่ืองหมาย เคร่ืองสังเกตให้แก่มนุษย์ ซ่ึงธุงในแต่ละประเภทน้ันก็มีความแตกต่างกันออกไปตามลักษณะ เค้าโครงและสีท่ีบ่งบอกถึงสัญลักษณ์อย่างหนึ่ง แต่ส่ิงท่ีเหมือนกันคือ ธุงจะต้องประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วน หัวธุง ผนื ธงุ และชายธุง เป็นลกั ษณะทต่ี ายตัว ซ่ึงผวู้ ิจัยได้วเิ คราะห์ตามโครงสร้างจักรวาลวิทยาไว้ดังนี้ ลักษณะของธุง ท่มี ำ : ประทบั ใจ สกิ ขา, 2554
55 จากเค้าโครงแบบลักษณะธุงข้างต้นประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนหัวธุง ผืนธุง และชายธุง ซ่ึงในทาง ความหมายของจักรวาลวทิ ยาวิเคราะห์ไดว้ ่า ส่วนประกอบทั้ง 3 เป็นภพภมู ิทั้ง 3 ภพ อนั ไดแ้ ก่ ส่วนหัวธุงที่อยู่ บนสูงสุด เปรียบเหมือน อรูปภูมิ เป็นดินแดนของพรหมไม่มีรูป มีแต่จิตหรือวิญญาณ ส่วนผืนธุงท่ีอยู่ตรงผืน กลางธุง เปรียบเสมือน รูปภูมิ เป็นดินแดนของพรหมท่ีมีรูป ผู้มาเกิดต้องบาเพ็ญสมาธิจนได้ญาณสมาบัติ และส่วนชายธงุ ที่ย้อยออกมาเปรียบเหมือน กามภมู ิ คือ โลกของผู้ท่ียังติดอยู่ในกามกิเลส อยู่ช้นั ล่างท่ีสุด ซึ่งผู้ ท่ีมาเกิดในดินแดนทั้ง 3 โลกนี้มาเกิดมาตามผลของการกระทากรรมหรือบุญในชาตกิ ่อน ๆ อนั เป็นเหตใุ ห้ต้อง เวยี นว่ายตายเกิดอยู่ในสังสารวัฏอยา่ งไม่มที ี่ส้ินสดุ เม่ือธุงมีความเช่ือมโยงกับโครงสร้างจักรวาลวิทยาแล้วนั้น ธุงยังเป็นส่วนสาคัญที่สร้างความงดงาม ให้กับประเพณีอันดีงามของศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่นมาโดยตลอด ซ่ึงสิ่งงดงามเหล่านั้นเกิด จากการร่วมมือ ร่วมแรงและร่วมใจกันของนักศึกษา บุคลากร และชุมชนรอบมหาวิทยาลัยที่ต่างพากันมุ่ง ประดิษฐธ์ ุง เพอื่ ถวายเปน็ พุทธบชู าประดับตกแตง่ ในงานประเพณตี า่ ง ๆ ของไทยอสี าน ดงั จะเห็นได้ในทกุ ๆ ปี ที่มีการผสานวัฒนธรรมไทยและลาวเข้าด้วยกัน ทั้งน้ีก็เพื่อเป็นสืบสานวัฒนธรรม การสร้างความสัมพันธ์กับ ชมุ ชน และเป็นองคค์ วามรู้ดา้ นศิลปวฒั นธรรมในการสร้างอาชพี ตลอดจนการอนรุ ักษ์วัฒนธรรม สงิ่ เหลา่ นเ้ี ป็น วิธีการปกครอง แบบธรรมมาธิบาลที่เป็นการบริหารกิจของหน่วยงานและการพัฒนามนุษย์ โดยมีฐานชุมชน เปน็ ท่ตี ง้ั ดังตามปฏิบตั กิ ารพนั ธกจิ ของศูนย์ศิลปวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่นทว่ี ่า 1) อนรุ กั ษ์ สบื สานและ เผยแพร่ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม สู่เครือข่ายชุมชนภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยและอนุภูมิภาคลุ่มน้า โขง 2) บูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรมกับกิจกรรมของเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม 3) สร้างความร่วมมือ เครือข่ายชุมชนภายในและภายนอกเพ่ือให้บริการวิชาการและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒธรรม และ 4) สรา้ งสรรคผ์ ลิตภณั ฑ์ และงานบริการให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดยเช่ือมโยงวตั กรรมเชิงสร้างสรรค์สู่เครือข่าย ชุมชนท้ังภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัย
56 บทที่ 5 สรปุ และอภปิ รำยผล การวิจัยเร่ือง ธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสาน มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรม อีสานจานวน 3 เร่ือง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอุรังคธาตุ ซ่ีงผู้วิจัยใช้ระเบียบ วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ วรรณกรรมอีสานจานวน 3 เร่ือง ได้แก่ 1) ท้าวคัชชนาม 2) พระยาคันคาก และ 3) ตานานอุรังคธาตุ และได้ใช้เอกสารประเภทต่าง ๆ เช่น วารสาร รายงานการวิจัย บทความทางวิชาการ ตลอดจนวทิ ยานพิ นธเ์ ปน็ ขอ้ มลู เสริม จากน้ันนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ ตีความ นาเสนอข้อมูลในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ และสรุปผล การศึกษาด้วยการผสานระหว่างคติชนวิทยากับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพภายใต้กรอบแนวคิดวีรบุรุษ ทางวัฒนธรรม (Cultural Hero) แนวคดิ ตานานและเร่อื งเล่า (Myth and Legend) แนวคดิ เรือ่ งจกั รวาลวทิ ยา (Cosmology) และทฤษฎีบทบาทหน้าท่ีนิยม (Functionalism) หรือทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าท่ี (Structural-Functionalism) ซ่งึ สามารถนาเสนอผลการวเิ คราะห์ตามเนอ้ื หาของข้อมลู ได้ตามลาดับ ดงั น้ี 5.1 สรุปผลกำรวิจัย 5.1.1 ควำมหมำยของธุง จากการรวบรวมและวิเคราะห์ตัวบทวรรณกรรมทัง้ 3 เรือ่ ง ผวู้ จิ ยั พบว่า ความหมายของ ธง ธงุ ทง ธงุ และ ปะคือ มีความหมายเดียวกันคือ ธง ที่ใช้เป็นเครื่องแสดงสัญลักษณ์อย่างหนึ่งตามการใช้งาน หากมอง ในทางภาษาศาสตร์แล้วน้ันคาว่าธุง มีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของพยัญชนะท่ีมีการเปลี่ยนพยัญชนะตัวสะกด ท่ีมีความใกล้เคียงกัน ออกเสียงเหมือนกัน แต่รูปต่างกัน และความหมายยังคงเดิมดังเช่น ธุง เป็น ทุง และอีกกรณีหน่ึง คือ ภาษาลาว ไม่มีพยัญชนะตัวสะกด ธ จึงได้ใช้พยัญชนะ ท แทน ส่วนคาว่า ตุง ภาคเหนือ มักใช้พยัญชนะ ต แทน ท เน่ืองด้วยมีเสียงท่ีคล้ายกัน ในทางภาษาศาสตร์กล่าวว่า เป็นเสียงธนิต [Tch] ของ อกั ษรตา่ มักตรงกับเสียงสิถลิ [T] ดงั เช่น ท เปน็ ต ตัวอยา่ งคือ ทาง เปน็ ตาง ท้ังนีย้ งั พบว่ามีศัพทส์ ูญโดยสิ้นเชิง เป็นคาท่ีปรากฏอยู่ในเอกสารโบราณแต่ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว ดังจะพบคาว่า ปะคือ ซ่ึงคาว่า ปะคือ มีความหมายคือ “ร่ม หรือ ฉัตร” ซึ่งในทางเชิงอรรถอธิบายคาศัพท์โบราณ ในหนังสือที่ปริวรรตวรรณกรรม หลายเล่มและได้ใหค้ วามหมายว่า ธง 5.1.2 ควำมสำคัญของธุงในทำงพุทธศำสนำ ความสาคญั ของธงุ ในทางพทุ ธศาสนาพบว่า ธง หรอื ธงุ มคี วามเกีย่ วข้องกับวิถชี าวพุทธมาตั้งแต่บรรพ กาล เป็นเหมือนตัวแทนในการขับไล่มารไปจากสวรรค์ ทาให้มนุษย์ได้ประดิษฐ์ “ธุง” เพื่อเป็นสื่อกลาง ในการติดต่อระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ และเพ่ือถวายพระสงฆ์เป็นพุทธบูชา ท้ังน้ีก็ยังเป็นการทาบุญอุทิศ ส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว หรือเป็นการถวายเพ่ือส่งกุศลผลบุญให้แก่ตนในชาติหน้า ด้วยคติความเชื่อ ที่ว่าเมื่อตายไปแล้วจะพ้นจากการตกนรกโดยอาศัยเกาะชายธุงข้ึนสวรรค์ จะได้ไปพบพระศรีอริยะเมตตรัย
57 เหตุนี้เป็นการราลึกถึงคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คือ สอนให้ยึดเหน่ียวความกตัญญูรู้คุณ อันจะสร้าง อานสิ งสส์ ูงยง่ิ แกผ่ ้ปู ฏบิ ตั ิ 5.1.3 กำรศึกษำธุงท่ีปรำกฏในวรรณกรรมอสี ำนจำนวน 3 เรอ่ื ง การศึกษาธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสานทั้ง 3 เร่ืองพบวา่ มีคาเรียกธงุ ที่ปรากฏว่า ธุง ทุง และปะคือ มีความหมายเหมือนกันคือ ธง ที่ใช้เป็นเคร่ืองแสดง ซึ่งคาว่าปะคือนั้น เป็นคาศัพท์โบราณที่สูญศัพท์ไปแล้ว และยังพบว่าธุงที่ปรากฏอยู่นั้นมีหลากหลายประเภทท่ีแสดงความหมายแตกต่างกันออกไป อันได้แก่ 1) ธุงธรรมดา 2) ธุงชัย 3) ธุงคา หรือธุงคาสั่ง 4) ธุงกระด้าง 5) ธุงปฏาก หรือธงจระเข้ 6) ธุงด้างดาบไชย 7) ธุงประดับ 8) ธุงประกอบพิธีกรรม และ 9) ช่อทุง นอกจากน้ีผู้วิจัยยังพบว่า ธุงปรากฏอยู่ในเหตุการณ์ การเตรียมออกศึก การสู้รบ เป็นส่วนใหญ่ เพ่ือแสดงถึงเคร่ืองสังเกตแก่ไพร่พล ส่วนธุงที่ปรากฏในการจัดงาน เฉลิมฉลอง เพื่อแสดงถึงเครื่องหมายว่ามีการจัดงาน ส่วนธุงที่ปรากฏในพิธีกรรมทางศาสนา เพื่อแสดงถึงการ เคารพนับถือ และสุดท้ายธุงท่ีปรากฏอยู่ในลักษณะของนิมิต หรือความฝัน เป็นการส่ือความหมายในการบอก เหตุท่ีจะเกิดขึ้นล่วงหน้า จึงนับไดว้ ่าธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานทั้ง 3 เรื่องใช้เป็นเคร่ืองหมาย เครื่องแสดง และเครอื่ งสงั เกตแกม่ นุษย์ 5.1.4 ธุงทปี่ รำกฏในวรรณกรรมอสี ำนท่ีวำ่ ดว้ ยเร่ืองจกั รวำลวิทยำ ทา้ วคชั ชนาม พระยาคันคาก และตานานอรุ งั คธาตุ เปน็ วรรณกรรมเร่ืองเลา่ ชาวบ้าน โดยมักเกย่ี วข้อง กับเรื่องของพระราชา เทวดา ของวเิ ศษตา่ ง ๆ หรือยักษ์ ซ่ึงการดาเนินเรื่องมักจะเปน็ การสู้รบ ตเี อาเมือง โดย มีพระราชาท่ีต้องมคี วามเที่ยงธรรม และมีธรรมธบิ าลชกั จูงให้ผู้คนทาความดี มีศลี ธรรมใหเ้ ป็นพสกนิกรประสบ แตค่ วามดี พึง่ เปน็ ลกั ษณะของผู้ปกครองทีด่ ี ซงึ่ ตรงกับแนวคดิ จกั รวาลวิทยาในเรื่องกษัตรยิ ผ์ ู้ปกครอง ส่วนธงุ ท่ี มีความตรงตามโครงสร้างจักรวาลวิทยานั้น คือ ลักษณะของธุงท่ีประกอบด้วย หัวธุง ผืนธุง ละชายธุง เปรียบ เหมือน อรูปภูมิ รูปภูมิ และกามภูมิ ทั้งนี้ยังเปรียบได้ว่าธุง เหมือนกับแกนจักรวาลที่คอยเป็นเคร่ืองหมาย เครอ่ื งสังเกตให้แกม่ นุษย์ จากสรุปผลการศึกษาดังกล่าวน้ีผู้วจิ ัยได้ผสานระหว่างคติชนวิทยากับวิธวี ิจัยเชิงคุณภาพภายใต้กรอบ แนวคิดวีรบุรุษทางวัฒนธรรม (Cultural Hero) แนวคิดตานานและเรื่องเล่า (Myth and Legend) แนวคิด เรื่องจักรวาลวิทยา (Cosmology) และทฤษฎีบทบาทหน้าท่ีนิยม (Functionalism) หรือทฤษฎีโครงสร้าง- หน้าที่ (Structural-Functionalism) สรปุ ผลไดด้ งั น้ี แนวคิดวรี บุรษุ ทำงวฒั นธรรม (Cultural Hero) ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และตานานอุรังคธาตุ เปน็ วรรณกรรมพื้นบา้ นสองฝ่ังโขงที่มีเรื่องเกีย่ วกบั วีรบุรุษท้องถิ่นที่ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้มีความสามารถ กระทาส่ิงต่าง ๆ ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต มีความรัก และผูกพันกับชุมชน ตลอดจนการช่วยเหลือให้คนในชุมชนประสบแต่ความสุขสงบ ซึ่งเนื้อหาภายใน วรรณกรรมท้ัง 3 เรื่องนั้นก็ปรากฏวีรชนเหล่าน้ีดังจะเห็นได้จาก เรื่องท้าวคัชชนาม ผู้มีความกลา้ หาญและชาญ
58 ฉลาด ในการสู้รบกับศัตรู เป็นคุณสมบัติข้อสาคัญของกษัตริย์ และเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับประชาชนท่ัวไป ส่วน เรื่องพระยาคันคากนั้น เป็นผู้มีปัญญาสามารถใช้ปัญญาในการปกครองบ้านเมืองให้มีความรุ่งเรืองและสงบสุข ซึ่งเป็นคุณสมบัติสาคัญของผู้เป็นราชา เหล่าประชาชนบรรดาสัตว์ทั้งปวงให้ความเคารพนับถือ และเช่ือใน วิธีการปกครองของพระยาคันคาก และเร่ืองตานานอุรังคธาตุ พระมหากษัตริย์ 5 พระองค์ ทรงได้รับการยก ย่องว่าเป็นพระมหาวีรกษัตริย์แห่งราชอาณาจักร เพราะเป็นผู้ขอความอุปถัมภ์ ร่วมงานสร้างเสริม พระอุรังคธาตุ ทาให้เห็นว่ากษัตริย์ทั้ง 5 นี้มีความศรัทธาต่อพุทธศาสนา ภายใต้การปกครองทศพิธราชธรรม จะเห็นได้ว่าวรรณกรรมทั้ง 3 เรื่องท่ีกล่าวมาน้ี เป็นคุณลักษณะสาคัญของวีรบุรุษท้ังหลาย ที่ต้องเป็นคนที่มี ความสามารถรวมกลุ่มคนท้ังที่เหมือนและแตกต่างเข้าไว้ด้วยกัน ทาให้คนอยู่ในศลี ธรรมจรรยา และต้องบรู ณา การสงั คมได้ตามแนวคดิ วรี บุรุษทางวัฒนธรรม (Cultural Hero) แนวคิดตำนำนและเร่อื งเลำ่ (Myth and Legend) วรรณกรรมอีสานเร่ือง ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และตานานอุรังคธาตุ เป็นวรรณกรรมเรื่องเล่า ของชาวบ้าน หรือมุขปาฐะแบบปากต่อปากที่ได้กระจายไปทั่วทุกพื้นท่ีลุ่มน้าโขง และถูกถ่ายทอดจากบรรพ บุรุษมาอย่างยาวนาน ซึ่งอาจทาให้เนื้อเร่ืองเกิดความคาดเคล่ือนไปบ้างแต่ก็ยังอยู่ในแบบแผนของเนื้อเรื่อง ดังจะเห็นจาก วิธีการเล่าเร่ืองของแต่ละบุคคลท่ีไม่เหมือนกัน บางคนอาจนาเรื่องในตอนท้ายเรื่องข้ึนมาก่อน เพอ่ื ทาใหผ้ ูฟ้ งั เกิดความสงสยั และตัง้ คาถาม หรอื บางคนอาจเล่าเร่ืองแบบตามเน้อื เร่ืองตั้งแต่ตอนเร่มิ แรกจนถึง จบเรือ่ ง กน็ ับได้ว่าเป็นวิธีการของใครของมันท่สี ามารถถา่ ยทอดออกมาในรปู แบบของเสยี ง และการได้ยิน วรรณกรรมอีสานเรื่อง ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และตานานอรุ ังคธาตุ เป็นวรรณกรรมที่ให้ข้อคิด ความเชื่อในทางพุทธศาสนาเป็นส่วนหลัก เพราะจะเป็นเคร่ืองมือให้ผู้คนกระทาแต่ความดีงาม โดยท้าวคัชชนาม มีการเล่าเรื่องถึง หญิงแก่คนหน่ึงยากจน ท่ีเม่ือกินน้าปัสสาวะในรอยเท้าช้างกลับตั้งครรภ์ และได้คลอดมีบุตรชื่อว่า คัชชนาม เหตุช่ือคัชชนามเพราะมีบิดาเป็นช้าง เมื่อคัชชนามโตข้ึนจึงได้ออกตามหา บิดาท่ีเป็นช้างและได้ผ่านเหตุการณ์เร่ืองการสู้รบ ช่วยผู้คน ฆ่ายักษ์ต่าง ๆ จนสุดท้ายเจอบิดาและบิดาก็ตาย จึงไดก้ ลับเมือง มีผิวเน้ือและรูปร่างเหมือนคางคก แม้มีรูปร่างอปั ลักษณ์ แต่พญาคันคากน้ีก็มีบญุ ญาธิการมาก มีพระอินทร์คอยช่วยเหลือ จนเป็นที่เคารพนับถือของชาวเมือง เป็นเหตุให้ผู้คนลืมเซ่นสรวงบูชาพญาแถน ทาให้พญาแถนโกรธ ไม่ยอมปล่อยน้าฝนให้ตกลงมายังโลกมนุษย์ พญาคันคากจึงอาสานาเอาไพร่พลบรรดา สัตว์ต่าง ๆ อาทิ ปลวก ผึ้ง ต่อ แตน งู ช้าง ม้า วัว ควาย ข้ึนไปช่วยกันรบกับพญาแถนบนเมืองฟ้าจนได้รับชัย ชนะ พญาแถนจึงยอมปล่อยน้าฝนให้ตกลงมายังโลกมนุษย์ตามเดิม และเร่ืองตานานอุรังคธาตุ มีการเล่าเรื่อง ประวัติการสร้างพระธาตุพนม ว่าเป็นพระมหาธาตุเจดีย์ที่มีอายุเก่าที่สุดในลุ่มแม่น้าโขง และต้ังแต่การสร้าง อรุ ังคธาตแุ ละสักการบูชาของกษัตริย์ 5 พระองค์ นับไดว้ ่าวรรณกรรมท้ัง 3 เรื่องต่างมีกษัตริย์หรือผู้ปกครองท่ี ทรงทศพิธราชธรรมดังเดียวกันซ่ึงได้กล่าวไว้ในแนวคิดเรื่องวีรบุรุษทางวัฒนธรรมข้างต้น ท้ังนี้แล้ววรรณกรรม ท้ัง 3 เร่ืองยงั ถกู สง่ ผ่านเรอื่ งเลา่ และตีพิมพต์ ามวิธกี ารเล่าของแต่ละบุคคล ดงั จะเหน็ ทปี่ รากฏในปัจจบุ นั
59 แนวคิดเร่ืองจกั รวำลวทิ ยำ (Cosmology) ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และตานานอุรังคธาตุ เป็นวรรณกรรมสองฝ่ังโขงท่ีเก่ียวข้องกับพุทธ ศาสนาต้ังแต่สมัยโบราณ ซึ่งเป็นรูปแบบของเรื่องเล่าชาวบ้านหรือแบบมุขปาฐะ โดยมักเกี่ยวข้องกับเรื่องของ พระราชา เทวดา ของวิเศษต่าง ๆ หรือยักษ์ ซึ่งการดาเนินเร่ืองมักจะเป็นการสู้รบ ตีเอาเมือง และยกธิดาของ เมืองน้ันให้ผู้ท่ีชนะครอบครอง ท้ังน้ีแล้วพระราชาจะต้องมีความเที่ยงธรรม และมีธรรมธิบาลชักจูงให้ผู้คน ทาความดี มีศีลธรรมให้เป็นพสกนิกรประสบแต่ความดี พ่ึงเป็นลักษณะของผู้ปกครองท่ีดี เม่ือมองราชา หรือ ผปู้ กครองเมอื งในทางจกั รวาลวิทยาแลว้ พบว่า มลี กั ษณะการปกครองท่ีเหมอื น ๆ กนั ดงั จะเห็นไดจ้ ากแนวคิด จักรวาลวิทยา (Cosmology) ที่ว่าด้วยเร่ือง กษัตริย์ต้องมีคุณสมบัติ 4 ประการ โดยอยู่บนพื้นฐาน ทศพิธราชธรรม ธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสานท้ัง 3 เรื่องตามโครงสร้างจักรวาลวิทยานั้นพบว่า ธุง เปรียบเสมือน เป็นตัวแทนแกนจักรวาล เพราะเป็นศูนย์กลางแสดงถึงเครื่องหมาย เคร่ืองสังเกตให้แก่มนุษย์ ส่วนโครงสร้าง ของธงุ ที่ประกอบด้วย หัวธุง ผืนธุง และชายธุง เปรียบเสมือนอรูปภูมิ รูปภูมิ และกามภมู ิ ซ่ึงก็มีความเชื่อมโยง กับโครงสร้างจักรวาลวิทยา ทั้งนี้ธุงยังเป็นส่วนสาคัญที่สร้างความงดงามให้กับประเพณีอันดีงามของศูนย์ ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่นมาโดยตลอด ซึ่งส่ิงงดงามเหล่านั้นเกิดจากการร่วมมือ ร่วมแรงและร่วม ใจกันของนักศึกษา บุคลากร และชุมชนรอบมหาวิทยาลัยท่ีต่างพากันมุ่งประดิษฐ์ธุง เพ่ือถวายเป็นพุทธบูชา ประดับตกแต่งในงานประเพณีต่าง ๆ ของไทยอีสาน ท้ังน้ีก็เพ่ือเป็นสืบสานวัฒนธรรม การสร้างความสัมพันธ์ กับชุมชน และเป็นองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในการสรา้ งอาชีพ ตลอดจนการอนุรักษ์วฒั นธรรม ส่ิงเหล่านี้ เป็นวิธีการปกครอง แบบธรรมมาธิบาลท่ีเป็นการบริหารกิจของหน่วยงานและการพัฒนามนุษย์ โดยมีฐาน ชุมชนเป็นที่ต้ัง ดังตามปฏิบตั กิ ารพันธกิจของศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ทฤษฎบี ทบำทหนำ้ ท่ีนยิ ม (Functionalism) หรอื ทฤษฎโี ครงสรำ้ ง-หนำ้ ท่ี (Structural-Functionalism) วรรณกรรมอีสานเร่ือง ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และตานานอุรังคธาตุ ทาหน้าที่ตอบสนองความ ของมนุษย์ที่ต้องการของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นเรอ่ื งเล่าประเภทต่าง ๆ ล้วนมีหน้าที่เพอ่ื ปลอบประโลมใจใหร้ ับร้สู งิ่ ตา่ ง ๆ ท่ีเกิดขึ้น โดยเฉพาะในการเล่านิทาน ซ่ึงในการเล่านิทานเป็นหน้าที่ขยายเรื่อง เพื่อท่ีจะรวมคนในสังคม ปลุกประโลมความคิด ความเช่ือ เพ่ือเปน็ เครื่องมือในการสร้างความเข้มแข็งและความม่ันคงทางวฒั นธรรมให้ แต่ละสังคมต่อไป ดังจะเห็นได้จากวรรณกรรมทั้ง 3 เรื่องท่ีต่างมีฮีโรท่ีทาหน้าท่ีให้ผู้ฟังอยากเป็นและอยากทา ตาม ในทุก ๆ บริบทท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงนับไดว้ ่าตัวละครฮีโรที่อยู่ในเร่ืองต่างทาหน้าท่ีสะท้อนการศึกษาที่ใช้ประเพณี บอกเล่า เป็นตัวสร้างแรงบันดาลใจในการดารงชีวิตของมนุษย์ และในวรรณกรรมท้ัง 3 เรื่องยังมีการกล่าวถึง ธุง หรือธง โดยมีหน้าที่แสดงถึงสญั ลักษณ์อย่างหน่ึงท่ีจะทาให้มนุษย์รับทราบ รับรู้ และกระทาตาม นอกจากน้ี ภายในวรรณกรรมท้ัง 3 เรื่องยังมีการประกอบพิธีกรรมที่จะใช้อธิบายที่มาของเหตุการณ์การเกิดขึ้น ตามหลัก ทฤษฎีบทบาทหน้าทีน่ ยิ ม (Functionalism) หรอื ทฤษฎโี ครงสร้าง - หนา้ ที่ (Structural-Functionalism)
60 5.2 อภปิ รำยผลกำรวิจัย 5.2.1 อภปิ รายผลเชิงขอ้ มูลการศึกษา ผลการวิเคราะห์ข้างต้นทาให้เห็นว่า ธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสานท้ัง 3 เรื่องได้แก่ ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และตานานอุรังคธาตุ มีความสอดคล้องกับงานศึกษาที่เก่ียวข้องกับงานธุงในอีสาน ได้แก่ 1) หนังสือของประทับใจ สิกขา (2559) เร่ือง บันทึก ศึกษา ธุงอีสาน 2) บทความของวิทยา วุฒิไธสง (2561) เร่ือง ตุง และ 3) เอกสารประกอบการเสวนาวิชาการของ วีณา วีสเพ็ญ และคณะ (2562) เรื่อง ธุง หรือ ทงุ และปะคือ ความหมาย ความสาคัญ ในบริบทมรดกทางวฒั นธรรม โดยผู้วิจัยได้รวบรวมเอกสารทั้ง 3 เร่ืองและสรุปได้ว่า ธง ธุง ทุง ตุง หรือปะคือ เป็นชื่อเรียก ท่ีมีความหมายเดียวกัน ในภาคอีสานมักนิยมใช้ตัวสะกด ธ ท เป็น ธุง หรือ ทุง บ้าง ซ่ึงธุงก็เป็นสัญลักษณ์ อย่างหน่ึงที่แสดงถึงพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์หรือแสดงถึงความดีงาม โดยใช้เป็นเคร่ืองหมาย เคร่ืองแสดง และ เครื่องสังเกตให้กับมนุษย์ ชาวอีสานมักนาธุงมาถวายเป็นพุทธบูชา โดยอุทิศถวายด้วยความศรัทธาท่ีมีต่อ พุทธศาสนา รวมถึงนาธุงมาใชใ้ นการประดับตกแต่งสถานที่เนื่องในพิธีหรือเทศกาลต่าง ๆ ท่ีไม่ใช่เปน็ พุทธบูชา หรือเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมทางศาสนาเพียงอย่างเดียว ทั้งน้ีแล้วธุงยังหลักฐานให้เห็นในวรรณกรรมอีสาน ท่ีถูกจารึกในเอกสารใบลานไว้ว่ามีบทบาทสาคัญที่มีผลต่อความศรัทธาของชาวอีสานมาตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษ ดังจะเห็นได้จากเรื่อง ท้าวฮุ่งขุนเจือง ท้าวคัชชนาม อุรังคธาตุ ปู่สอนหลาน ธรรมดาสอนโลก เป็นต้น แต่ในปัจจุบันความเชื่อความศรัทธายังคงมีให้เห็น แต่กลับถูกลดความศรัทธาลง หากแต่ถูกเช่ือว่าเป็นแค่ เคร่ืองประดับประดา เพ่อื แสดงถงึ ความสวยงามเท่านั้น เหตเุ ป็นเพราะชาวอีสานได้นาธุงมาประยกุ ต์ในรูปแบบ ใหม่ ทห่ี ลากหลายการใช้งานมากข้นึ และเป็นเครื่องมอื ทสี่ รา้ งรายได้ให้แกช่ มุ ชนต่อไป 5.2.2 อภิปรายผลเชงิ แนวคิดและทฤษฎี ผลการวิเคราะห์เร่ือง ธุงที่ปรากฏในวรรณกรรมอีสานท้ัง 3 เร่ืองได้แก่ ท้าวคัชชนาม พระยาคันคาก และตานานอุรังคธาตุ ตรงตามแนวคิดทฤษฎีคติชนวิทยาท่ีได้วิเคราะห์ภายใต้กรอบแนวคิดวีรบุรุษ ทางวัฒนธรรม (Cultural Hero) แนวคิดตานานและเร่ืองเล่า ( Myth and Legend) แนวคิดเร่ือง จักรวาลวิทยา (Cosmology) และทฤษฎีบทบาทหน้าท่ีนิยม (Functionalism) หรือทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-Functionalism) ซ่ึงแนวคิดทฤษฎีคติชนวิทยาที่นามาใช้ข้างต้นน้ันต่างมีคุณูปการ ที่เป็น ตัวสง่ เสรมิ ในการตคี วามหมายของตัวบท ดงั จะเห็นไดจ้ าก 1) แนวคิดเรื่องวีรบุรุษทางวัฒนธรรม (Cultural Hero) ซึ่งแนวคิดนี้ได้นาข้อมูลความเป็นวีรบุรุษ ทางวัฒนธรรมมาเป็นตัวส่งเสริมการตีความหมายตัวบทท่ีเก่ียวข้องกับผู้ปกครอง หรือวีรชน กล่าวได้ว่าเป็น ผู้คอยต่อสู้และปกป้องผู้คน และจะต้องมีทศพิธราชธรรมเป็นตัวกาหนดว่าเป็น วีรบุรุษทางวัฒนธรรม อย่างแท้จริง นาไปสู่การตีความตัวบทในเร่ืองการออกศึกสู้รบและเช่ือมโยงสู่เร่ืองธุง ท่ีเป็นสัญลักษณ์แสดงถึง เครอื่ งสงั เกตให้กบั มนษุ ย์ ดงั ปรากฏในวรรณกรรมอีสานท้ัง 3 เรือ่ ง
61 2) แนวคิดตานานและเรื่องเล่า (Myth and Legend) เป็นแนวคิดที่มีความเช่ือมโยงกับวรรณกรรม ท้ัง 3 เรื่อง เพราะเป็นวธิ ีการถ่ายทอดด้วยปากที่เป็นแบบมุขปาฐะ หรือการแสดงออกเพ่ือให้เลียนแบบอนั เป็น วิธีด้งั เดิมตามธรรมชาตใิ นชวี ิตมนุษย์ โดยแนวคิดนี้ส่งเสริมการตีความหมายของตวั บทในเร่ืองตานาน ในฐานะ ที่เป็นข้อมูลทางวัฒนธรรม และมีหน้าที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในปัจจัยพ้ืนฐานทางด้านสังคม และจิตใจ อันนาไปสู่วิธีการเล่าเรื่องท่ีมีลักษณะคล้าย ๆ กันของวรรณกรรมทั้ง 3 ตลอดจนการกล่าวถึงธุง ทีป่ รากฏหลักฐานว่าเปน็ สญั ลกั ษณ์อย่างหนงึ่ ท่แี สดงแกม่ นุษย์และให้กระทาตาม 3) แนวคิดเรื่องจักรวาลวิทยา (Cosmology) ซึ่งแนวคิดนี้ได้นาข้อมูลเรื่องจักรวาลวิทยามาใช้ใน การส่งเสริมตีความหมายของตัวบทในเรื่องของกษัตริย์ผู้ปกครองเมือง ที่จะต้องมีหน้าท่ีดูแลประชาชน และมีธรรมธิบาลชักจูงให้ผู้คนกระทาความดี พ่งึ เป็นลักษณะของผู้ปกครองที่ดี เชื่อมโยงไปถึงโครงสร้างของธงุ ทีม่ ลี กั ษณะ 3 ส่วนตรงตามโครงสรา้ งจกั รวาลวิทยาทีว่ า่ ดว้ ยเรือ่ งภมู ทิ ั้งสาม 4) ทฤษฎีบทบาทหน้าท่ีนิยม (Functionalism) หรือทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าท่ี (Structural- Functionalism) ในแนวคิดน้ีได้นาข้อมูลมาเป็นส่วนช่วยเสริมในการตีความหมายตัวบทเก่ียวกับหน้าท่ี ของนิทานที่จะเป็นส่วนช่วยสะท้อนสังคมให้อยู่บนพื้นฐานความดี ที่แสดงผ่านตัวละครอย่างวีรบุรุษในเรื่อง ซึ่งมีความเชื่อโยงไปถึงการทาหน้าที่ของธุง หรือธงที่ปรากฏในเรื่อง ท่ีมีหน้าที่แสดงถึงการรับรู้ของมนุษย์ และให้กระทาตาม การใช้แนวคิดทฤษฎีดังกล่าวน้ีมีส่วนช่วยส่งเสริมการตีความหมายของตัวบทให้มีความน่าเชื่อถือมาก ย่ิงข้ึน เน่ืองจากใช้เพ่ือเป็นการสนับสนุนข้อมูลในการวิจัย ซึ่งทาให้ผู้วิจัยมีข้อมูลท่ีครบถ้วนและเชื่อมโยงกับ แนวคิดทฤษฎีได้อย่างถูกต้อง ทั้งน้ีผู้วิจัยยังได้งานวิจัยท่ีได้คุณภาพและสามารถต่อยอดผลการศึกษาที่ต่างกับ งานวจิ ัยท่ีมีมาก่อนหน้าน้ี โดยการนาแนวคิดทฤษฎีทั้ง 4 แนวคิดนี้มาใช้เชื่อมโยงกับตัวบทในเรื่องของบทบาท หน้าที่ วีรบุรุษ และเรื่องของโครงสร้างจักรวาลวิทยาที่ผู้วิจัยนาเข้ามาศึกษา รวมไปถึงความเกี่ยวข้องกับ ทางศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่เป็นหน่วยงานด้านการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมอันเกิดจาก ความร่วมมือของนักศึกษา บุคลากร และชุมชนรอบมหาวิทยาลัย สิ่งเหล่านี้เป็นวิธีการปกครองแบบ ธรรมมาธิบาลที่เป็นการบริหารกิจของหน่วยงานและการพัฒนามนุษย์ โดยมีฐานชุมชนเป็นที่ต้ัง ซึ่งผล การศึกษานี้เป็นการต่อยอดต่อจากงานวิจัยท่ีได้นามาอ้างอิงในเบอ้ื งต้น อย่างไรก็ตามผวู้ ิจยั เหน็ วา่ งานวจิ ัยเล่ม นย้ี ังไมส่ ามารถวิเคราะห์ขอ้ มลู ได้อยา่ งครอบคลุม เนือ่ งด้วยมขี ้อจากดั ด้านระยะเวลา 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ขอ้ เสนอแนะเชงิ การศึกษา 5.3.1.1 ควรศึกษาในประเด็นการเปรียบเทียบเชิงลึกของธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสาน และธุงที่ปรากฎแบบรปู ธรรม จากน้นั นาผลมาวเิ คราะห์วา่ มีความแตกต่างกันอย่างไร
62 5.3.2 ข้อเสนอแนะเชงิ แนวคดิ และทฤษฎี 5.3.2.1 ควรศึกษาแนวคิดเรื่อง โลกาภิวัฒน์ (Globalization) เพ่ือนามาใชเ้ ป็นกรอบแนวคิด ในการอธิบายการเปรียบเทียบระหว่างธุงท่ีปรากฏในวรรณกรรมอีสาน และธุงที่ปรากฏแบบรูปธรรม ท้งั นน้ี าแนวคิดนี้มาเปน็ ส่วนส่งเสรมิ การตีความหมายของตัวบท
63 บรรณำนกุ รม คมกฤษณ์ วรเดชนยั นา และปฐม หงส์สุวรรณ. (2563). ชา้ งในวรรณกรรมนิทานอสี าน : การสร้างอตั ลักษณ์ สตั ว์และความหมายทางวฒั นธรรม. วำรสำรสนั ตศิ ึกษำปริทรรศน์ มจร, 8(1), 234-246. จนั ทนา สทุ ธิจารี และวรพงศ์ ตระการศริ ินนท์. (2563). การสง่ เสรมิ ความเปน็ พลเมอื งเข้มแขง็ ผา่ นสานกึ ทาง ประวัตศิ าสตร์ : “พ่อพชิ ัย” กับการส่งเสริมความเป็นพลเมืองเข้มแข็งของชาวคอรุม จังหวดั อุตรดิตถ์. วำรสำรสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลยั นเรศวร, 16(1), : 227-249. เจริญ ช่วงชติ . (2557). วิเครำะหก์ ำรเมืองกำรปกครองไทยในปัจจบุ ันผำ่ นหลักธรรมกิ รำชในวรรณกรรม เร่ืองทำ้ วฮงุ่ ท้ำวเจอื ง. สารนิพนธ์ปริญญาพทุ ธศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณวทิ ยาลยั . ชยั ณรงค์ โคตะนนท์. (2533). อุดมคติเก่ียวกับผนู้ ำในวรรณกรรมอสี ำนประเภทวรรณกรรมคำสอน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย สาขาไทยคดีศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ชูศกั ด์ิ ศุกรนนั ทน์. (ม.ป.ป). ควำมเป็นวีรบรุ ุษของทำ้ วฮุ่งหรอื เจือง : มมุ มองจำกมหำกำพยเ์ ร่อื ง “ทำ้ วฮุ่ง ทำ้ วเจือง”. ณัฎฐ์ฑกฤษณ์ ไชยจินดาธุง. (2563). ธุง ตุง สญั ลกั ษณแ์ ห่งความศรทั ธาทเ่ี หมอื นหรือตา่ งของอสี านและ ล้านหนา้ . สาขาวัฒนธรรม ศลิ ปกรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ตลุ า คมกฤต มโนรัตน.์ (2547). กำรวิเครำะหแ์ นวคดิ เรือ่ งอำนำจในวรรณกรรม : ศึกษำกรณที ำ้ วฮงุ่ ทำ้ ว เจือง.วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ธนพล จลุ กะเศียน. (2561). กำรศกึ ษำและวเิ ครำะหแ์ นวคิดจกั รวำลวทิ ยำของวรรณกรรมประเภทไตรภูมิ เพือ่ สรำ้ งสรรค์ผลงำนจติ รกรรมรว่ มสมัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ นงลกั ษณ์ ขนุ ทว.ี (2529). กำรศกึ ษำคุณคำ่ วรรณกรรมอีสำนเรอื่ งเสียวสวำสด.ิ์ วทิ ยานพิ นธ์ศิลปศาสตร มหาบณั ฑติ สาขาไทยคดศี ึกษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. ประทบั ใจ สกิ ขา. (2559). บันทึก ศึกษำ ธุงอสี ำน (พิมพ์ครัง้ ท่ี 1 ). อบุ ลราชธาน:ี ศิรธิ รรมออฟเซท็ ปรมนิ ท์ จารวุ . (2557). การใช้ภาษาไทยในการบันทกึ ตานาน : บทพินิจจากการศึกษาตานานในเชงิ โครงสร้าง
64 นิยม และจากการวิจยั ภาคสนาม. วำรสำรมนษุ ยศำสตรแ์ ละสังคมศำสตร์, 6(1), 13-48. ปยิ นชุ ไชยกาล และสชุ าติ สุขนา. (2563). จนิ ตภาพแห่งความเชอ่ื และความศรทั ธา. วำรสำรศิลปกรรม ศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั ขอนแก่น, 12(1), 235-270. ปรชี า พิณทอง. (2532). สารานกุ รมภาษา อีสาน-ไทย-องั กฤษ. อบุ ลราชธานี : โรงพิมพศ์ ิรธิ รรม. พิมพว์ ดี เอือ้ มธุรพจน. (2556). แนวคดิ รปู แบบของไทย ผา่ นภูเขาแห่งความศรัทธาตามรอยการวิเคราะหข์ อง เพลโต. วำรสำรวิชำกำรประวัติศำสตร์สถำปัตยกรรม มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์, ม.ป.ป(9), 286- 301. พระมหาสรุ ะเวช วชิโร. (2553). กำรศึกษำวิเครำะห์โลกทศั น์ทำงพระพุทธศำสนำในวรรณกรรมพ้ืนบ้ำน อีสำน เร่ืองพระยำคันคำก. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระคาพนั ธ์ ผวิ กระจา่ ง และประยูร แสงใส. (2560). การศกึ ษาวิเคราะห์พุทธศาสนาผา่ นตานานพระธาตพุ นม และพระธาตุเชงิ ชมุ . พืน้ ถน่ิ โขง ชี มลู , 3(2), 192-204. พระอรยิ านุวัตร เขมจารี เถระ. (2562). ท้ำวคัชชนำม (พิมพ์คร้ังท่ี 1). กลุ่มงานอนรุ กั ษ์เอกสารโบราณ สถาบันวจิ ัยศลิ ปะและวัฒนธรรมอสี าน มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม: หจก. อภชิ าติการพิมพ์ พวงเพชร ชุปวา. (2542). ธุงผะเหวดกบั วิถีชีวติ ของชำวบำ้ นดู่ ตำบลธงธำนี อำเภอธวชั บุรี จงั หวัดร้อยเอด็ . วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ยุทธพงศ์ มาตยว์ เิ ศษ. (2556). ตำนำนอุรังคธำตุ (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1). ศนู ยศ์ ลิ ปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น: โรงพิมพม์ หาวิทยาลยั ขอนแก่น เรณู อรรฐาเมศร.์ (2549). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวชิ ำคตชิ นวิทยำ. คณะมนษุ ยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวทิยาลยัราชภฏั เชียงใหม่. วทิ ยา วฒุ ไิ ธสง. (2561). ตงุ . ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2564, จาก https://cac.kku.ac.th/cac2021/1-16/ วณี า วีสเพ็ญ และคณะ, เอกสำรประกอบกำรเสวนำวชิ ำกำรธงุ หรอื ทงุ และปะคอื ควำมหมำย ควำมสำคญั ในบรบิ ทมรดกทำงวฒั นธรรม, สถาบันวิจัยศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2562, หนา้ 1-34 ศรสี ธุ รรมเมธี, พระ. (2553). อิทธพิ ลของพระพุทธศำสนำเถวรวำทตอ่ ควำมคิดทำงกำรเมอื งกำรปกครอง
65 ของพระเจ้ำลไิ ท ศึกษำเฉพำะกรณี : ไตรภูมิพระรว่ ม (เตภมู ิกถำ). วิทยานิพนธป์ ริญญาพุทธศาสตร มหาบัณฑิต บณั ฑติ วิทยาลัย มหาจฬุ าลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั . ศุภชัย ภักดีและสนม ครุฑเมอื ง. (2551). นกกระเตน็ ดอ่ น : วเิ คราะหค์ วามเชื่อและภาพสะทอ้ นสังคม. วำรสำร มนษุ ยศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั นเรศวร, 7(2), 85-101. ศิราพร ณ ถลาง. (2548). ทฤษฎีคติชนวิทยำ วิธีวทิ ยำในกำรวเิ ครำะหต์ ำนำน - นิทำนพ้นื บ้ำน. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ศิริศักดิ์ อภิศักด์มิ นตร.ี (2563). ตานานอุรงั คธาตุ: นาคอย่ใู นสุวรรณภูมิ ไมม่ นี าคทีพ่ ระธาตพุ นม. วำรสำร ปณธิ ำน, 16(2), 150-183. สตั ิยะพันธ์ คชมติ ร. (2546). พฒั นำกำรของควำมเชือ่ เร่อื งนำค แถบลุ่มแม่นำ้ โขงตั้งแต่ยคุ อรุ ังคธำตุ สู่ ประวัติศำสตร์ร่วมสมัย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ บัณฑิต วทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมชยั ฟักสวุ รรณ์. (2555). พระยำคนั คำก (พิมพค์ รั้งท่ี 1). กรมศลิ ปากร กระทรวงวัฒนธรรม: โจเซฟ พลาสตกิ การด์ (โคราช) แอนด์ ปริ๊น เสฐยี รโกเศศ. (2508). ประเพณเี บ็ดเตลด็ . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พส์ มาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัย วรรณอดุ ร. (2545). กำรศึกษำเปรียบเทียบวรรณกรรมอีสำนและลำว เรื่อง ลำบุษบำ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจารึกภาษาไทย ภาควิชาภาษาตะวันตก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. สขุ ฤดี เอี่ยมบุตรลบ. (2532). กำรศึกษำวรรณกรรม เร่ือง พญำคนั คำก. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. โสรจั นามออ่ น และคณะ. (2551). กำรศึกษำวเิ ครำะหอ์ ิทธิพล จำกนิทำนพ้นื บำ้ นหนงั สือผูกใบลำนอักษร ธรรมอีสำนในจังหวัดอุบลรำชธำนี. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต อบุ ลราชธานี อนันตศกั ดิ์ พลแก้วเกษ และเกยี รติศกั ด์ิ พกิ ลุ ศรี. (2561). วรรณกรรมอสี านเรอ่ื ง “ ทา้ วย่ี ” : ศึกษาวเิ คราะห์ เชงิ อดุ มการณ์ตัวละคร. วำรสำรวชิ ำกำรแพรวำกำฬสินธุ์ มหำวทิ ยำลยั กำฬสนิ ธุ,์ 5(1), 75-92. อรชร พรประเสริฐ และคณะ. (2548). อุบลรำชธำนี : กรณีทงุ . มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธาน.ี
66 ภำคผนวก
67 วรรณกรรมอีสาน เรอ่ื ง พระยาคันคาก ของกรมศลิ ปากร ผู้เขียน สมชยั ฟกั สวุ รรณ์ วรรณกรรมอสี าน เรอ่ื ง ทา้ วคชั ชนาม ของสถาบันวจิ ัยศลิ ปะวฒั นธรรมอสี าน ผ้เู ขยี น พระอรยิ านวุ ตั ร เขมจารี เถระ
68 วรรณกรรมอสี าน เรอื่ ง ตานานอรุ ังคธาตุ ของศูนย์ศลิ ปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ผูเ้ ขยี น ยุทธพงศ์ มาตยว์ ิเศษ
Search