ลายปูนปัน้ ศลิ ปะสโุ ขทยั ในชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ 19-20 กรงุ สโุ ขทัยเจรญิ เติบโตมาเป็นราชธานสี �ำ คญั แห่งหน่งึ ในบรเิ วณลมุ่ แม่น�ำ้ ยม โดยต้ังอย่รู ะหวา่ งราชธานฝี ่ายเหนอื และฝา่ ยใต้ ด้วยดา้ น บนคอื แควน้ ล้านนาท่ีทรงอ�ำ นาจและดา้ นใต้คือกรงุ ศรอี ยธุ ยาท่แี ขง็ แกรง่ สุโขทัยจึง เปรียบเสมือนกึ่งกลางความตอ้ งการของสองอาณาจกั รทีห่ มายจะครอบครอง แต่ ดว้ ยความเป็นรัฐเลก็ ๆ ที่เป่ยี มไปด้วยความยงิ่ ใหญ่ในสถาปัตยกรรม ประตมิ ากรรม ท่บี ม่ เพาะความงามในวัฒนธรรม ความงดงามในพทุ ธศิลปท์ ่ีสืบเช้ือสายสืบเน่ือง กนั มาอยา่ งยาวนาน การผสมผสานศลิ ปะเชิงชา่ งจากความเจริญร่งุ เรอื งของแคว้น ต่าง ๆ เขา้ มาเปน็ พทุ ธศลิ ปท์ ีม่ ีเอกลกั ษณล์ กั ษณะเฉพาะตวั ทโ่ี ดดเด่นของสุโขทัย ได้นน้ั ตอ้ งผา่ นการบ่มเพาะ แลกเปลย่ี น เรยี นรู้วฒั นธรรมที่แตกต่าง ทมี่ ีผลตอ่ การ เรืองอำ�นาจของอาณาจักร ทัง้ สนองตอ่ การปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม เศรษฐกจิ การค้า การตดิ ตอ่ กันทางสงั คมทเ่ี รยี นรแู้ ลกเปลีย่ นกันมา ก่อนทคี่ วามเจริญรุ่งเรอื ง ของอาณาจกั รไดเ้ กดิ ขน้ึ อทิ ธิพลความเจรญิ จากหลายด้านได้มผี ลโดยตรงตอ่ การ พฒั นาอาณาจักร การรบั เอาพระพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาทเข้ามาเปน็ หลักในการ ด�ำ เนนิ ชวี ติ ของยุคสมยั ซง่ึ เดิมทีไดน้ อ้ มนำ�เอามหายาน พราหมณ์ ฮนิ ดูท่ีถอื ว่าเป้ นอิทธิพลหลกั ในการสรา้ งสรรคง์ านจากศิลปนิ ผู้สรา้ ง คตคิ วามเช่ือ หลกั ฐาน รอ่ ง รอยท่ีปรากฏ มอิ าจหลกี เลย่ี งได้ว่า ศลิ ปนิ ผู้สร้างหรือพระราชประสงค์ของผมู้ ีอำ�นาจ ให้สร้างละท้งิ ภาพจำ�ถงึ ส่ิงดงี ามความเจรญิ ร่งุ เรอื งอย่างถงึ ขดี สดุ ของพุทธศลิ ปใ์ น แตล่ ะยคุ ไดอ้ ย่างเด็ดขาด กลน่ิ ไอของวัฒนธรรมอันดีงามยงั คงครุกรุน่ เสมอ บันทึกเรือ่ งราวโดย อสิ เรส สุขเสนี ณ จังหวดั สุโขทยั ระหว่างวันท่ี 26-29 มีนาคม พ.ศ.2564
วดั นางพญา วัดนางพญาเป็นโบราณสถานที่อยู่ในอุทยาน ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย เป็นวัดที่มีลวดลายปูน ปั้นงดงามปรากฏอยู่บนซากผนังวิหารด้านตะวัน ตกเฉียงเหนือ วิหารประธานวัดนางพญาเป็น อาคารทึบขนาดเจด็ หอ้ ง กอ่ ด้วยศิลาแลง หลงั คา เป็นเครื่องไม้มุงกระเบื้องดินเผา ผนังทึบเจาะช่อง แสงเป็นลูกกรงสี่เหลี่ยมผิวปูนฉาบด้านนอกของ วหิ ารประดับลายปูนป้ัน เชน่ ลายรักร้อย แข้งสิงห์ ประจำ�ยาม มีความงดงามอันวิจิตรที่แสดงให้เห็น ถงึ การรบั อทิ ธพิ ลทางศลิ ปกรรมจากศลิ ปะลา้ นนา และศิลปะจนี
ผนงั ดา้ นทิศตะวันตกเฉียงเหนอื ของวิหารวัดนางพญา
ปูนป้ันลายเครือเถา ที่มีพัฒนาการ ม า จ า ก ล า ย ท่ี ป ร า ก ฏ อ ยู่ บ น เ ค รื่ อ ง เคลือบในสมัยราชวงศ์หยวนของจีน จะพบเห็นเศษส่วนของดอกโบต๋ันอยู่ ตรงกลาง
ลายประจำ�ยาม เกิดจากการนำ�ก้านขดมา ต่อกันให้เกิดเป็นรูปสามเหลี่ยม แล้วนำ� มาเรยี งรดั ใสก่ นั ใหเ้ กดิ เปน็ รปู สเ่ี หลยี่ ม จะ ถูกจัดวางให้อยู่ในตำ�แหน่งก่ึงกลางหรือ ต�ำ แหนง่ ทีส่ �ำ คญั
ลายปูนป้ันซุ้มจระนำ� ท่ียังคงหลงเหลือ แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลทางศิลปะเขมรที่ ปรากฏอยเู่ จดียท์ รงปราสาทยอด
ลายปูนปั้นหนา้ บันและเชงิ หัวเสา ของวัดพระพายหลวง ที่ยังคงได้รับ อทิ ธพิ ลศลิ ปะเขมรอยอู่ ย่างเข้มข้น
ลายปนู ปนั้ มนษุ ยนาค วัดเจดยี ์สห่ี ้อง กลุ่มพระอาราม ทางทศิ ใต้ของเมืองเกา่ สุโขทยั
วดั พระศรรี ตั นมหาธาตเุ ชลยี ง สรา้ งขึ้นเม่อื ประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๗ - ๑๘ ลักษณะภายนอกเปน็ ปรางค์ แบบอยธุ ยา ทซ่ี ุ้มประตูทางเขา้ เปน็ รปู ปน้ั รูปพรหมพักตร์ และรปู นางอัปสร ฟ้อนร�ำ อยู่
ความนิยมในการใชป้ ูนเปลอื กหอยมา สร้างงานพุทธศิลป์มากกว่าการแกะสลัก หนิ อยา่ งศลิ ปะเขมร การใชป้ นู ปน้ั สามารถ พอกเพ่ิมเมอ่ื เห็นวา่ รูปทรงยังไมส่ วย และ ควกั ออกเมอ่ื เหน็ วา่ มนั มากเกนิ ไป ปนู ปน้ั สามารถสร้างสรรค์ลวดลายได้อ่อนช้อย แตก่ ต็ ้องแลกมาด้วยอายุขยั ของวสั ดุ
เ มื่ อ พุ ท ธ นิ ก า ย เ ถ ร ว า ท เ ข้ า ม า แ ท น ที่ มหายาน คตคิ วามเชอ่ื ในการสรา้ งถกู ปรบั เปลี่ยน แต่ความสัมพันธ์บางอย่างยังคง อยู่ไมม่ ากก็นอ้ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: