Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูโฮมสเตย์ ภูมิปัญญาที่กำลังจะเลือนหายไปกับคนเจนเนอเรชั่นวาย 635220007-3 นายธนวิชญ์ สุดงูเหลือม

ภูโฮมสเตย์ ภูมิปัญญาที่กำลังจะเลือนหายไปกับคนเจนเนอเรชั่นวาย 635220007-3 นายธนวิชญ์ สุดงูเหลือม

Published by kanikl, 2020-12-22 03:17:13

Description: บทความ ภูโฮมสเตย์ ภูมิปัญญาที่กำลังจะเลือนหายไปกับคนเจนเนอเรชั่นวาย ภูมิปัญญา

Keywords: โฮมสเตย์,เจนเนอเรชั่น,ภูมิปัญญา

Search

Read the Text Version

ชอื่ บทความ ภโู ฮมสเตย : ภมู ปิ ญญาทกี่ ำลังจะเลือนหายไปกบั คนเจนเนอเรชนั่ วาย ชอ่ื เจา ของบทความ ธนวชิ ญ สุดงเู หลือม (635220007-3) บทคัดยอ (Abstract) นักศึกษาหลกั สูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวัฒนธรรม ศลิ ปกรรมและการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน บทความนี้นำเสนอถึงความตองการของคนในชุมชนของกลุมเจเนอเรชั่นวาย ที่มีผลตอการคงอยูของ ภูมิปญญาวัฒนธรรม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหการบริหารจัดการดานการทองเที่ยวของหมูบานโฮมส เตยในปจจุบัน โดยใชวิธีวิจัยในการลงสนามนำขอมูลมาศึกษาและวิเคราะห เรียบเรียงนำเสนอตาม วัตถุประสงค ซึ่งมีขอบเขตการศึกษาในพื้นที่ ชุมชนชาตพันธผูไท บานภู ตำบลบานเปา อำเภอหนองสูง จงั หวดั มกุ ดาหาร เทาน้นั โดยพบวา การสงตอ การบริหารจัดการภูมปิ ญญาทางวัฒนธรรม จากสมาชกิ ในชมุ ชน กลุมเจเนอเรชั่น บี (Baby Boomer Generation หรือ Gen B) และ กลุมเจเนอเรชั่นเอกซ (Generation X หรือ Gen-X) ไปยัง กลุมเจเนอเรชั่น วาย (Generation Y หรือ Gen-Y เรียกอีกอยางวา Millennials) พบ ปญหาในการสงตอหรือสืบทอด เนื่องจาก ไลฟสไตล หรอื รูปแบบการใชช ีวติ ของคนกลุม กลมุ เจเนอเรชั่นวาย ไมส อดคลอ งกับ วิถชี ีวติ ขอ บญั ญัตขิ องชมุ ชน รวมไปถงึ ภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรมทส่ี บื ทอดมา ซ่ึงสงผลกระทบ ตอการบรกิ ารจัดการทอ งเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรมของชมุ ชนและระบบโครงสรางหนาท่ีของชมุ ชน คำสำคัญ (Keyword) เจเนอเรชั่น , ภูมิปญญาทางวฒั นธรรม บทนำ ปจจบุ นั การทอ งเที่ยวแบบโฮมสเตยกำลังเปน ที่นิยมในกลุมนักทองเท่ยี วทง้ั ชาวไทยและชาวตางชาติท่ี สามารถเขามาทองเที่ยวเรียนรูวิถีชีวิตของคนในชุมชนที่มี เอกลักษณ วัฒนธรรมเฉพาะตัว เนื่องจากการทองเที่ยวแบบ โฮมสเตยมีหลากหลายรูปแบบใหนักทองเที่ยวสามารถเลือก ทองเที่ยวตามความตองการและมีใหบริการทั่วทุกภูมิภาค พรอมทั้งนี้ยังเปนการสงเสริมรายไดใหกับคนในชุมชนอัน นำไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนใหมีความเขมแข็ง ทั้งน้ี ปจจุบันพบวาธุรกิจโฮมสเตยมีจำนวนมาก ซึ่งกอใหเกิด ภาพจาก แฟนเพจ:บา นภูโฮมสเตย มุกดาหาร ปญหาดานคุณภาพ การฉวยโอกาสไดประโยชนจากการทำ

ธุรกิจโฮมสเตยในการหลบเล่ียงกฎหมาย และการที่นักทองเท่ียวสามารถใชชีวิตใกลชิดกับธรรมชาติ ไดเรียนรู วิถีชีวิตชุมชน ภูมิปญญาทองถิ่นและศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น ทำใหเกิดปญหาการเสื่อมโทรมของทรัพยากรใน พ้ืนที่ เอกลกั ษณข องความเปน ชุมชนลดลง บดิ เบอื นวฒั นธรรมชมุ ชนเพอ่ื ดึงดูดนักทองเท่ียว ปญหาการบริหาร การจัดการของชุมชนที่ขาดทิศทาง ขาดแหลงขอมูลสื่อสารของชุมชน ปญหาเรื่องสิ่งอำนวยความสะดวก ปญหาดานความปลอดภัย (บุญทัน ดอกไธสง และ ปยะนันต จันทรแขกหลา ,2559) และในขณะเดียวกันก็ พบปญหาในการบรหิ ารจดั การคนในชมุ ชนโฮมสเตย ชุมชนบานภู จังหวัดมุกดาหาร เปนกลุมชาติพันธุ หนึ่งที่ดำเนินชีวิตในบริบทของกระแสโลกาภิวัตน ซึ่งได พยายามปรับตัวไปตามกระแสหรือสามารถปรับตัว โดย ยังคงอัตลักษณทางชาติพันธุวัฒนธรรมกับบริบทเหลานั้น โดยฟนฟูวัฒนธรรมและอัตลักษณ ความเปนผูไทรองรับกับ ภาพจาก เทศบาลตำบลบานเปา กระแสการทองเที่ยวของสังคม โดยใชอัตลักษณทางชาติ พันธุดั้งเดิมและสรางใหมเปนจุดขายแกนักทองเที่ยวโดยมี การนำเสนออตั ลกั ษณผานสถานทที่ องเท่ียว วถิ ีชีวติ และการแสดงตาง ๆ ทางวฒั นธรรม คือ ศูนยเรียนรูชุมชน พิพิธภัณฑเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฐานเรียนรูวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ลานวัฒนธรรม ผูไทบานภูและบานพักโฮมสเตย รวมทั้งกลุมทอผาและกลุมตาง ๆ แตทั้งนี้ การนำ เสนออัตลักษณของผูไทในบริบทการทองเที่ยวนั้น ผูศึกษามองวาไมไดนำเสนอความเปนผูไทแบบดั้งเดิมเสีย ทงั้ หมด แตมีการปรับใหส วยงามแปลกใหมและตนื่ ตาต่ืนใจมากขนึ้ ดวย จึงเปน แหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมท่ี มชี อื่ เสยี งและไดร ับการยอมรบั จากหนว ยงานภาครัฐและเอกชนท้ังในประเทศและตางประเทศหมบู านแหงนี้ได ถูกสรางใหเปนหมูบานวัฒนธรรมชนเผาผูไท มีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง หมูบานโอทอปเพื่อการทองเที่ยว รวมทั้งไดจำลองพ้ืนทีท่ างกายภาพและทางสังคมในแบบวิถชี ีวิตของชาวผูไทบานภูแบบด้งั เดิมของแทและผลิต สรางขึ้นใหมใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลง ประกอบกับการบริหารการพฒั นาของหมูบานน้ีมีความโดดเดน มาก จนตอ งศกึ ษาและเรยี นรเู พอ่ื นำไปขยายผลและตอยอดสูชมุ ชนอนื่ ๆ (พงศว ชิ ญ เขยี วมณีรตั น, 2561) จากงานวิจยั เรือ่ ง บา นภู : อัตลักษณชาตพิ ันธผุ ไู ทกบั การบริหารการพฒั นาในบริบทการทองเที่ยวเชิง วัฒนธรรมที่ย่ังยืน ของ พงศวิชญ เขียวมณีรัตน และคณะ ไดศึกษาเกี่ยวกับ รูปแบบอัตลักษณทางชาติพันธุผู ไทกับการบริหารการพัฒนาเพื่อนำไปสูการเปนหมูบานทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ยั่งยืน ที่ศึกษาไวเมื่อป พ.ศ 2561 พบวา รูปแบบอัตลักษณทางชาติพันธุผูไทกับการบริหารการพัฒนาเพื่อนำไปสูการเปนหมูบาน ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ยั่งยืน คือ (1) รูปแบบการบริหารการพัฒนาในบริบทการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมท่ี ยั่งยนื เริ่มจากแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ และการกำหนดนโยบายของรัฐบาลผานกระทรวง ทบวง

กรม อาทิเชน โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ โครงการพัฒนาหมูบานโอทอปเพื่อการทองเที่ยว นำสูการ ปฏิบัติโดยผานองคกรชุมชน ไดแก รูปแบบองคกรธรรมชาติยึดหลักเคารพผูอาวุโส รูปแบบองคกรการเมือง ทองถิ่น รูปแบบองคกรการพัฒนาการทองเที่ยว รูปแบบองคกรขามพรมแดนรักชาติ (2) การจัดทำขอเสนอเชิงยุทธศาสตรเพื่อการบริหารการพัฒนาเชิงพื้นที่ ไดแก วิสัยทัศน พันธกิจ ยทุ ธศาสตร กิจกรรม เปาหมายการบรหิ ารจดั การ เงือ่ นไข แผนงาน (3) รูปแบบ อัตลักษณทางชาติพันธุผูไทกับการบริหาร การพัฒนาในบริบทการทองเที่ยวที่ยั่งยืน ไดแก การจัดตั้งองคกร การจัดทำยุทธศาสตร สำนึกทางชาติพันธุ การนิยามความเปนผูไท การสรางและ คัดเลือกสัญลักษณหมูบานภู การนำเสนอ อัตลักษณทางชาติพันธุผูไทในบริบทการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และสดุ ทาย การนำเสนอภายใตการปฏสิ มั พันธก ับนักทองเทย่ี ว และ จากงานวจิ ยั เร่ืองอัตลักษณของผูไทบานภูกับการทองเท่ียวในรูปแบบโฮมสเตย ของ พรรณปพร ภริ มยวงษ ท่ศี กึ ษาไวเมื่อป พ.ศ 2553 พบวา เร่ืองอตั ลกั ษณข องชาวภูไทที่เปน กลมุ ทีก่ นิ งายอยูง าย เมอื่ ชมุ ชนุ ดงั กลาวที่เคยเปน ชุมชนชนบทกำลังกาว เขาสูชุมชนเมืองอยางเลี่ยงไมได แตใหแนวทางในบริหาร จัดการแบบดังเดิม โดยใชอัตลักษณของชุมชนเพียงดาน เดียว จึงสงผลใหกลุมคนที่เกิดในรุนหลัก โดยเฉพาะกลุม คน Generation Y เกิดการยายถิ่นฐาน สวนหนึ่งเกิดจาก หลักการบริหารจัดการดังกลาวไมตอบโจทยการใชชีวิต ของคนกลมุ นี้ ซ่งึ สอดคลอ งกับการใหขอมูลของรองประธานคณะกรรมการหมูบานโฮมสเตยบ านภู ซึ่งกลาววา ปจจบุ ันสงั เกตไดว า ไมเหมือนแตกอน เนือ่ งจากขาดกลุม คนหนุมสาวที่เปนกำลังสำคญั ในการบริการจัดการ จะ เหลืออยูแตคนแกกับเด็ก (บุญธรรม แกวศรีนวม 5 ก.ย 2563, สัมภาษณ) โดยกลุมคนดังกลาวใหเหตุผลใน การยายถิ่นฐานไปทำงานนอกชุมชนวา ตองการความทาทายในการทำงาน มีเงินเดือนสูงๆ ไมตองการทำ อาชีพที่มีอยูในชุมชน เนื่องจากมรี ายไดต่ำ ไมทาทาย ไมมีความกาวหนา(บุญฮวย แกวศรีนวม 6 ก.ย 2563, สัมภาษณ) ซง่ึ สอดคลอ งกับทฤษฏี Generation ของ Karl Mannheim โดยกลา วถงึ ลักษณะพฤตกิ รรมของคน Gen-Y มักตองการความชัดเจนในการทำงาน เชน ตองชัดเจนวาสิ่งที่ทำมีผลตอตนเองและตอหนวยงาน อยางไร? คาดหวังที่จะมีเงินเดือนสูงๆ คาดหวังคำชม แตไมอดทนตองานที่ทำ ชอบเปลี่ยนงานอยูบอย ๆ นอกจากนี้ คน Gen-Y ยังตองการสรางสมดุลเวลาใหกับตัวเอง เชน หลังเลิกงานมักจะไปทำกิจกรรมให ความสขุ กับตวั เอง อยางไปเลนฟต เนส แฮงเอาทพ บปะเพ่อื นฝูง

เมื่อกลาวถึง บริหารการพัฒนาของชุมชนโฮมส เตย ซึ่งสวนประกอบที่สำคัญคือทรัพยากรมนุษยที่จัดวา เปนทรัพยากรที่มีมากที่สุดขององคกร ถือเปนปจจัยท่ี สำคัญที่สุดในการเนินงานขององคกร ซึ่งองคกรจะบรรลุ เปาหมายไดหรือไมนั้น ยอมขึ้นอยูกับทรัพยากรมนุษย ทั้งสิ้น (พยอม วงศสารศรี, 2538) ซึ่งเมื่อเกิด ปรากฏการณด งั กลาวยอมสงผลกระทบตอ การบริหารจดั การภูมิปญญาทางวฒั นธรรม จากสมาชกิ ในชมุ ชน ซึ่ง สอดคลองกบั ทฤษฎโี ครงสรางหนา ท่ี ของ โรเบริ ต เค. เมอรตัน (Robert K. Merton) ทีก่ ลาวไวว า หนาท่ีของ บางโครงสรางของสังคมอาจมีประโยชนตอคนสวนใหญ แตขณะเดียวกันคนบางสว นอาจไดรับประโยชนเ พียง นอยนิดหรืออาจไมไดรับประโยชนเลย ซึ่งรวมไปถึงอาจจะมีคนบางกลุมหรือบางสวนของสังคมไดรับผลเสีย จากทำงานของโครงสรางของสังคมนั้นก็ได โดยในกรณีของชุมชนบานภูโฮมสเตยนั้น ก็อาจไดรับผลกระทบ เชน เดยี วกัน สรปุ ดงั นน้ั การอยูร วมกนั แตล ะเจนเนอรเ รชน่ั อยา ง เขา ใจกันถึงขอดขี อเสีย ตลอดจนความตอ งการที่แทจ รงิ ของเจนเนอรเ รชั่นหนึง่ ๆ จะมสี ว นชวยลดระดับของ ความขดั แยงหรือความไมเขา ใจกัน โดยฉพาะอยา งยิง่ ใน เชิงความคดิ และวิถกี ารดำเนินชวี ิตอันเน่ืองมากจาก ชอ งวา งระหวางวยั ไดมากข้ึน ซึ่งจะนำไปสอู งคก ร หรือ ชุมชนที่นาอยแู ละนาทำงานสำหรบั ทุก ๆ เจนเนอเรช่ัน ในยคุ สมัยที่การเปลยี่ นแปลงดำเนนิ ไปอยา งรวดเร็ว ในกรณีการศกึ ษาภูโฮมสเตย ซง่ึ เปนหมูบา นโฮมสเตยท ่ไี ดร ับผลกระทบตอการสง ตอหรือสบื ทอด เน่ืองจาก ไลฟสไตล หรอื รปู แบบการใชช วี ิตของคนกลุมเจเนอเรชนั่ วาย ไมสอดคลอ งกับ วิถีชวี ิต ขอ บัญญัติ ของชุมชน รวมไปถึงภมู ปิ ญญาทางวฒั นธรรมทส่ี บื ทอดมา ซง่ึ สง ผลกระทบตอ การบรกิ ารจัดการทองเทีย่ วเชิง วฒั นธรรมของชุมชน ผูน ำชุมชนจึงตองมีกลยทุ ธพ ชิ ติ ใจสมาชิกเจนเนอเรช่นั วาย เพ่ือทจ่ี ะสานสานตอ อดุ มการณการหมูบ า นโฮมสเตยพรอมกับการรักษาภมู ปิ ญญาอนั ทรงคุณคา ไว