Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พิธีศพในภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดตะคุ อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ปราชญาไท คำภักดี

พิธีศพในภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดตะคุ อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ปราชญาไท คำภักดี

Published by kanikl, 2020-12-18 06:31:14

Description: พิธีศพในภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดตะคุ อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา

Keywords: พิธีศพ,จิตรกรรมฝาผนัง,จิตรกรรม

Search

Read the Text Version

พิธีศพในภาพจติ รกรรมฝาผนงั วดั ตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวดั นครราชสีมา ปราชญาไท คาภักดี “ตาย” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายไว้ว่า “การส้ินใจ การส้ินชีวิต การไม่ เห็นอยู่ต่อไป การเคลือ่ นไหวไม่ได้” สรรพสัตว์เปน็ ส่ิงต้องตาย มนุษย์เป็นหน่ึงในสรรพสตั ว์ ดังน้ันมนุษย์ทุกคน จึงต้องตาย ความตายเป็นส่ิงแฝงอยู่และพร้อมจะปรากฏได้ทุกเมื่อ เพราะเกิดสิ่งใดมีชีวิตส่ิงนั้นก็ต้องตาย (พระอารดินทร์ เขมธมั โม, 2549) ซง่ึ มนุษย์ทุกคนในโลกน้ีย่อมหลีกหนคี วามตายไปไดไ้ ม่พ้น เม่ือตายไปแล้วก็จะกลายเป็น “ศพ”ส่วนสัตว์ อ่นื ตายไปกท็ ิ้งไว้แต่ซากสังขารตามยถากรรม เว้นแต่จะถูกสัตวอ์ ื่นนาเอาซากศพไปเป็นอาหาร หรือจัดการเพื่อ ประโยชน์อย่างอนื่ แตส่ าหรับมนุษย์แลว้ การจัดการตอ่ ซากสังขารหรือซากศพมีเรอ่ื งราวมากมายหลายเงื่อนปม มากกว่านั้น ในสังคมมนุษย์การตายหรือความตายเป็นภาวะตรงข้ามกับการมีชีวิต เป็นเร่ืองใหญ่ที่ต้องการ ความรู้เพื่อเติมแต่งความรู้สึกนึกคิดและแบบแผนการประพฤติสาหรับคนทยี่ ังมีชีวิตอยู่ได้ยึดถืออ้างอิง เพ่ือสืบ วิถีชวี ติ สังคมกนั ต่อไป (อภิธาน สมใจ,2541) เพราะฉะนั้นแล้วจึงมีพิธีกรรมท่ีเกี่ยวกับศพเกิดขึ้น ซึ่งในสังคมไทยน้ันจะมีความเชื่อทางศาสนาในเร่ือง ของการเวยี นว่าย ตายเกิด ในโลกนี้และโลกหนา้ ดังนน้ั จงึ ใหค้ วามสาคัญเป็นพิเศษในเรอื่ งการเกิด การอยู่ และ การตาย ซ่ึงเห็นได้จากพิธีกรรมต่างๆนับแต่เด็ดยังอยู่ในท้องแม่จนกระทั่งขั้นสุดท้ายของชีวิตคือการตาย อัน เป็นพิธีกรรมทไ่ี ม่ได้มีความหมายเฉพาะผ้ทู ี่ตายไปแล้วเท่านั้น หากยังมีความสาคัญท้ังทางด้านสังคมและจิตใจ แก่บรรดาลูกเมียและญาติพ่ีน้องอีกด้วย (ปราณี วงษ์เทศ, 2534) ดังน้ันพิธีกรรมเกี่ยวกับศพจึงเป็นพิธีกรรมที่ คนในสังคมให้ความสาคัญและปฏิบัติสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงพิธีกรรมงานศพของชาวพุทธในสังคมไทย สว่ นมากนนั้ จงึ มีเรื่องความ เชือ่ เรื่องผี เร่ืองวิญญาณ เรอื่ งโลกลี้ลับเหนือธรรมชาติ เข้ามาเกี่ยวข้อง กับพธิ ีด้วย โดยเฉพาะกลุ่มคนในสังคมชนบท หรือแมแ้ ต่กลุ่มชาติพันธุใ์ นแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีอพยพเข้ามาตั้งถิ่น ฐานอยใู่ นประเทศไทย โดยมีความเชื่อดังเดิมเร่อื งผีอยแู่ ลว้ และไดซ้ ึมซับวิถีการดารงชีวิตจากกลุ่ม คนในสงั คม ชนบท รวมทั้งรับพุทธศาสนาเข้ามาเป็นแบบแผนในการดาเนิน ชีวิต เป็นการผสมผสานของความเชื่อท้ังการ นับถือผี และพุทธศาสนา เช่นเดยี วกบั พทุ ธศาสนาแบบชาวบ้าน โดยความเช่ือในเรื่องความตายของแต่ละกลุ่มวัฒนธรรมท่ีต่างกัน ย่อมสะท้อนความเชื่อเหล่านั้น ออกมาผ่านสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ในพิธีกรรม งานศพ โดยเฉพาะความเช่อื ในเรอ่ื งความตายของกลุ่มชาตพิ ันธตุ์ ่างๆ ในประเทศไทย ท่ีมีความเช่ือเรื่องผี ส่ิงลึกลับ โลกหลังความตาย ทาให้มีระบบ สัญลักษณ์ต่าง ๆ มากมาย ส่อื สารออกมาจากพิธีกรรมงานศพ ซึ่งสัญลกั ษณ์ ต่าง ๆ เหลา่ นั้น ไดซ้ ่อนความหมาย ความเชอ่ื ต่าง ๆ ของคน ในแต่ละกลุ่ม วัฒนธรรมน้ันด้วย ความคิด และความเช่ือ ท่ีสะท้อนออกมาผ่านสัญลักษณ์ ต่าง ๆ ในพิธีกรรม งานศพ น่ันคือการประกอบสร้างความหมายเชิงมายาคติ ความตายของคนในแต่ละกลุ่มวัฒนธรรมน่ันเอง ซึ่ง ความเช่อื หรือการให้ ความหมายน้ันเกดิ จาก มายาคติ ยกตัวเชน่ ภาพจติ รกรรมฝาผนัง พธิ ีกรรมศพ วดั ตะคุ

ภาพพิธีศพจากจิตรกรรมฝาผนงั วัดตะคุ ภาพพิธีศพบนจิตรกรรมฝาผนังวัดตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมาสันนิษฐานว่าน่าจะถูก เขียนข้ึนประมาณรัชกาลที่ 4-5 ในภาพของพิธีศพน้ันจะมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมซึ่งรูปแบบของพิธี ศพที่แสดงผ่านจิตรกรรมฝาผนังวัดตะคุนั้น สันนิษฐานไว้ว่าอาจเป็นไปได้ท่ีจะเป็นพิธีศพของชาวจีน เพราะใน สมัยนั้นได้มชี าวจีนอพยพเข้ามาอยใู่ นบริเวณของอาเภอปักธงชัย จังหวดั นครราชสีมาแลว้ ชาวจีนไดเ้ ร่ิมเข้ามา ตัง้ ถน่ิ ฐานในภาคอสี านเม่ือใดไมท่ ราบแน่ชัด แต่พบว่าในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจา้ อยู่หวั ก็ได้มีชาว จีนเข้ามาตั้งถิ่นฐานในภาคอีสานแล้วเน่ืองจากมีคดี อุปฮาดเมืองร้อยเอ็ดได้จ้างชาวจีนฆ่าพระยาพิไสยสุรวงษ์ ตาย (นงลักษณ์ ล้ิมศิริ, 2524) การเคล่ือนย้ายเข้าภาคอีสานของชาวจีนจะกระจายตามเส้นทางเดินรถไฟ พอจะมีหลักฐานแสดงจานวน การกระจายตามจังหวัดต่าง ๆ เช่น จังหวัดนครราชสีมา จากหลักฐานในสมัย พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว พบว่าก่อนท่ีทางรถไฟสายกรุงเทพฯ – นครราชสีมา จะถึงมีชาวจีนอาศัยอยู่ 800 คน ทาอาชีพค้าขายทุกอยา่ ง (สิริ เปรมจิตต์, 2515) ชาวจีนที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยได้นาเอาระบบ ความเช่ือ พิธีกรรม ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีต่าง ๆ มาเป็นแบบแผนการดาเนินชีวิตในสังคมไทย ไม่ว่าจะ เป็นการประกอบพิธีกรรม ในวันสารทจีน พิธีศพ วันตรุษจีน วันเซ็งเม้ง การครบรอบวันตาย ของบรรพบุรุษ และพิธีกรรมอื่น ๆ ท่ีชาวจีนเคยยดึ ถอื ปฎบิ ัตมิ ากอ่ นในประเทศของตน ซง่ึ เป็นสิง่ ทช่ี าว จนี ได้เรียนรู้ และไดร้ ับ การสืบทอดมาจากบรรพบุรุษของตน (รพีพรรณ ลิมปิติ, 2544) ส่ิงท่ีอยู่ในภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดตะคุนั้นท่ี สันนษิ ฐานวา่ เป็นชาวจนี เน่ืองจากลักษณะของโลงศพท่ีอยู่ในภาพจติ รกรรมฝาผนัง

รูปโลงศพ โลงศพของคนจีนแตกต่างกันตามแต่ภูมิประเทศและท้องถ่ิน ในทางใต้เลือกท่ีดินที่แห้งเป็น ที่ สูง มองเห็นทัศนียภาพได้ดี มักมีบ่อน้าหรือน้าอยู่ใกล้ ส่วนในเขตเหนือกลับเลือกท่ีต่า ข้อน่าสังเกตอย่างหนึ่ง ในนครใหญ่ๆ ในจีนไม่มีป่าช้า ชาวจีนนิยมสถานที่สงบ ไม่มีผู้คนรบกวน มีก็แต่ต้นไม้เท่านั้น ในทางใต้ โลงศพ รปู รา่ งคลา้ ยเกา้ อี้ใหญ่ โดยท่ีศพน้ันสามารถนอนได้สบาย ข้อน่าสนใจจากการมองดูหีบศพจะเห็นว่าข้าราชการ ชั้นสูงท่ีถึงแก่กรรมนั้นในสมัยก่อนนิยมใช้สีแดงทารอบโลงศพ ขณะท่ีสีดาเป็นศพของข้าราชการช้ันล่าง คนทว่ั ไปนน้ั หา้ มใช้ (นพพร สวุ รรณพานชิ , 2549) ซงึ่ สอดคล้องกบั ภาพท่ี2 ภาพท่ี 2 เป็นภาพคนน่ังรอ้ งไห้ 2 คน ลกั ษณะคลุมผา้ สขี าวเหมือนกบั ประเพณีกงเต๊กในปจั จบุ นั สรุปดังน้ันจึงมีความเป็นไปได้ว่าภาพพิธีกรรมศพในภาพ จิตรกรรมฝาผนังที่อยู่ในวัดตะคุ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสมี านั้นเปน็ พหวุ ัฒนธรรม ทเี่ น้นความหลากหลายทางวัฒนธรรม และในทุกทั่ว ภูมิภาคในประเทศไทยก็มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมรวมถึงภูมิภาคบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีมี ความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาและประเพณีท่ีแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น ซ่ึง ศิลปวัฒนธรรมเหล่าน้เี ป็นตัวบ่งบอกถึงชาติพันธ์ุ ความเช่ือ ค่านิยม ตลอดจนวถิ ีชีวติ ของคนในท้องถ่ินนั้นๆได้ เป็นอย่างดี สาเหตุที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมนั้น ส่วนหนึ่งอาจจะเป็น ผลมาจากการเป็นศูนย์รวมของคนหลากหลายเช้ือชาติ การอพยพย้ายถ่ินทอ่ี ยู่ การกวาดตอ้ นไพร่พล หรือจาก การหนีภัยสงครามเมื่อครั้งอดีต และมีการติดต่อสังสรรค์กับประชาชนในประเทศใกล้เคียง จนก่อให้เกิดการ แลกเปล่ียนทางวัฒนธรรมเกดิ ข้นึ

บรรณานุกรม นงลกั ษณ์ ลิม้ ศริ .ิ (2524). ความสาคัญของกบฏหวั เมอื งอสี าน พุทธศกั ราช2325–2445. วทิ ยานพิ นธ์ อ.ม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. นพพร สวุ รรณพานชิ . (2549). บทความ. ศลิ ปวฒั นธรรม,27, 44-50. ปราณี วงษเ์ ทศ. (2534). พธิ กี รรมเกี่ยวกบั การตายในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทอมรินทร์ พริ้นต้งิ กรปุ๊ จากดั . พระอารดินทร์ เขมธัมโม (รัตนภ)ู .(2549). การศึกษามโนทัศนเ์ รื่องความตายของกฤษณมรู ติ. วิทยา นพิ นธ์ปริญญาพุทธศาสตรม์ หาบณั ฑติ . มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณร์ าชวทิ ยาลยั . รพีพรรณ ลิมปติ ิ. (2544) การถา่ ยทอดความเช่อื ของคนไทยเชื้อสายจนี ในชุมชนภาคใต้ . มหาวิทยาลยั เชียงใหม่/เชยี งใหม่. สริ ิ เปรมจติ ต์. (2515). บทบาทเมอื งจนี . กรุงเทพฯ : โรงพิมพป์ ระจักษ์วทิ ยา. อภธิ าน สมใจ. (2541). งานศพล้านนา ปราสาทนกหสั ดีลงิ ค์สไู่ มศ้ พ. เชยี งใหม่: สถาบันวจิ ัยสังคม มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่.