รายงานการ 2559พัฒนาทย่ี ั่งยนื บรษ� ทั อมตะ คอรป อเรชนั จำกดั (มหาชน)
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 1 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 สาสน์ จาก ประธานเจ้าหน้าท่ีบรหิ าร เรียนท่านผถู้ อื หุน้ และผมู้ ีสว่ นไดเ้ สียท่ีเกย่ี วข้องทกุ ท่าน ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายในการปรับเปล่ียนประเทศไทยให้ก้าวไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” ซ่ึงเป็นโมเดลเศรษฐกิจที่เน้นคุณค่า (Value- Based Economy) และเน้นการขับเคลือ่ นเศรษฐกจิ ดว้ ยนวัตกรรม (Innovation-driven Economy) ตลอดจนช่วยเสรมิ สรา้ งเศรษฐกิจ ไทยให้เข้มแข็งและเติบโตได้อย่างมั่นคง ม่ังคั่ง และยั่งยืนแล้วนั้น รัฐบาลยังได้ก�ำหนดนโยบายการพัฒนาพ้ืนท่ีระเบียงเขตเศรษฐกิจ พเิ ศษภาคตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ครอบคลมุ พ้ืนทจ่ี งั หวดั ชลบรุ ี ระยอง และฉะเชงิ เทรา โดยมีนโยบายที่จะ เร่งการพัฒนาความพร้อมในทุกด้านเพ่ือรองรับการลงทุนและการขยายตัวทางเศรษฐกิจในพื้นท่ี และท�ำให้พื้นที่ EEC เป็นพ้ืนท่ี เศรษฐกิจท่ีดีและทนั สมัยที่สุดในภมู ภิ าคอาเซยี น จากนโยบายดังกล่าว สร้างโจทย์ความท้าทายให้กับบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ให้ต้องเร่งพัฒนาศักยภาพและ ขยายโอกาสการเติบโตทางธุรกิจ ควบคู่ไปกับการรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม บริษัทจึงได้มีนโยบายปรับเปล่ียนรูปแบบการ พัฒนาธุรกิจเพ่ือความย่ังยืนของบริษัทและสนองต่อนโยบายของรัฐบาล โดยปรับเปลี่ยนจากการเป็นผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อ รองรบั ฐานการผลติ ภาคอตุ สาหกรรมมาเปน็ ผพู้ ฒั นาเมอื งอจั ฉรยิ ะ (Smart City) และพฒั นาโครงการตา่ งๆทร่ี องรบั การเปน็ เมอื งอจั ฉรยิ ะ เชน่ โครงการเมอื งวทิ ยาศาสตร์ โครงการเมอื งการศกึ ษา และโครงการเมอื งการแพทย์ โดยมงุ่ หวงั ทจี่ ะยกระดบั การวจิ ยั และพฒั นาดา้ น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ อีกท้ังพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ท่ีใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูงเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ทดแทนการเปน็ ฐานการผลติ ภาคอตุ สาหกรรม เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพและความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ และเกดิ การพฒั นาดา้ น การวิจยั และพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื บรษิ ทั ตระหนักดวี ่า ความสำ� เรจ็ และความยงั่ ยนื ในธุรกิจต้องยึดมั่นในธรรมาภบิ าล รบั ผิดชอบต่อผู้มีสว่ นได้เสยี ดูแลชุมชน คำ� นงึ ถงึ สิ่งแวดลอ้ มควบคกู่ นั ไป บริษทั ให้ความส�ำคญั อยา่ งยิ่งกับการบริหารจัดการของเสยี และอากาศ ตลอดจนการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของ ชุมชนและสงั คม จงึ ไดพ้ ฒั นาโครงการต่างๆ เช่น การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ (Eco-Industrial Estate) และการออกแบบ ระบบสาธารณูปโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การจัดการด้านส่ิงแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน และการเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวในนิคม อุตสาหกรรมของบริษัท เป็นต้น และได้สร้างสรรค์โครงการและกิจกรรมต่างๆเพื่อให้ลูกค้าในนิคมอุตสาหกรรมได้มีส่วนร่วมในการ พัฒนาสังคมและชมุ ชนรอบขา้ งไปพรอ้ มกับบรษิ ัท และรวมพลังกนั ในการดำ� เนนิ การกิจกรรมแตล่ ะโครงการให้เกดิ ประสิทธผิ ลมากขนึ้ ในนามของ บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชนั จำ� กดั (มหาชน) ผมขอขอบคณุ ผ้ถู ือหนุ้ และผู้มสี ว่ นได้เสยี ทเี่ กยี่ วขอ้ งทุกฝ่าย ท่ีได้ให้ความร่วม มือ สนับสนุนการท�ำงาน และเชื่อมั่นในบริษัทด้วยดีเสมอมา ขอขอบคุณทุกท่านท่ีได้ให้ค�ำแนะน�ำและข้อคิดเห็น เพ่ือปรับปรุงการ ท�ำงานของบรษิ ัทให้ตอบสนองความต้องการของผ้มู ีสว่ นได้เสยี ไดด้ ียิง่ ข้ึน และผมม่นั ใจว่าความร่วมมอื จากทกุ ฝ่ายจะเปน็ กำ� ลงั ส�ำคญั ท่ที �ำใหบ้ รษิ ัทเตบิ โตได้อยา่ งมนั่ คงและย่งั ยนื วกิ รม กรมดษิ ฐ์ ประธานเจ้าหนา้ ท่ีบริหาร
สารบัญ 1 4 สาสน์ จากประธานเจ้าหน้าท่บี ริหาร 4 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของบรษิ ทั 7 8 1.1 ธุรกิจของบริษัท 9 1.2 วสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกจิ 10 1.3 ปรชั ญาการดำ� เนนิ ธุรกจิ ของอมตะ 11 1.4 โครงสรา้ งองค์กร 12 1.5 พฒั นาการท่ีสำ� คญั 12 1.6 รางวลั และผลงานท่ีไดร้ บั การยกยอ่ ง 12 2 การพัฒนาทยี่ ัง่ ยืน 14 2.1 กลยทุ ธ์หลักในการขับเคลื่อนองค์กรสู่ความยงั่ ยืน 15 2.2 เป้าหมายการพฒั นาธุรกิจอย่างยง่ั ยนื 19 2.3 กลยทุ ธ์ในการพัฒนาอย่างย่ังยนื 19 2.4 การดำ� เนินการกบั ผมู้ สี ่วนไดเ้ สยี 19 3 เกยี่ วกบั รายงาน 21 3.1 ขอบเขตของรายงาน 21 3.2 ประเด็นดา้ นความยงั่ ยืนท่สี �ำคัญ 21 4 การดำ� เนินงานดา้ นเศรษฐกจิ และการก�ำกบั ดแู ลกจิ การที่ดี 22 4.1 แนวทางการด�ำเนนิ ธรุ กิจ 4.2 นโยบายต่อต้านทจุ ริตคอร์รัปช่นั 4.3 การบรหิ ารความเสย่ี ง
5 การดำ� เนินงานด้านสงั คม 23 5.1 การบริหารจัดการทรัพยากรบคุ ลากรในองคก์ ร 23 5.2 การพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื ผ่านเครือข่ายไตรภาคีเพ่อื การบริหารจัดการลุม่ แมน่ �้ำคลองหลวง 28 5.3 การสร้างงานในภูมภิ าคตะวันออก 30 5.4 กีฬาสรา้ งเครือข่าย กีฬาสรา้ งสขุ ภาพแข็งแรง 31 5.5 การบรจิ าคโลหิตสง่ ตอ่ ชีวติ 35 5.6 เครือขา่ ยอาสาสมคั รผ้ปู ระกอบกจิ การเพอ่ื การดแู ลชุมชน 36 39 6 การดำ� เนนิ งานดา้ นส่งิ แวดล้อม 39 6.1 การพฒั นานิคมอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ 39 6.2 การออกแบบเชงิ นเิ วศในระบบสาธารณปู โภค 42 6.3 ศนู ยเ์ ฝ้าระวงั และควบคมุ คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม 43 6.4 การจัดการขยะแบบบรู ณาการตามหลักการ Zero Landfill 45 6.5 รางวลั แห่งการจดั การกากอตุ สาหกรรมและมูลฝอยสำ� หรบั โรงงาน 46 “AMATA Best Waste Management Award 2016” 47 6.6 การสรา้ งสงั คมแห่งความปลอดภัยในนคิ มอุตสาหกรรม ผา่ นศนู ย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและ 49 โรงเรียนสอนการดบั เพลิงส�ำหรบั อุตสาหกรรม 51 6.7 ระบบการจดั การทรัพยากรดว้ ยเทคโนโลยี 51 6.8 การจัดการพน้ื ที่สีเขยี ว-ปา่ ในนิคมอุตสาหกรรม 53 53 7 สรปุ ผลการด�ำเนินงาน 2559 58 7.1 ด้านเศรษฐกิจ 7.2 ด้านสังคม 7.3 ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม 8 GRI Content Index
4 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 1ขขอ้อมงบูลรทิษ่ัวทั ไป 1.1 ธรุ กจิ ของบรษิ ทั บริษัท อมตะ คอรป์ อเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) เปน็ หนึง่ ในบริษัทผูพ้ ัฒนานิคมอุตสาหกรรมชัน้ น�ำของประเทศไทย ก่อต้งั ขนึ้ เมือ่ วันท่ี 6 มีนาคม พ.ศ. 2532 และจดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี พ.ศ. 2540 อมตะเลง็ เหน็ โอกาสจากการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศไทยในภาคตะวันออกตามแผนการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติฉบับท่ี 5 (พ.ศ. 2525-2529) และนโยบายการส่ง เสริมการลงทุนของประเทศไทย จึงได้เริ่มพัฒนาพื้นท่ีในจังหวัดชลบุรี เพื่อรองรับนักลงทุนที่จะมาท�ำธุรกิจอุตสาหกรรมในพื้นท่ีภาค ตะวนั ออก จากจดุ เรม่ิ ตน้ ในวนั นนั้ นำ� มาสกู่ ารเปน็ บรษิ ทั ชนั้ นำ� ดา้ นการพฒั นานคิ มอตุ สาหกรรมทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู ในภมู ภิ าค เอเชยี ปจั จบุ นั นคิ มอตุ สาหกรรมในกลมุ่ บรษิ ทั มพี นื้ ทที่ ป่ี ระกาศเขตในประกาศราชกจิ จานเุ บกษาแลว้ รวมทงั้ หมดกวา่ 90 ตารางกโิ ลเมตร มโี รงงานอุตสาหกรรมทด่ี �ำเนินกจิ การอยู่ในปัจจบุ ันมากกว่า 1,000 โรงงาน จาก 30 ประเทศ สร้างมูลค่าการผลติ โดยรวมท้ังหมดกวา่ 1 ลา้ นลา้ นบาทตอ่ ปี บรษิ ทั ไมเ่ พยี งแตส่ รา้ งนคิ มอตุ สาหกรรมท่ีไดม้ าตรฐานสากลและดแู ลรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเครง่ ครดั แตย่ งั สรา้ งเมอื งอจั ฉรยิ ะ (SMART City) เพอ่ื ใหป้ ระชากรทที่ ำ� งานในนคิ มอตุ สาหกรรมและชมุ ชนทอ่ี ยรู่ อบนคิ มมคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ สามารถทำ� งานและอยอู่ าศยั ไดอ้ ยา่ ง มคี วามสุข สรา้ งความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคและสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ประเทศไทย ปจั จุบันบริษัทไดด้ ำ� เนินธุรกิจ นคิ มอุตสาหกรรมและร่วมลงทุนพฒั นาท่ีดินทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศรวม 5 แหง่ ไดแ้ ก่ • นคิ มอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวดั ชลบรุ ี ประเทศไทย • นคิ มอตุ สาหกรรมอมตะ ซติ ้ี จังหวัดระยอง ประเทศไทย • นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซติ ี้ เบียนหัว ประเทศเวยี ดนาม • นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิต้ี ลองถนั่ ประเทศเวยี ดนาม • Amata Township Long Thanh ประเทศเวยี ดนาม Hanoi MYANMAR LAOS THAILAND NAAMKAOTRAN VIETNAM Bangkok CAMBODIA ABMIEANTAHCOIATY ACMITAYTA CAITTMYHALANOTHNAG Ho Chi Min City Existing Project ที่ตง้ั ของนิคมอตุ สาหกรรมของกล่มุ บริษทั อมตะ
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 5 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 Overview of AMATA Industrial Estate อมตะนคร จ.ชลบุรี ประเทศไทย • ตงั้ อย่ทู ่ีใจกลางของอสี เทิร์นซีบอร์ด ขนาดพน้ื ที่ 4,330 เฮกตาร์ ท่เี ป็นศนู ย์กลางของอุตสาหกรรม 43.30 ตารางกโิ ลเมตร การผลิตในภมู ภิ าคตะวันออก จ�ำนวนโรงงาน 664 โรง ระยะทาง จำ� นวนพนกั งานในโรงงาน 160,000 คน • สนามบนิ สวุ รรณภมู ิ 42 กม. • ท่าเรอื น�้ำลึกแหลมฉบัง 46 กม. • กรุงเทพ 57 กม. อมตะซติ ้ี จ.ระยอง ประเทศไทย • ตงั้ อยูบ่ นท�ำเลท่ดี ที ี่สดุ สำ� หรบั บริษัท ขนาดพื้นที ่ 2,703 เฮกตาร์ ทีท่ ำ� ธุรกิจสง่ ออก 27.03 ตารางกโิ ลเมตร ระยะทาง จำ� นวนโรงงาน 265 โรง • ท่าเรอื นำ�้ ลกึ แหลมฉบัง 27 กม. จำ� นวนพนักงานในโรงงาน 50,000 คน • สนามบนิ สุวรรณภูมิ 99 กม. • กรุงเทพ 114 กม. อมตะ ซิต้ี เบยี นหัว • ท�ำเลทศ่ี กั ยภาพสงู บนถนนไฮเวย์ ขนาดพ้ืนที ่ 700 เฮกตาร์ หมายเลข 1 เชอื่ มระหว่าง 7.00 ตารางกิโลเมตร เวียดนามเหนอื และเวยี ดนามใต้ จ�ำนวนโรงงาน 152 โรง ระยะทาง จำ� นวนพนกั งานในโรงงาน 45,000 คน • ท่าเรือไซง่อนใหม่ 25 กม. • เมืองโฮจิมนิ ห์ 30 กม. • ทา่ เรอื นำ้� ลึกหวงุ เต่า 90 กม. อมตะ ซติ ี้ ลองถั่น • อย่ดู า้ นตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของ ขนาดพน้ื ที่ 517 เฮกตาร์ เมอื ง 5.17 ตารางกิโลเมตร โฮจิมนิ ห์ ห่างจากเบยี นหวั ประมาณ จำ� นวนโรงงาน N/A 30 กม. บนถนนทางด่วนระหว่าง จำ� นวนพนักงานในโรงงาน N/A ลองถ่นั -โซว่ เซย ระยะทาง อมตะ ทาวน์ชิป ลองถ่ัน • สนามบนิ ใหม่ 10 กม. ขนาดพื้นที่ 753 เฮกตาร์ • เมอื งโฮจมิ นิ ห์ 20 กม. 7.53 ตารางกโิ ลเมตร จำ� นวนโรงงาน N/A จ�ำนวนพนกั งานในโรงงาน N/A ขนาดพ้นื ที ่ 9,003 เฮกตาร์ 90.03 ตารางกิโลเมตร Total จำ� นวนโรงงาน 1,081 โรง จ�ำนวนพนักงานในโรงงาน 255,000 คน
6 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 นิคมอุตสาหกรรมของอมตะทั้ง 4 แห่งถูกพัฒนาขึ้นตามนโยบายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่มุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจไปพร้อมกับ การอยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ งภาคอตุ สาหกรรมและชมุ ชนโดยรอบ การพฒั นาพน้ื ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรมใหม้ คี วามทนั สมยั และไดม้ าตรฐานสากล ตลอดจนรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน เพือ่ สร้างความยัง่ ยนื ให้กับธุรกจิ ของบริษทั ท้งั น้ีปัจจัยความส�ำเรจ็ ของการพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมภายใต้การบริหารจัดการของบริษทั คือ ความสามารถในการตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าท่ีอยู่ในพ้ืนที่นิคมอุตสาหกรรมได้ กล่าวคือ บริษัทได้พัฒนาธุรกิจข้ึนมารองรับการด�ำเนินธุรกิจของนักลงทุน อย่างครบวงจร โดยแบง่ เป็นกล่มุ ธรุ กจิ ต่างๆ ดังนี้ ธรุ กจิ นิคมอตุ สาหกรรม ธุรกจิ สาธารณปู โภค • โรงไฟฟ้า • โรงงานผลติ น้�ำประปาเพ่อื การใช้ในภาคอุตสาหกรรม • โรงบ�ำบดั นำ�้ เสยี • เครือข่ายและสถานคี วบคมุ ก๊าซธรรมชาติส�ำหรับนิคมอุตสาหกรรม • ธุรกิจกา๊ ซอุตสาหกรรม ธุรกิจให้บริการในนคิ มอตุ สาหกรรม • การจัดการขยะจากภาคอตุ สาหกรรม • อาคารโรงงานสำ� เรจ็ รปู ใหเ้ ช่า • การขนสง่ และกระจายสินคา้ • การรักษาความปลอดภัย • ระบบโทรคมนาคม • การบำ� รงุ รักษาในส�ำนกั งานและโรงงานอุตสาหกรรม • โรงพยาบาล • สถานศึกษา • ท่ีพกั อาศยั • พาณชิ ยกรรม กลุ่มบริษัทอมตะจัดเป็นบริษัทท่ีมีเครือข่ายธุรกิจที่สมบูรณ์แบบในการรองรับและให้บริการแก่นักลงทุน ผู้ประกอบกิจการโรงงาน อุตสาหกรรมในพืน้ ทน่ี ิคมอตุ สาหกรรมภายใต้หลกั การจัดการอยา่ งยง่ั ยืนและครบวงจรอย่างแทจ้ รงิ
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 7 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 กลมุ่ บรษิ ัทอมตะ IBnEudssuitsnatetresiasl Utilities BSuesrviniceesss Others Amata Amata Amata Amata Amata Amata Amata AMATA Corp Township B. Grimm B. Grimm Power Natural Gas Facility Development VN PLC Amata Long Thanh Distribution Services AMATA City Power (Rayong) 2 ASIA AMATA Amata Amata Amata Sodexo Amata Global B. Grimm B. Grimm Power Power Amata Mansion Pte. Ltd. Power 3 (Rayong) 3 Bien Hoa Services Services AMATA Summit REIT Thai- BP.AoGmwraiemtram4 B. G(RrAaimmyomantgPa)o4wer ReSAaudmmyamBtaiutilt Vibharam Management Chinese Amata City (Amata Nakorn) Bien Hoa Hospital JSC Amata City Amata Amata Vantec SEAL Long Thanh B. Grimm B. Grimm Power Amata Power 5 (Rayong) 5 Logistics JSC Amata Amata Amata B. Grimm Power Water Kinderworld Education (Rayong) 1 โครงสร้างระบบสาธารณูปโภคภายในนิคมอุตสาหกรรมของอมตะ
8 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 1.2 วสิ ัยทัศนแ์ ละพันธกิจ บรษิ ัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำ� กดั (มหาชน) เปน็ บรษิ ทั ท่มี คี วามเชีย่ วชาญในการวางแผน การพัฒนา การบรหิ ารจัดการ และการตลาด ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาพนื้ ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรมอยา่ งครบวงจร พรอ้ มดว้ ยการพฒั นาระบบสาธารณปู โภคและงานบรกิ ารตา่ งๆ รองรบั การประกอบกจิ การทหี่ ลากหลายไดใ้ นพน้ื ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรม อาทิ ระบบถนนมาตรฐานสากล โรงไฟฟา้ และกา๊ ซธรรมชาติ การบรหิ าร จัดการพน้ื ทส่ี ่วนกลางท่ีเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อมตามหลกั การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial Estate) เพอ่ื มงุ่ ไปสู่ การเป็นเมอื งอจั ฉริยะ (Smart City) การด�ำเนินการเหล่าน้ีเป็นส่วนผลักดันที่ส�ำคัญ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมที่จะเป็นผู้น�ำการพัฒนาเมือง อตุ สาหกรรมระดบั โลกทมี่ คี วามทนั สมยั และใหบ้ รกิ ารทีม่ คี ณุ ภาพมาตรฐานสากล มงุ่ เน้นการพัฒนาเศรษฐกจิ ไปพรอ้ มกบั การอยู่รว่ ม กันด้วยดรี ะหวา่ งอตุ สาหกรรมและชุมชนโดยรอบ และดูแลรักษาส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืน 1.3 ปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจของอมตะ “ALL WIN” ALL WIN Concept ในการด�ำเนินธรุ กิจนัน้ บรษิ ัทไม่ไดม้ ุง่ เนน้ เอาแตผ่ ลประโยชน์ของตนเองเป็นทีต่ ้งั แต่บรษิ ัทตระหนกั ถึงความส�ำคญั ของผู้มสี ่วนไดเ้ สีย ทั้งหมดในการด�ำเนินธุรกิจด้วย ไม่ว่าจะเป็นพนักงานของบริษัท ลูกค้า คู่ค้า และชุมชนโดยรอบ ดังนั้นบริษัทจึงได้พัฒนานิคม อตุ สาหกรรมใหต้ อบโจทยค์ วามตอ้ งการของทกุ ภาคสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ การสรา้ งสง่ิ อำ� นวยความสะดวกตา่ งๆ ใหแ้ กผ่ ทู้ ที่ ำ� งานในนคิ ม อตุ สาหกรรม สามารถท�ำงานและใชช้ วี ติ สว่ นตวั ได้อย่างมีความสขุ บรษิ ทั ยนิ ดีใหก้ ารสนบั สนนุ ลกู คา้ ในหลายดา้ นเพอื่ ใหล้ กู คา้ สามารถดำ� เนนิ ธรุ กจิ ในนคิ มอตุ สาหกรรมของบรษิ ทั ไปไดใ้ นระยะยาว บรษิ ทั จงึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การบรกิ าร การสนบั สนนุ และการสรา้ งความเชอื่ มนั่ ใหก้ บั ลกู คา้ เชน่ การจดั ทำ� แผนพฒั นาเพอื่ รองรบั ดา้ นแรงงาน ที่มีทักษะฝีมือ และในอนาคตบริษัทจะก้าวไปสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) โดยมีแผนการสร้างเมืองวิทยาศาสตร์ เมือง มหาวิทยาลยั รองรับศูนยก์ ารพฒั นาและวจิ ยั ท่จี ะเกดิ ข้นึ เพ่อื สนองตอบความตอ้ งการของโรงงานในนิคมอตุ สาหกรรม สง่ เสริมใหเ้ กดิ การยกระดบั อตุ สาหกรรมการผลติ ของไทยใหก้ า้ วไปสอู่ ตุ สาหกรรมที่ใชเ้ ทคโนโลยรี ะดบั สงู มากขนึ้ เพอ่ื สรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ใหก้ บั ผลติ ภณั ฑ์ และบรกิ าร
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 9 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 นอกจากน้ี บริษัทยังสร้างสรรค์กิจกรรมร่วมกันกับลูกค้าและชุมชน เช่น ชมรม Amata CSR Club ท่ีเกิดจากการรวมตัวกันของผู้ ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครมาทำ� กิจกรรมสาธารณประโยชน์ให้แก่โรงเรียนและชุมชนในพ้ืนท่ีใกล้เคียง หรือโครงการ นำ� ของเหลอื ใชจ้ ากโรงงาน (Eco for Life Project) มาให้ชุมชนสรา้ งสรรคเ์ ป็นสนิ ค้าใหม่ เป็นการสรา้ งรายได้เสรมิ ให้แก่ชุมชน พนักงานของบริษัทเป็นส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจ ดังนั้นบริษัทจึงส่งเสริมให้พนักงานได้รับการพัฒนาด้านทักษะความรู้ควบคู่ คณุ ธรรม ตลอดจนหลอ่ หลอมใหม้ วี ฒั นธรรมเดยี วกนั ซงึ่ จะทำ� ใหก้ ารกา้ วไปสจู่ ดุ หมายนน้ั กลายเปน็ เรอื่ งไมย่ าก เพราะทกุ คนไดห้ ลอม รวมกนั เป็นหน่ึงเดยี วท้งั ชีวติ และจิตใจ 1.4 โครงสร้างองค์กร โครงสรา้ งองคก์ รของ บรษิ ทั อมตะ คอรป์ อเรชนั จำ� กดั (มหาชน) ไดม้ กี ารปรบั ผงั โครงสรา้ งใหมเ่ พอื่ ใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั ในการทำ� งาน และรองรับการขยายงานของบริษัทท้ังในประเทศและต่างประเทศ โครงสร้างองค์การฉบับปัจจุบันของบริษัทได้มีการประกาศใช้ เมอ่ื วนั ท่ี 1 มนี าคม 2559 ประกอบด้วยคณะกรรมการบรษิ ัท และคณะกรรมการชุดยอ่ ย จำ� นวน 4 คณะ ซึ่งไดร้ บั การแตง่ ตั้งจาก คณะกรรมการบรษิ ทั เพ่ือสนบั สนุนการท�ำงานของคณะกรรมการบรษิ ัทให้เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ประกอบด้วย (1) คณะกรรมการบริหาร (2) คณะกรรมการตรวจสอบ (3) คณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน (4) คณะกรรมการก�ำกับดูแลกจิ การที่ดี นอกจากนคี้ ณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน ไดแ้ ตง่ ตง้ั ประธานเจา้ หนา้ ทบี่ รหิ าร เพอื่ ใหค้ ดั เลอื กประธานเจา้ หนา้ ทส่ี ายงาน แตล่ ะสายงานของบริษัท เพ่อื ก�ำกบั ดูและการทำ� งานในสายงานต่างๆของบริษัท ไดแ้ ก่ ประธานเจ้าหนา้ ท่กี ารลงทนุ ประธานเจา้ หน้าท่ี การตลาด ประธานเจา้ หนา้ ทีก่ ารเงนิ และประธานเจ้าหน้าที่การบรหิ ารกลาง คณะกรรมการบรษิ ัท คณะกรรมการตรวจสอบ คแลณะกะกำ� รหรนมดกคาา่รตสอรบรหแทาน คณะกรรมการกำ� กบั สำ� นกั ตรวจสอบภายใน ดแู ลกิจการทด่ี ี กรรมการบริหาร ประธกานลเุ่มจบา้ รหษินทัา้ อทมบี่ ตริหะ าร เลขานุการบรษิ ัท & Compliance Unit คณะกรรมการความเสีย่ ง สำ� นักเลขานกุ าร ประธกาานรเจล้างหทนุนา้ ท่ี ประธานเจา้ หนา้ ที่ ประธานเจา้ หน้าท่ี ประธานเจา้ หนา้ ที่ สายงานพัฒนาทด่ี ิน สายงานกลยทุ ธ์และ การตลาด การเงิน การบริหารกลาง สายงาน สายงานบญั ชี สายงานทรพั ยากรบุคคล บรหิ ารความเสยี่ ง สายงานโครงการใหม่ การสือ่ สารการตลาด สายงานการเงนิ องค์กร และธุรการ สายงานการขาย สายงานกฎหมาย สายงาน พัฒนาสาธารณูปโภค สายงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ สายงานนักลงทนุ สมั พันธ์ บรษิ ัทในเครือ สายงานออกแบบ สายงานเทคโนโลยี และพฒั นาเมอื ง สารสนเทศ โครงสร้างองค์กรของบรษิ ทั
10 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 จากนโยบายการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของบรษิ ทั ท่ีไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาธรุ กจิ ใหเ้ ตบิ โตควบคไู่ ปกบั การอยรู่ ว่ มในสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม อยา่ งยงั่ ยนื ดงั นนั้ บรษิ ทั จงึ ไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื อมตะ(Amata Sustainable Development Committee) และ ข้นึ ตรงกับประธานเจ้าหน้าทบ่ี ริหารของบรษิ ัท คณะกรรมการการพัฒนาอย่างย่ังยืนอมตะ ประกอบด้วยประธานเจ้าหน้าท่ีสายงานแต่ละสายงานของบริษัทและผู้บริหารของบริษัทที่ เก่ยี วข้อง มีบทบาทหน้าท่ีในการขบั เคลอ่ื นการสร้างความยง่ั ยนื ในองค์กรในดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสังคม และดา้ นสิง่ แวดล้อม ผา่ นการ ทำ� งานของพนกั งานของบรษิ ทั ทงั้ หมด โดยคณะกรรมการการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื อมตะกำ� หนดขอบเขตและหนา้ ทข่ี องคณะทำ� งาน ดงั น้ี 1. ก�ำหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างย่ังยืน และก�ำหนดเป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์กร ตลอดจนแผนการดำ� เนนิ งานทชี่ ดั เจน 2. กำ� กบั ดแู ลการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ขององคก์ รในระดบั ธรุ กจิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การขบั เคลอื่ น การนำ� นโยบายและแผนการดำ� เนนิ งาน ตา่ งๆ ไปปฏิบัติอย่างมปี ระสทิ ธิผล 3. แตง่ ตงั้ คณะทำ� งาน เพอ่ื รบั ผดิ ชอบงานในแตล่ ะดา้ นใหค้ รอบคลมุ และสอดคลอ้ งกบั นโยบายหลกั และแนวทางดา้ นการพฒั นา อย่างยง่ั ยืนขององคก์ รท่กี ำ� หนดไว้ 1.5 พัฒนาการทสี่ ำ� คญั ตลอดเวลาทผี่ า่ นมา บรษิ ทั อมตะ คอรป์ อเรชนั จำ� กดั (มหาชน) เปน็ สว่ นหนง่ึ ในการสรา้ งความเจรญิ เตบิ โตของเศรษฐกจิ ไทยใหม้ น่ั คง และยั่งยืน โดยสามารถดงึ ดูดนกั ลงทุนจากตา่ งประเทศกวา่ 30 ชาติ ให้เขา้ มาลงทุนด�ำเนินกิจการในนคิ มอุตสาหกรรมของบรษิ ทั กวา่ 900 โรงงาน บนพ้ืนท่ีการพฒั นากว่า 70 ตารางกิโลเมตร ตวั อย่างบรษิ ัทชั้นน�ำที่ได้เขา้ มาประกอบกิจการในนิคมอตุ สาหกรรมของบรษิ ัท 2540 บรษิ ัทมีพฒั นาการทสี่ ำ� คญั (Company Milestone) ดังนี้ ปี 2518 2532 2537 2538 ล�ำดบั คุณวิกรม กรมดิษฐ์ ก่อต้ังบริษัทอมตะ จัดตั้ง Amata City จดั ตั้งบรษิ ัท อมตะซิต้ี จ�ำกัด เพือ่ บริษัท อมตะ คอร์ เหตุการณ์ ก่อต้ังบริษัท อมตะ ค อ ร ์ ป อ เ ร ชั น Bien Hoa JSC ที่ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ปอเรชัน จ�ำกัด โฮลด้งิ จ�ำกัด จ�ำกัด (มหาชน) เ มื อ ง เ บี ย น หั ว จังหวัดระยอง และจัดตั้งบริษัท (มหาชน) เข้าจด เดิมช่ือ บริษัท จังหวัดดองไน ใกล้ อมตะ บ.ี กรมิ เพาเวอร์ จ�ำกัด (เดิม ท ะ เ บี ย น ใ น บางปะกง อินดัส กับเมืองโฮจิมินซิตี้ ชื่อ บริษัท อมตะ เพาเวอร์ จ�ำกดั ตลาดหลักทรัพย์ เตรียล ปาร์ค 2 ประเทศเวียดนาม และไดท้ �ำการเปลีย่ นชอ่ื เป็น บรษิ ัท แห่งประเทศไทย จำ� กัด อมตะ บี.กรมิ เพาเวอร์ จ�ำกัด ภาย หลงั ) เพอื่ การพฒั นาพลงั งานไฟฟา้ สำ� หรบั โรงงานอตุ สาหกรรมในพน้ื ท่ี นิคมอุตสาหกรรมของอมตะทั้ง 2 แหง่
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 11 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 1.6 รางวลั และผลงานท่ีไดร้ บั การยกย่อง การรับรองการเปน็ “เมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ” ในระดับ Eco Champion จากการ นิคมอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย รางวัลดีเด่น การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มอตุ สาหกรรม วศิ วกรรมแหง่ ชาติ ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 จากวศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย 2549 2555 2555 2558 2558 2559 อมตะได้รับรางวัล จัดต้งั บรษิ ทั พัฒนา จดั ตงั้ บรษิ ทั อมตะ นำ� กองทรสั ตเ์ พอ่ื การลงทนุ นำ� บรษิ ทั อมตะ วเี อน็ กลุ่มบริษัทอมตะ บ ริ ษั ท ท่ี มี ก า ร อสังหารมิ ทรพั ย์เพือ่ วีเอ็น จ�ำกัด เพื่อ ในอสังหาริมทรัพย์และ จ�ำกดั (มหาชน) เข้า ครบรอบการกอ่ ตงั้ ประกอบกิจการดีเด่น ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ด� ำ เ นิ น ธุ ร กิ จ ใ น สิทธิการเช่าอมตะซัมมิท จ ด ท ะ เ บี ย น ใ น ปที ่ี 40 จากตลาดหลักทรัพย์ ระยอง (ไทย-จีน) ประเทศเวยี ดนาม โกรท (Amata Summit ตลาดหลักทรัพย์แห่ง แห่งประเทศไทย จำ� กัด Growth Freehold and ประเทศไทย (SET TOP 50) Leasehold Real Estate Investment Trust: AMATAR ) เขา้ จดทะเบยี น ในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย
12 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 2ทก่ีายรั่งพยืนัฒนา 2.1 กลยุทธ์หลกั ในการขบั เคล่อื นองคก์ รสคู่ วามย่งั ยนื บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ได้วางกลยุทธ์ในการดำ� เนินธุรกิจเพื่อขับเคล่ือนองค์กรสู่ความย่ังยืนที่เรียกว่า “5S” ประกอบด้วย • S - Strategic Location & Infrastructure การพฒั นาพนื้ ทท่ี มี่ ศี กั ยภาพสงู พรงั่ พรอ้ มดว้ ยระบบสาธารณปู โภคและสงิ่ อำ� นวยความสะดวกตา่ งๆ ทมี่ คี ณุ ภาพสงู และไม่ สร้างผลกระทบกับสิง่ แวดลอ้ มและชมุ ชน • S - Strong Service Mindset การให้บริการทค่ี รบวงจรและเตม็ ไปดว้ ยจิตใจแหง่ การบรกิ าร เพือ่ ความพึงพอใจสงู สุดของลูกค้า ผรู้ ว่ มลงทนุ และผ้ถู อื หุ้น • S - Superb Management Team การบริหารธุรกิจและพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยคณะบริหารมืออาชีพที่มีวิสัยทัศน์และความเข้าใจในผลิตภัณฑ์และบริการของ บริษัทเปน็ อย่างดี • S - Sound Financials ความแขง็ แกรง่ ของสถานะทางการเงนิ ของบรษิ ทั ทม่ี นั่ คง และการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและขอ้ ระเบยี บปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั • S - Successful Partnerships ความส�ำเร็จในการด�ำเนินธุรกิจกับลูกค้าและผู้ร่วมลงทุนท่ีมีชื่อเสียงและเป็นมืออาชีพในธุรกิจต่างๆ ท�ำให้สามารถสร้าง ผลติ ภัณฑแ์ ละบริการท่ีตอบสนองกับความตอ้ งการของลูกคา้ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและน่าสนใจ 2.2 เป้าหมายการพัฒนาธุรกจิ อย่างยั่งยืน จากผลการตรวจสอบการด�ำเนินกิจการนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทในปัจจุบัน นับว่า นิคมอุตสาหกรรมที่บริษัทด�ำเนินการเป็นนิคม อุตสาหกรรมที่สะอาดและมีส่ิงแวดล้อมที่เหมาะสมกับการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน (Clean and Green City) แต่ในปัจจุบัน บริษัทได้มี นโยบายในการปรับเปล่ียนรูปแบบการพัฒนาธุรกิจเพื่อความย่ังยืนของบริษัทโดยได้ต้ังเป้าหมายเพื่อก้าวไปสู่การเป็นผู้พัฒนาเมือง อัจฉริยะท่ีทนั สมยั และมีบริการตา่ งๆ ท่ีครบวงจร (Smart City Developer) ในระดบั สากล และเป็นศนู ยก์ ารเรียนรใู้ นด้านการพัฒนา เมอื งอจั ฉรยิ ะของภมู ภิ าค บรษิ ทั จงึ ไดก้ ำ� หนดเปา้ หมายการพฒั นาธรุ กจิ อยา่ งยง่ั ยนื ของบรษิ ทั แบง่ ออกเปน็ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นเศรษฐกจิ ด้านสังคม และด้านสิง่ แวดลอ้ ม เปา้ หมายการพฒั นาธรุ กจิ อย่างยั่งยืน: ด้านเศรษฐกิจ ตามท่ีรัฐบาลได้มีนโยบายในการปรับเปล่ียนประเทศไทยให้ก้าวไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” ซึ่งเป็นโมเดลเศรษฐกิจท่ีเน้นคุณค่า (Value- Based Economy) และเน้นการขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ ด้วยนวตั กรรม (Innovation-driven Economy) ตลอดจนช่วยเสรมิ สรา้ งเศรษฐกิจ ไทยให้เข้มแข็งและเติบโตได้อย่างม่ันคง ม่ังค่ัง และยั่งยืน รัฐบาลได้ก�ำหนดนโยบายการพัฒนาพื้นท่ีระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor: EEC) โดยมีนโยบายท่จี ะเรง่ การพัฒนาความพร้อมในทุกดา้ นเพอ่ื รองรบั การลงทนุ และการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจในพ้ืนที ่ เพื่อสนับสนนุ ภาคเอกชนในการประกอบธรุ กิจใหม้ ีความสะดวกรวดเร็วท่สี ุด และท�ำให้พนื้ ท ่ี EEC เป็น พน้ื ทีเ่ ศรษฐกจิ ที่ดแี ละทนั สมัยทสี่ ดุ ในภมู ภิ าคอาเซยี น บรษิ ทั ไดม้ นี โยบายในการปรบั เปลย่ี นรปู แบบการพฒั นาธรุ กจิ เพอื่ ความยง่ั ยนื ของบรษิ ทั และสนองตอ่ นโยบายของรฐั บาล โดยปรบั เปลยี่ น จากการเปน็ ผูพ้ ัฒนานคิ มอตุ สาหกรรมเพอื่ รองรับฐานการผลติ ภาคอุตสาหกรรมมาเปน็ ผพู้ ัฒนาเมอื งอจั ฉรยิ ะ (Smart City) โดยร่วม
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 13 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 มอื กับกระทรวงพลังงานและเมอื งอจั ฉรยิ ะโยโกฮามา (City of Yogohama) ประเทศญ่ปี นุ่ เพ่ือร่วมกันกำ� หนดกรอบการพฒั นาสเู่ มอื ง อจั ฉรยิ ะอมตะตั้งแตป่ ี 2560 เป็นตน้ ไป เมอื งอจั ฉรยิ ะของบรษิ ทั จะพลกิ โฉมการเปน็ เมอื งอตุ สาหกรรมของนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร ใหเ้ ปน็ เมอื งทเ่ี นน้ การประหยดั พลงั งาน ใช้พลังงานสะอาดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการใช้ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ประกอบด้วยการน�ำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการทรัพยากร ท�ำให้เกิดการบริหารจัดการในเมืองอัจฉริยะเป็นไปอย่างรวดเร็วและมี ประสิทธภิ าพ นอกจากนี้ บรษิ ทั ยงั มแี ผนการพฒั นาโครงการทรี่ องรบั การเปน็ เมอื งอจั ฉรยิ ะ เชน่ โครงการเมอื งวทิ ยาศาสตร์ (Science City) โครงการ เมอื งการศกึ ษา (Edutown) และโครงการเมอื งการแพทย์ (Meditown) โดยมงุ่ หวงั ทจี่ ะยกระดบั การวจิ ยั และพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีของประเทศ อีกท้ังพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ท่ีใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทดแทนการเป็น ฐานการผลิตภาคอุตสาหกรรม เพ่ือเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และเกิดการพัฒนาด้านการวิจัยและ พัฒนาอย่างยั่งยนื เปา้ หมายการพัฒนาธรุ กิจอย่างยัง่ ยืน: ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม บริษัทได้มุ่งม่ันด�ำเนินกิจการนิคมอุตสาหกรรมโดยค�ำนึงถึงหลักบรรษัทภิบาล รวมถึงการลดผลกระทบด้านสังคมและส่ิงแวดล้อม เนอื่ งจากการประกอบกจิ การของบรษิ ทั ควบคกู่ บั การพฒั นาดา้ นเศรษฐกิจมาตลอดระยะเวลา 40 ปี บรษิ ทั มนี โยบายลดผลกระทบทาง สงิ่ แวดลอ้ มทอ่ี าจเกดิ จากกจิ การภายในนคิ มอตุ สาหกรรมใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ ดงั นนั้ บรษิ ทั จงึ ไดร้ เิ รม่ิ และลงทนุ ดำ� เนนิ การระบบจดั การนำ้� เสยี โดยไม่มีการปล่อยท้งิ ออกส่ภู ายนอกนคิ มอุตสาหกรรม (Zero Discharge) ตงั้ แต่เรม่ิ ต้นทำ� ธุรกจิ บรษิ ทั จัดทำ� โครงการบรหิ ารจัดการ ของเสยี แบบบรู ณาการเน้นการลดการน�ำขยะไปฝังกลบ (Zero Landfill) มาตง้ั แต่ปี พ.ศ.2555 และให้บรกิ ารดา้ นการจดั การขยะทั่วไป และขยะอตุ สาหกรรมดว้ ยกระบวนการจดั การทีเ่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ มอกี ดว้ ย นอกจากน้บี ริษัทยงั รว่ มมอื กบั การนิคมอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย (กนอ.) ซ่ึงเป็นรัฐวสิ าหกิจสงั กัดกระทรวงอุตสาหกรรม เพือ่ ให้ มั่นใจว่ากจิ การภายในนิคมอุตสาหกรรมจะไมส่ ง่ ผลกระทบต่อชมุ ชนใกลเ้ คียง และเป็นไปตามกฎหมายทีก่ ำ� หนด บรษิ ัทมีเปา้ หมายในการดำ� เนนิ ธุรกจิ ทเ่ี ป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดล้อม จงึ ไดพ้ ัฒนาโครงการตา่ งๆ เช่น การพฒั นานิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial Estate) และการออกแบบระบบสาธารณปู โภคทเ่ี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม การจัดการด้านส่ิงแวดลอ้ ม และการอนรุ ักษ์ พลังงาน เชน่ การสร้างศนู ย์เฝา้ ระวงั คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม (EMCC) และการเพ่มิ พน้ื ทีส่ ีเขียวโดยการปลกู ตน้ ไม้ในนคิ มอตุ สาหกรรม ของบรษิ ทั เปน็ ต้น จากการปรบั เปลี่ยนสูก่ ารเปน็ เมืองอัจฉรยิ ะน้นั บริษัทมีเปา้ หมายในการลดการใชพ้ ลงั งาน และลดผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มรวมไปถึง การรกั ษาแหล่งทรพั ยากรธรรมชาติ เน้นการใชป้ ระโยชน์อย่างยง่ั ยนื เพอื่ มงุ่ สกู่ ารเป็นการเปน็ สงั คมพลังงานสะอาด (Clean Energy Society) และเมอื งอุตสาหกรรมสเี ขยี ว (Green City) ท่ีใชร้ ะบบอัจฉริยะ เช่น ระบบบริหารจดั การเครือข่ายพลงั งานอัจฉรยิ ะ (Smart Grid) และระบบการบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management Systems : EMS) เป็นต้น เปา้ หมายการพฒั นาธรุ กจิ อย่างยั่งยนื : ดา้ นสงั คม บริษัทให้ความส�ำคัญกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเก่ียวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนธุรกิจของบริษัทตามวิสัยทัศน์และพันธกิจ โดยมีจุดเริ่มตน้ ท่ีส�ำคัญ คอื พนกั งานในองค์กรซ่ึงเปน็ ทรพั ยากรหลักทจี่ ะนำ� พาองค์กรไปสู่ความความส�ำเรจ็ และเปน็ พลงั ขับเคล่อื นท่ี สำ� คญั ในการสรา้ งความยง่ั ยนื ของบรษิ ทั เปา้ หมายในการดแู ลพนกั งานของบรษิ ทั เนน้ ทกี่ ารทำ� งานอยา่ งสรา้ งสรรค์ และพฒั นาศกั ยภาพ บุคลากรให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของบริษัท ส่งเสริมให้พนักงานเป็นคนดี และสร้างคุณค่าแก่สังคม ตลอดจนการสร้างวัฒนธรรม องคก์ รสู่ความย่งั ยนื ดว้ ยกจิ กรรมต่างๆ นอกจากน้ี บรษิ ทั เชอ่ื วา่ ความสำ� เรจ็ อยา่ งยง่ั ยนื ของธรุ กจิ ไมเ่ พยี งขนึ้ อยกู่ บั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการดำ� เนนิ การของบรษิ ทั เทา่ นนั้ แต่ ยังรวมถงึ การมีความสัมพนั ธอ์ ันดกี ับผมู้ สี ว่ นได้เสยี อาทิ ผู้ประกอบการในนิคมอตุ สาหกรรม และชมุ ชนท้องถิ่น จงึ ได้มเี ป้าหมายใน การสร้างความเขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างกัน สนับสนุนและรองรับความตอ้ งการต่างๆของผู้มีส่วนไดเ้ สีย ตัวอยา่ งเช่น
14 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 • การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนผ่านเครอื ข่ายไตรภาคีผ่านการทำ� งานภายใตส้ ภาบรหิ ารจัดการลุ่มนำ้� คลองหลวง • การสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของโรงงานและชุมชนในพ้ืนที่ล้อมรอบนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทผ่านการ สรา้ งศนู ยต์ อบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response Center) • การสง่ เสรมิ ความรแู้ ละความเขา้ ใจในการจดั การคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม และการประกอบกจิ การของนคิ มอตุ สาหกรรมผา่ นศนู ย์ เรียนรู้ การอบรมสัมมนาตา่ งๆ เชน่ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ส�ำหรับสงั คม ศูนยเ์ รยี นรนู้ ้�ำอย่างยัง่ ยืน โครงการรอบรั้วสีเขยี ว ศนู ย์ บรกิ ารจัดหางานเพื่อการสรา้ งงานในภมู ิภาค โครงการให้ความรู้ด้านกฎหมายสงิ่ แวดล้อมสำ� หรบั ผู้ประกอบกจิ การในนคิ ม อตุ สาหกรรมท้งั สองแห่ง 2.3 กลยุทธ์ในการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื จากการตง้ั เป้าหมายทจ่ี ะเปน็ ผูพ้ ัฒนาเมอื งอัจฉรยิ ะ (Smart City) นนั้ ปจั จุบันบริษัทไดร้ ่วมมือกับกระทรวงพลงั งาน ประเทศไทย และ เมืองอัจฉริยะโยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น ในการร่วมกนั พฒั นาเมอื งอจั ฉรยิ ะอมตะ ด้วยเหตทุ ่เี มอื งโยโกฮามานั้น ประสบความส�ำเรจ็ ใน การพฒั นาเปลยี่ นแปลงตนเองจากเมอื งอตุ สาหกรรมใหก้ ลายเปน็ เมอื งอจั ฉรยิ ะทมี่ ชี อื่ เสยี งระดบั โลก ความรว่ มมอื ในการพฒั นาโครงการ น้ีจะเริม่ ข้นึ อย่างเป็นทางการในปี 2560 นี้ การต่อยอดจากเมืองอุตสาหกรรมเพื่อมุ่งไปสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะนั้น จ�ำเป็นต้องมีการสร้างองค์ประกอบพื้นฐานที่ทันสมัยและมี ประสิทธภิ าพ อาทิ สาธารณูปโภคต่างๆ ระบบการขนสง่ การศึกษา พ้ืนท่ีสำ� หรับศกึ ษาและวจิ ยั รองรับการพัฒนาของอตุ สาหกรรมที่ ใชเ้ ทคโนโลยีชัน้ สงู ซึง่ ในปี 2559 บรษิ ทั ไดเ้ ริ่มศึกษาและด�ำเนินการหลายโครงการเพือ่ รองรบั การก้าวไปสเู่ มอื งอัจฉรยิ ะ ได้แก่ • โครงการพฒั นาระบบบรหิ ารจราจรอัจฉริยะ (Smart App) ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบรุ ี เพ่ือเพิ่มความคลอ่ งตวั ของการจราจรในพนื้ ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรมอมตะนครและพน้ื ที่ใกลเ้ คยี ง และชว่ ยลดผลกระทบของการจราจรในพนื้ ทช่ี มุ ชนท่ี อยู่รอบนคิ มอุตสาหกรรมอมตะนคร • โครงการสร้างระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) เป็นโครงข่ายไฟฟ้าท่ีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และส่ือสารมา บริหารจัดการ ควบคุมการผลิต ส่ง และจา่ ยพลังงานไฟฟ้า สามารถรองรบั การเชอื่ มตอ่ ระบบไฟฟ้าจากแหล่งพลงั งานทาง เลือกท่ีสะอาดอน่ื ๆ และระบบบริหารการใชส้ ินทรัพย์ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด รวมทัง้ ให้บรกิ ารกับผู้เชือ่ มต่อกบั โครงขา่ ยผ่าน มิเตอรอ์ จั ฉรยิ ะไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มีความมนั่ คง ปลอดภัย เช่ือถอื ได้ มีคุณภาพไฟฟา้ ไดม้ าตรฐานสากล • โครงการผลิตพลงั งานทดแทนทเ่ี ปน็ พลงั งานสะอาดและไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม เชน่ หลังคาท่ีผลติ พลังงานจากแสง อาทิตย์ (Solar roof) และพลงั งานไฟฟา้ จากขยะ (Waste to energy) เปน็ ตน้ • โครงการเมอื งวทิ ยาศาสตร์ (Science City) เพอื่ สนบั สนนุ การวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสมยั ใหม่ รองรบั ความ ตอ้ งการของอตุ สาหกรรมตา่ งๆในนคิ มอตุ สาหกรรม ซงึ่ เมอื งวทิ ยาศาสตรจ์ ะประกอบดว้ ยกลมุ่ บรษิ ทั ทมี่ าลงทนุ สรา้ งศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นา (R&D Center) โรงงานน�ำร่อง (Pilot Plant) ส�ำหรบั ผลติ ผลิตภณั ฑท์ ี่ได้จากผลผลติ งานวิจยั และบริษทั ขนาดเล็ก บรษิ ัทเกดิ ใหม่ (Start up company) • โครงการยกระดบั การศึกษาอย่างครบวงจรในพนื้ ทน่ี ิคมอตุ สาหกรรม (Smart Education) เปน็ การสร้างทรพั ยากรมนุษยท์ ี่ มีคุณภาพเพอ่ื รองรับความต้องการใช้บคุ ลากรทกุ ด้านในอนาคต โดยมีการจดั ตัง้ สถานศึกษาทง้ั สายอาชพี และสายสามัญ ตัง้ แต่ในระดับอนบุ าลจนถงึ ระดบั มหาวทิ ยาลยั โดยใช้หลักสตู รที่มคี ุณภาพมาตรฐานระดบั สากลจากนานาชาติ สว่ นแผนการพฒั นาในอนาคตอนื่ ๆ ตามกรอบกลยทุ ธก์ ารพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ของบรษิ ทั ทจ่ี ะดำ� เนนิ การในอนาคต ไดแ้ ก่ เมอื งการแพทย์ ทจี่ ะเปน็ ศูนยร์ ักษาโรคและดแู ลรักษาสุขภาพ จากกรอบยุทธศาสตร์ที่มุ่งม่ันเป็นเมืองอัจฉริยะของบริษัท ไม่เพียงแต่เป็นการสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจบริษัทเท่าน้ัน แต่เป็นการ สร้างความยงั่ ยนื ทมี่ นั่ คงใหก้ ับภาคสงั คมทง้ั ในดา้ นเศรษฐกจิ ของประเทศ เศรษฐกจิ ชมุ ชน การสร้างสงั คมและชุมชนทเ่ี ขม้ แขง็ และยงั ดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมให้คงอยู่ด้วยการประกอบกิจการที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม การด�ำเนินธุรกิจอย่างมุ่งม่ันที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการ ขบั เคลือ่ นประเทศไทยไปส่กู ารแข่งขันในระดับนานาชาติไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื และมัน่ คง
Collaboration with Energy Policy & Planning O ce, Thailand Ministry of Energy 15 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 AMATA Smart city concept 2.4 การดำ� เนินการกบั ผมู้ ีส่วนได้เสีย ตลอดระยะเวลา 40 ปีในการประกอบกจิ การของบริษัทยึดม่นั ในหลักการในการดำ� เนนิ ธุรกจิ ท่ีสรา้ งคุณค่าใหก้ บั ผูม้ ีสว่ นได้เสีย ตงั้ แต่ใน ขน้ั ตอนการกำ� หนดนโยบาย และวธิ กี ารในการปฏบิ ตั ติ อ่ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี เพอื่ ใหเ้ กดิ มาตรฐานในการกำ� กบั ดแู ลทเี่ ทา่ เทยี มกนั ทง้ั นบี้ รษิ ทั ได้มีการบริหารจัดการต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม รวมท้ังได้มีการปรับปรุงช่องทางและกลไกในการน�ำความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย ส่งต่อไปยังหน่วยงานต่างๆ ที่รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนถึงการสร้างกระบวนการตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ บรษิ ทั ใชแ้ นวทางในการบรหิ ารเชงิ บรู ณาการจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี โดยไดม้ กี ารจดั ประชมุ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผมู้ ี ส่วนได้เสีย เพ่ือท�ำการทบทวนและประเมินผลกระทบท่ีจะเกิดกับผู้มีส่วนได้เสียที่จะได้รับจากการด�ำเนินกิจการของบริษัท ท้ังน้ีเพ่ือ ใหก้ ารตอบสนองความตอ้ งการของผ้มู สี ว่ นไดเ้ สียแตล่ ะกลุ่มเป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ จึงได้น�ำความต้องการของ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี มาเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการจดั ทำ� แผนงานดา้ นการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ของบรษิ ทั ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ท่ีไดร้ บั ผลกระทบโดยตรงตอ่ การดำ� เนนิ ธุรกจิ ประกอบดว้ ย พนกั งาน ผถู้ อื หนุ้ ค่ธู รุ กิจ ลกู คา้ และชุมชนโดยรอบ
16 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 การรบั ฟ�งความคดิ เหน็ การบรห� ารความเสย่ี ง การกำหนดกลยุทธ การกำหนดนโยบายและ การกำหนดนโยบาย กขาอรงรผบั มู ฟขสี อ�งว งคนผชวไมูอดาีสงเมสทว คียานดิงผไตดเาหาเ สน็นงยีๆผา น การบรห� ารความเสย่ี ง กดาา นรกกาำรหพนฒัดกนลาทยี่ยทุ ่ังธย นื การแกแผรผำะนดหนปับนปฏอดฏบิ งนบิตัคโิงกตั ยาริงบนาานยและ และแแลผกะนแอากผยรานา กรงกพำยาหงั่ฒั รยนพนนืดาฒันธโรุนยกาบจิ ธารุยกิจ ดา นการพฒั นาท่ียัง่ ยืน ชอ งทางตา งๆ ระดับองคกร อยางย่ังยนื การแปลผลความคิดเหน็ ของผมู ีสว นไดเ สีย การกำหนดแผนดำเนนิ งานเพ่อ� ตอบสนองความตองการของผูม ีสว นไดเสีย การแปลผลความคิดเหน็ ของผมู ีสวนไดเสยี การกำหนดแผนดำเนนิ งานเพ่�อตอบสนองความตอ งการของผูมีสวนไดเสีย แผนผงั การรบั ฟงั และการตอบสนองความตอ้ งการของผูม้ ีส่วนไดเ้ สยี ลูกคา พนกั งาน ลกู คา พนักงาน คูแ ขง ูคแ ขง การเปดเวทรี บั ฟง� คคู า คูคา ความคิดเห็น การจัดการ ่ืสอมวลชน การเปดเวทีรบั ฟง� ขอรองเร�ยน ชุมชน ่ืสอมวลชน ความคดิ เหน็ การจดั การ ชุมชน ขอ รองเร�ยน Open-House/ การจัดประชมุ การเยี่ยมเยอื น รวมกนั Open-House/ การสำรวจ การเยย่ี มเยือน ความพ่ง� พอใจ การจัดประชุม และรับขอ เสนอแนะ รว มกนั ห นวรยางชากนาร การสำรวจ ผูถอื หุน ผูถอื หนุ ความพ�่งพอใจ และรับขอ เสนอแนะ ห นวรยางชากนาร เ จาห ้ีน ผู รวมลงทุน เจาห ้นี ูผ รวมลง ุทน แนวทางในการดแู ลผ้มู ีส่วนได้เสยี ของบริษัท เวทรี ับฟงั ความคดิ เห็นอมตะ ในปี 2559 คณะกรรมการการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื อมตะรว่ มกับ Swedish Institute Management Program Asia (SIMP Asia) ซง่ึ เปน็ องคก์ รของรฐั บาลสวเี ดน และเปน็ องคก์ รชนั้ นำ� ในระดบั สากลดา้ นความเปน็ เลศิ ในการทำ� ธรุ กจิ อยา่ งยง่ั ยนื ไดจ้ ดั เวทรี บั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผู้มสี ว่ นได้เสยี ข้ึน เมือ่ วนั ท่ี 10-14 ตลุ าคม 2559 ผู้ร่วมกิจกรรมประกอบดว้ ย ผ้มู สี ว่ นไดเ้ สียจากหนว่ ยงานราชการ ภาคเอกชนที่ เปน็ ลกู คา้ ในนิคมอุตสาหกรรม ผู้นำ� ชุมชนในพนื้ ทตี่ ่อเน่อื งกับนิคมอตุ สาหกรรมอมตะนคร จงั หวดั ชลบรุ ี ประเดน็ ทีผ่ ูม้ สี ่วนไดเ้ สยี ให้ ความส�ำคัญ คือ ปัญหาจราจรในนิคมอุตสาหกรรมและพ้ืนท่ีชุมชนใกล้เคียง การจัดการขยะของภาคชุมชน และการส่ือสารภายใน องคก์ รและภายนอกองคก์ ร โดยบริษทั ได้นำ� ประเดน็ ทง้ั หมดมากำ� หนดแผนดำ� เนนิ งานเพ่ือตอบสนองความต้องการของผูม้ ีส่วนได้เสีย ต่อไปในอนาคต
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 17 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 ตวั อย่างขอ้ เสนอแนะจากการรบั ฟังความคิดเห็น • การจดั การจราจรในพ้ืนที่นิคมอุตสาหกรรมในช่ัวโมงเรง่ ดว่ นเป็นสิง่ ท่ีจ�ำเปน็ เพราะจะเปน็ การช่วยในการประหยัดพลังงาน และเวลา ทง้ั นภ้ี าคเอกชนและชมุ ชนมคี วามตอ้ งการใหอ้ มตะชว่ ยพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การจราจรทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพเพอื่ ลดปัญหาจราจรในพนื้ ทน่ี ิคมอุตสาหกรรมและพน้ื ท่ีชมุ ชนใกลเ้ คยี ง • การขยายตวั ของชุมชนเติบโตตามการขยายตัวของเศรษฐกจิ ท�ำชุมชนเกดิ ปญั หาดา้ นการจดั การสิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชน ดัง น้นั ภาคชมุ ชนตอ้ งการใหอ้ มตะให้การสนับสนนุ แนวทางในการจดั การขยะของชุมชนในด้านเทคนิคและวชิ าการท่เี หมาะสม กับชุมชน
18 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 พนกั งาน ผ้ถู อื หุน้ ช่องทาง กิจกรรมผู้บรหิ ารพบพนักงาน ชอ่ งทาง การประชมุ สามญั ผ้ถู ือหนุ้ ประจำ� ปี ขอ้ เสนอแนะหรอื ขอ้ รอ้ งเรยี น ขอ้ เสนอแนะหรอื ข้อร้องเรยี น การส�ำรวจความคิดเห็นของพนกั งาน หน่วยงาน ฝา่ ยทรัพยากรบคุ คลของบริษัท หน่วยงาน เลขานกุ ารบรษิ ทั รายงาน ประธานเจ้าหนา้ ท่ีบริหาร รายงาน คณะกรรมการบรษิ ทั การส�ำรวจความคิดเหน็ พนักงานปี 2558 น�ำมาใช้ประกอบการ พฒั นากิจกรรมของพนกั งาน โดยนำ� หลกั การพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน มาเปน็ ส่วนหนึง่ ของการท�ำงานประจำ� วัน คธู่ ุรกิจ ลกู ค้า ชอ่ งทาง การเย่ียมเยอื นคธู่ ุรกิจ ช่องทาง การสำ� รวจความพงึ พอใจลกู คา้ ขอ้ เสนอแนะหรือขอ้ ร้องเรียน ข้อเสนอแนะหรอื ข้อรอ้ งเรยี น หน่วยงาน ฝ่ายการตลาดและฝ่ายจดั ซอ้ื หน่วยงาน ฝา่ ยการตลาด รายงาน คณะผู้บริหารบรษิ ัท/คณะกรรมการความยงั่ ยนื รายงาน คณะผู้บริหาร/คณะกรรมการบรษิ ัท บรษิ ทั ได้ด�ำเนนิ การระบบบรรษทั ภิบาลท่ดี ี ซง่ึ เป็นจุดเริม่ ตน้ ใน การบรหิ ารจดั การของบริษทั เป็นทีพ่ งึ พอใจของลูกค้า และบรษิ ทั การดำ� เนินการพัฒนาท่ีย่ังยนื ในห่วงโซอ่ ุปทานทงั้ ระบบต่อไปใน ยงั มงุ่ ม่ันท่ีจะสร้างสรรค์ธรุ กจิ ทต่ี อบสนองการเติบโตของโรงงาน อนาคต ในพ้นื ทน่ี คิ มอุตสาหกรรมต่อไป ชุมชน ช่องทาง การสำ� รวจความพึงพอใจชุมชน รอบร้วั สีเขียวโดย พาชุมชนเข้าดงู านในโรงงาน ข้อเสนอแนะหรอื ขอ้ ร้องเรียนหรือข้อรอ้ งเรยี น หน่วยงาน CSR/สือ่ สารองคก์ ร รายงาน คณะผ้บู ริหาร/คณะจัดการบรษิ ัท/คณะกรรมการความ ยง่ั ยืน บริษัทมุง่ สรา้ งความร้คู วามเข้าใจกับชมุ ชนในการด�ำเนินการด้าน การพฒั นาท่ีย่ังยนื อย่างต่อเนอื่ ง เพอื่ ให้ชมุ ชนเกิดความเป็นมิตร และให้ความรว่ มมอื กบั บรษิ ทั ในระยะยาว
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 19 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 3รเกาี่ยยวงกานบั 3.1 ขอบเขตของรายงาน รายงานความยง่ั ยนื ฉบบั น้ี จดั ทำ� ขน้ึ เพอ่ื แสดงถงึ ผลการดำ� เนนิ งานของบรษิ ทั อมตะ คอรป์ อเรชนั จำ� กดั (มหาชน) ในปี 2559 ระหวา่ ง วันท่ี 1 มกราคม 2559 ถงึ 31 ธันวาคม 2559 ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการบรหิ ารจัดการความย่งั ยนื ในประเด็นด้านเศรษฐกจิ สังคม และสิ่ง แวดลอ้ ม โดยมกี ารนำ� แนวทางการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื มาพฒั นาเปน็ แผนแมบ่ ทการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ของบรษิ ทั ภายใตป้ รชั ญาการดำ� เนนิ ธรุ กิจ “ALL WIN” และการพัฒนาแผนการดำ� เนินงานด้านความยัง่ ยนื โดยการอา้ งองิ การจดั ทำ� รายงานให้มีความสอดคล้องตามดชั นีช้ี วดั ของ Global Reporting Initiative version 4.0 (GRI G4) เน้ือหาและสาระส�ำคัญของการรายงานในปี 2559 มุ่งเน้นการด�ำเนนิ งาน ตามกลยทุ ธ์ เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลสำ� เรจ็ เปน็ ไปตามวสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกจิ ของบรษิ ทั ภายใตก้ ารกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี การบรหิ ารความเสย่ี ง และ การนำ� ปรชั ญาการดำ� เนนิ ธรุ กจิ มาสกู่ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทงั้ ในการดแู ลผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ของบรษิ ทั การสรา้ งพนกั งานของบรษิ ทั ให้มีอุดมการณ์ของอมตะท่ีเป็นคนดีและคนเก่งของสังคม การสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับธุรกิจและการสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจของ ประเทศ และการสรา้ งสรรคส์ งั คมและชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยนื โดยเชอื่ มโยงกบั บรบิ ทการพฒั นาความยงั่ ยนื ทเ่ี ปน็ สากลในดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ น สงั คม และด้านส่งิ แวดลอ้ ม รายงานความย่งั ยืน ประจำ� ปี 2559 แสดงผลการดำ� เนินงานครอบคลุมทุกสายงานของ บรษิ ทั อมตะ คอร์ปอเรชนั จ�ำกดั (มหาชน) และนคิ มอุตสาหกรรมของบรษิ ัทในประเทศไทยทัง้ 2 แห่ง ไดแ้ ก่ นิคมอตุ สาหกรรมอมตะนคร จงั หวดั ชลบุรี และนคิ มอตุ สาหกรรม อมตะซิตี้ จังหวดั ระยอง 3.2 ประเด็นด้านความยง่ั ยนื ท่ีสำ� คญั บริษัทได้มีการท�ำงานร่วมกับท่ีปรึกษาที่มีความเช่ียวชาญและติดตามรวบรวมข้อมูลท่ีส�ำคัญในงานธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและ ผลิตภณั ฑ์บรกิ ารอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ เพอื่ วเิ คราะหแ์ นวโน้มและทศิ ทางการพฒั นาดา้ นเทคโนโลยี และการ เปลยี่ นแปลงของสภาวะแวดลอ้ มทอ่ี าจจะสง่ ผลกระทบตอ่ การประกอบธรุ กจิ ของบรษิ ทั และไดน้ ำ� ขอ้ มลู เหลา่ นนั้ มาทบทวนนโยบายและ ปรับปรุงแผนงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ โดยยังคงมุ่งมั่นให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืนภายใต้ปรัชญาการ ดำ� เนนิ ธุรกจิ “ALL WIN” พร้อมทัง้ เชอื่ มโยงประเดน็ ด้านความยั่งยืนทีส่ ำ� คญั ของการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ของบริษัทในดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม ซ่ึงบริษัทไดน้ ำ� แนวทางของ Global Reporting Initiative Version 4.0 (GRI G4) มาประยุกต์ในการวิเคราะหป์ ระเดน็ ดา้ นความยัง่ ยนื ในปี 2559 นี้ บรษิ ัทได้ดำ� เนนิ การจัดกิจกรรมรับฟังความคดิ เหน็ จากผมู้ สี ว่ นไดเ้ สียร่วมกับ Swedish Institute Management Program Asia (SIMP Asia) ซงึ่ เป็นองคก์ รช้ันนำ� ของโลกด้านความเป็นเลิศในการทำ� ธรุ กจิ อยา่ งย่ังยนื โดยมีวัตถปุ ระสงคข์ องการจดั กจิ กรรมรับ ฟงั ความคดิ เหน็ จากผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ในครงั้ นี้ เพอ่ื พจิ ารณามมุ มองของผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทมี่ ตี อ่ บรษิ ทั ในดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม และน�ำไปสู่การระบุประเด็น (Identification) ท้ังน้ีประเด็นต่างๆจากมุมมองของผู้มีส่วนได้เสียจะถูกน�ำมาเข้าสู่กระบวนการจัดล�ำดับ ความส�ำคัญของประเด็นดา้ นความยงั่ ยนื (Prioritization) ซ่งึ ในกระบวนการนีจ้ ะมีการนำ� ประเดน็ ที่มีนยั ส�ำคัญตอ่ องคก์ ร และผมู้ ีส่วน ได้เสียมาวิเคราะห์ โดยเทียบเคียงกับแนวทางการวิเคราะห์ประเด็นด้านความย่ังยืนตามแนวทางของ GRI G4 ในรูปแบบเมทริกซ์ (Materiality Matrix) โดยแกนนอน แสดงระดับผลกระทบตอ่ บริษัทในดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ และสิง่ แวดล้อม และในแกนตง้ั แสดงระดับ ผลกระทบต่อความสนใจของกลมุ่ ผ้มู ีส่วนได้เสียดังตารางและรูปภาพด้านลา่ ง ดงั นี้
20 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 ตารางประเดน็ ทีม่ ีนัยสำ� คญั ต่อองคก์ ร ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นสังคม ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม 3.1 การอนรุ ักษพ์ ลงั งาน 1.1 การกำ� กับดแู ลกจิ การ 2.1 การปฏบิ ัติดา้ นแรงงานและสิทธมิ นษุ ยชน 3.2 การบรหิ ารจัดการน้ำ� 3.3 การเฝ้าระวงั คณุ ภาพอากาศ 1.2 การดำ� เนินธรุ กิจดว้ ยความเปน็ ธรรม 2.2 ความปลอดภัยและอาชีวอนามยั 3.4 กากอุตสาหกรรมและมูลฝอย 3.5 การปฏบิ ตั ิตามกฎหมายส่ิงแวดลอ้ ม 1.3 การตอ่ ต้านการทุจรติ 2.3 ชุมชนท้องถิน่ 3.6 ผลิตภัณฑแ์ ละบริการ 1.4 การดำ� เนนิ การดา้ นภาษี 2.4 การฝึกอบรมและการใหค้ วามรู้ 1.5 การบรหิ ารความเสย่ี ง 2.5 การสรา้ งเครอื ขา่ ยกบั ชมุ ชน 1.6 การสร้างความผกู พันและการพัฒนารว่ มกบั ลกู คา้ 2.6 การสื่อสารการตลาด 1.7 นวตั กรรมในกระบวนการธรุ กิจ 2.7 ปัญหาจราจร 1.8 ขอ้ ปฏิบตั ิในการจดั ซอื้ จดั จ้าง 10 สำ ัคญมาก 1.5 2.5 3.2 1.3 2.7 2.3 2.1 3.3 1.2 1.4 2.4 2.6 3.4 1.7 1.6 สำ ัคญ นอย 3.6 1.1 3.5 3.1 1.8 สำคัญนอย 5 สำคัญมาก ดานเศรษฐกิจ ดา นสิ�งแวดลอ ม ดา นสังคม
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 21 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 4กแลาะรกดา�ำรเนกนิ�ำกงาับนดดูแา้ลนกเิจศกราษรฐทก่ีดจิ ี 4.1 แนวทางการดำ� เนินธรุ กิจ คณะกรรมการบรษิ ทั สง่ เสรมิ การสรา้ งความยงั่ ยนื แกธ่ รุ กจิ และรกั ษาประโยชนข์ องผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี และสงั คมเปดิ โอกาสใหผ้ มู้ สี ว่ นไดเ้ สยี แสดงความเหน็ เกยี่ วกบั การดำ� เนนิ กจิ การ เพอ่ื เปน็ กลไกและกระบวนการทจี่ ะดแู ลใหม้ กี ารดำ� เนนิ การอยา่ งจรงิ จงั นำ� ไปสกู่ ารเปน็ องคก์ ร ทม่ี กี ารกำ� กบั ดแู ลกิจการท่แี ท้จริง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายขอ้ บงั คบั และกฎระเบยี บทเี่ กี่ยวข้องอย่างเครง่ ครดั 2. ปฏิบตั ติ ามนโยบาย “การกำ� กับดแู ลกิจการ” และ “จรรยาบรรณทางธุรกจิ ”ของบริษัท 3. มงุ่ มน่ั ทจี่ ะประกอบธรุ กิจดว้ ยความโปร่งใส ซื่อสตั ย์สุจรติ และเปน็ ธรรม 4. ยดึ มัน่ ในการปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดีปลูกฝงั ใหพ้ นักงานมีจติ สำ� นึกทีด่ ี 5. คาํ นึงถงึ ผลประโยชน์ และผลกระทบจากการด�ำเนินงานขององคก์ ร ด้วยความเสมอภาคและเปน็ ธรรมทางสงั คมต่อผูม้ ีส่วน ไดเ้ สยี ของบริษทั 6. ดําเนินธรุ กิจด้วยความรบั ผดิ ชอบและรักษาประโยชนข์ องผ้มู ีส่วนได้เสยี และสงั คม 7. สร้างระบบงานทเ่ี ขม้ แข็งเพือ่ ป้องกนั การทุจริตผ่านระบบการตรวจสอบภายใน 8. กําหนดใหก้ รรมการ ผบู้ ริหาร และพนักงานทว่ั ทง้ั องคก์ รมีส่วนร่วมในการตอ่ ตา้ นการทุจริต รายงาน ความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ การส่ือสารอย่างมปี ระสิทธิผล สง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ิตในการทาํ งาน 9. เปดิ โอกาสให้ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี มชี อ่ งทางการรอ้ งเรยี นและรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และมมี าตรการ คมุ้ ครองผรู้ อ้ งเรยี นหรอื ผแู้ จง้ เบาะแส 4.2 นโยบายตอ่ ตา้ นทจุ ริตคอรร์ ัปชนั่ คณะกรรมการบริษทั คำ� นึงถงึ การต่อตา้ นทจุ ริตคอรร์ ปั ชั่นจึงได้กำ� หนดว่า “หา้ มกรรมการ ผ้บู รหิ าร และพนกั งานของบริษัท เรียกรอ้ ง ดำ� เนนิ การ หรอื ยอมรบั การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ในทกุ ประเทศ และทกุ หนว่ ยงาน ทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชนทธ่ี รุ กจิ ของบรษิ ทั เขา้ ไปเกยี่ วขอ้ ง โดยรว่ มกนั ส่งเสริมคา่ นยิ มความซื่อสตั ย์สจุ ริต และความรับผิดชอบให้เปน็ วฒั นธรรมองคก์ ร” ทง้ั นคี้ ณะกรรมการบรษิ ทั ไดก้ ำ� หนดนโยบายตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ มเี นอื้ หาครอบคลมุ ถงึ การดำ� เนนิ การของบรษิ ทั ในเรอื่ งดงั ตอ่ ไปน้ี 1. บรษิ ัท จดั ใหม้ ีการประเมนิ ความเสี่ยงดา้ นการทจุ ริตคอรร์ ัปช่นั ของบริษทั และจดั ท�ำมาตรการปฏิบัติท่ีสอดคล้องกับความ เส่ียงนน้ั และเป็นไปตามระบบควบคมุ ภายใน 2. บรษิ ทั จดั ทำ� ขัน้ ตอนปฏบิ ตั ิ ซ่ึงมีรายละเอียดทเ่ี พยี งพอต่อการน�ำไปปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบายน้ี ท่ีสามารถปอ้ งกนั การ เกิดทจุ ริตคอรร์ ปั ชน่ั ในการดำ� เนินธรุ กจิ 3. บรษิ ทั จัดให้มีการปฐมนิเทศและการฝึกอบรมให้แก่พนกั งาน เพ่ือใหค้ วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับนโยบาย มาตรการ และ ข้ันตอนปฏบิ ัติ ในการต่อต้านการทุจรติ คอร์รัปชนั่ 4. บริษัท จัดให้มีระบบควบคุมภายใน เพ่ือให้มั่นใจในประสิทธิภาพและประสิทธิผลของนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปช่ัน ซึ่งครอบคลุมถึงกระบวนการเก็บบันทึกข้อมูลทางการเงิน การบัญชี กระบวนการบริหารบุคคล และกระบวนการอ่ืนๆ ท่ี เกย่ี วข้องกบั การปฏิบตั งิ านของบรษิ ัท
22 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 5. บริษัท จัดให้มีการรายงาน การตดิ ตาม และการทบทวนเกย่ี วกับการปฏิบตั ติ ามนโยบายตอ่ ต้านการทจุ ริตคอร์รปั ช่นั โดยมี ข้ันตอนการดำ� เนินการที่เหมาะสม เพ่ือให้มั่นใจได้ว่า นโยบายมีความครบถ้วน เพยี งพอและทนั ตอ่ สภาวะการณ์ 6. บรษิ ทั จดั ใหม้ ชี อ่ งทางในการสอื่ สารทป่ี ลอดภยั ใหพ้ นกั งานของบรษิ ทั และผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทกุ ฝา่ ยสามารถขอคำ� แนะนำ� แจง้ เบาะแส ขอ้ เสนอแนะ หรือรอ้ งเรยี นกรณีเกย่ี วกบั การทจุ รติ คอร์รัปชั่น โดยมมี าตรการคุ้มครองสทิ ธิใหแ้ กบ่ ุคคลดังกล่าว 7. บริษัท จัดให้มีการสอ่ื สารนโยบายในการต่อตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ัปชั่น ทั้งภายในและภายนอกบรษิ ทั เพอื่ ให้เกิดการปฏบิ ัติ ตามในวงกว้างซึ่งรวมไปถึงการแจ้งให้บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทอื่นที่บริษัทมีอ�ำนาจ ในการควบคุม และตัวแทนทาง ธรุ กจิ นำ� นโยบายในการต่อต้านการทจุ รติ คอรร์ ปั ชั่นของบรษิ ัท ไปปฏิบัติ 8. บรษิ ทั สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารแลกเปลยี่ นความรปู้ ระสบการณแ์ ละแนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ รี ะหวา่ งบรษิ ทั อนื่ ทอ่ี ยู่ในอตุ สาหกรรมเดยี วกนั กบั บรษิ ทั รวมทง้ั ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย เพอื่ เปน็ แนวรว่ มปฏบิ ตั แิ ละเขา้ รว่ มในกจิ กรรมตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชน่ั ซงึ่ จดั ขนึ้ โดยบรษิ ัท สมาคมหอการคา้ หรือ หนว่ ยงานกำ� กับดูแลอน่ื ๆ 4.3 การบรหิ ารความเส่ียง บรษิ ทั และบรษิ ทั ยอ่ ยมกี ารกำ� หนดวตั ถปุ ระสงคท์ ชี่ ดั เจนทงั้ วตั ถปุ ระสงคร์ ะดบั องคก์ รและวตั ถปุ ระสงคร์ ะดบั กจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ ง กันเพ่ือที่จะสามารถท�ำงานให้ส�ำเร็จด้วยงบประมาณประจ�ำปีที่ได้รับการอนุมัติและทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม อีกทั้งบริษัทและ บริษัทย่อยได้มีการวิเคราะห์ความเส่ียงและการบริหารความเส่ียงท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ฝ่ายบริหารจึงก�ำหนดให้มีการ ด�ำเนนิ การอย่างสม่ำ� เสมอ ดังต่อไปนี้ • ประชมุ เพอ่ื ประเมนิ ถงึ ความเสยี่ งในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ อยา่ งสมำ�่ เสมอและวเิ คราะหถ์ งึ สาเหตทุ ท่ี ำ� ใหเ้ กดิ เปน็ ความเสยี่ ง ตลอด จนมีการตดิ ตามสถานการณท์ ี่เป็นสาเหตขุ องความเสีย่ ง เพอ่ื กำ� หนดมาตรการปอ้ งกนั หรอื ลดความเส่ียงดงั กล่าว • แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาของแต่ละฝ่ายงานทราบถึงแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายการบริหารความเส่ียง เพื่อน�ำไปถ่ายทอด แก่พนักงานทกุ คนเพ่ือปฏิบัตติ ามแนวทางการบริหารความเสีย่ งท่กี �ำหนด
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 23 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 5กดาา้ รนดสำ�งั เคนมินงาน 5.1 การบริหารจัดการทรัพยากรบคุ ลากรในองค์กร บรษิ ทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จำ� กดั (มหาชน) ได้ก�ำหนดความสามารถหลักขององค์กร (Core Competency) ทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวทางการพัฒนาและวิสัยทัศน์ขององค์กร เพ่ือใช้เป็นตัวก�ำหนดคุณลักษณะที่ทุกคนในองค์กรจ�ำเป็นต้องมีเป็นพื้นฐาน เรียกว่า AMATA DNA ประกอบดว้ ยหลกั 5 ประการของการเป็นพนกั งาน (D-R-I-V-E) ดังน้ี 1. น่าเชอ่ื ถอื วางใจได้ (Dependable: D) ประพฤติตนเปน็ ทน่ี ่าเชอ่ื ถือโดยการรับผิดชอบในงานท่ที ำ� รกั ษาคำ� พูด สามารถพ่งึ พาได้ มีความซอื่ ตรง เป็นธรรม คำ� นึงจติ ใจ ของผอู้ ื่น จรงิ ใจ โปรง่ ใส ปฏิบตั ติ ามระเบยี บและจรรยาบรรณขององค์กร 2. พรอ้ มให้การตอบสนอง (Responsive:R) รบั รแู้ ละตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการหรอื ความรสู้ กึ ของผอู้ นื่ อยา่ งรวดเรว็ และเปน็ ทปี่ ระทบั ใจ ใหบ้ รกิ ารลกู คา้ ดว้ ยความจรงิ ใจและ รับผิดชอบ เพอ่ื ใหล้ กู ค้าเกดิ ความพึงพอใจสูงสุด 3. ลองคิดส่งิ ใหม่ (Innovative: I) มองปัญหาจากหลายด้าน มีความคิดสรา้ งสรรคเ์ พือ่ คิดตอ่ ยอดหรอื คิดออกนอกกรอบ เพ่ือพัฒนาผลติ ภัณฑ์ บริการ และวธิ กี าร ท�ำงานแบบใหม่ ที่ได้ผลดีมากกวา่ เดิม 4. มองไกลไปขา้ งหนา้ (Visionary: V) มีมุมมองในอนาคตท่กี วา้ งไกล สรา้ งสรรค์ และหลากหลายแง่มมุ มคี วามสนใจใฝ่รูใ้ นองค์ความร้ใู หม่ๆ และนวัตกรรม สามารถ น�ำมาประยุกต์ใช้ให้เปน็ ประโยชน์แกอ่ งคก์ ร 5. เตม็ คณุ ค่ามีประสทิ ธภิ าพ (Efficient: E) ทำ� งานอย่างมปี ระสทิ ธิผล โดยไม่เสยี เวลา ความพยายาม หรอื ค่าใชจ้ า่ ยโดยเปล่าประโยชน์ พยายามท�ำงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย และมาตรฐานการทำ� งานทีต่ ั้งไว้ โดยใชท้ รพั ยากรอยา่ งเตม็ คุณค่า
24 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 การสรรหาและคดั เลือกพนักงาน (Recruitment) บรษิ ทั มนี โยบายในการดำ� เนินการสรรหาและคดั เลือกบคุ ลากร โดยยดึ หลักดา้ นการสรรหาทง้ั ภายในและภายนอก เพอ่ื คัดเลือกผสู้ มคั ร ท่ีมีศกั ยภาพใหท้ นั ความต้องการของธุรกิจ ดงั น้ี การสรรหาและคดั เลอื กพนกั งานภายใน เพอ่ื เปน็ การเปดิ โอกาสใหก้ บั พนกั งานภายในบรษิ ทั ไดม้ โี อกาสทจ่ี ะพฒั นา และเจรญิ เตบิ โตใน หนา้ ทกี่ ารงาน การสรรหาและคดั เลอื กพนกั งานภายนอก เพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั แผนการด�ำเนนิ ธุรกจิ ของบรษิ ทั และเป็นการเตรยี มบคุ ลากรให้พรอ้ ม เพอ่ื รองรบั การขยายธรุ กจิ ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ กำ� หนดการวางแผนงานการสรรหาและคดั เลอื ก ใหเ้ ปน็ ไปตามโครงสรา้ งอตั รา ก�ำลังและแผนการขยายธรุ กิจของบรษิ ัท โดยการกำ� หนดคุณสมบตั แิ ละความสามารถของพนกั งาน ให้มีทักษะด้านภาษาอังกฤษ และ ภาษาอ่ืน ๆ เพือ่ ใหส้ ามารถสอ่ื สารได้ในระดับสากล บรษิ ทั มงุ่ เนน้ ทจ่ี ะไดผ้ ู้มคี ณุ สมบัตติ รงตามท่ีกำ� หนดเขา้ มาร่วมงาน บคุ คลภายนอกสามารถสมคั รเพอื่ เข้าเป็นพนกั งานของบริษทั ได้ หลายชอ่ งทาง อาทิ เวบ็ ไซต์ของบริษทั และเวบ็ ไซตก์ ารสมัครงานทม่ี ีช่ือเสียงต่างๆ ทั้งนี้บริษทั ยงั ได้มีการใชบ้ ริการของบริษัท จัดหา งาน เพื่อสรรหาบุคลากรทมี่ คี ณุ สมบตั ิตรงตามความต้องการของบรษิ ทั โดยในการสรรหา จะเปิดเสรีให้ผู้ท่มี ีคุณสมบัติ ท่มี ีความสนใจ สามารถสมัครไดเ้ สมอภาคกนั ทั้งดา้ น ศาสนา เพศ อายุ เชอื้ ชาติ ภมู ิล�ำเนา และสถาบันการศกึ ษา เป็นต้น ในปี 2559 บริษทั มีพนักงานท้งั หมด 179 คน แบ่งออกเป็นพนกั งานชายจ�ำนวน 87 คน (ร้อยละ 49) และพนกั งานหญงิ จำ� นวน 92 คน (รอ้ ยละ 51) หากทำ� การวเิ คราะห์ช่วงอายขุ องพนกั งานท่ีท�ำงานในบริษทั ส่วนใหญ่จะมอี ายุมากกว่า 35 ปขี นึ้ ไป จำ� นวน 119 คน หรอื คิดเป็นร้อยละ 66%ของพนกั งานทัง้ หมด รองลงมาเป็นพนักงานทม่ี อี ายรุ ะหวา่ ง 25 ปี ถงึ 35 ปี จำ� นวน 54 คน หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 30%ของพนกั งานทงั้ หมด ในสว่ นระดบั การศกึ ษาของพนกั งานในบรษิ ทั นน้ั สว่ นใหญจ่ ะจบการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี รองลงมาเปน็ ปรญิ ญาโทและทสี่ งู กวา่ และตำ�่ กวา่ ปรญิ ญาตรี และเมอื่ ทำ� การพจิ ารณาเรอื่ งการจา้ งแรงงานในทอ้ งถน่ิ จะพบวา่ บรษิ ทั มกี ารจา้ งแรงงาน ในภมู ภิ าคตะวันออกคดิ เปน็ รอ้ ยละ 35 ของพนกั งานท้งั หมด เพศของพนักงานในกล่มุ บริษัทอมตะ อายุของพนักงานในกลุม่ บรษิ ทั อมตะ 93 140 119 92 92 120 54 100 91 80 60 90 40 20 89 06 คน 88 18-25 ปี คน87 87 ต�่ำก ่วาป ิรญญาต ีร86 ป ิรญญาตรี 85 สูงกว่าปริญญาตรี คน84 หญิงชาย25-35 ปีมากกว่า 35 ปี คนระดบั การศึกษาภูมิล�ำเนา ภาคกลาง 80 ภาคเห ืนอ74 70 ภาคตะวันอภอากคเตฉีะย ัวงเนหออืนกอ 60 63 1048951723600000000000 88 ภาคใต้ 50 ภาคตะวันตก4262 40 8 14 30 20 10 0 4 3
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 25 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 การสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ิต แรงจงู ใจท่ีดแี ละความผูกพนั ของพนกั งาน บรษิ ทั ส่งเสรมิ ใหพ้ นกั งานสรา้ งความสมดลุ ระหว่างการทำ� งานและการใช้ชีวติ ส่วนตวั (Work Life Balance) ตามแนวทางของคมู่ อื ความสขุ 8 ประการในที่ท�ำงาน HAPPY WORKPLACE ดว้ ยการสง่ เสรมิ ใหพ้ นกั งานมคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี ไดร้ ับผลตอบแทนทง้ั ในรูป แบบที่เป็นตวั เงินและไมเ่ ป็นตวั เงิน บริษัท จดั ใหม้ ีสวสั ดิการและสทิ ธปิ ระโยชน์ ดงั น้ี • Happy Body บริษัทได้จัดสวัสดิการเพื่อส่งเสริมสุขภาพให้กับพนักงานเช่น ตรวจสุขภาพประจ�ำปี เงินช่วยเหลือรักษา พยาบาล อาหารกลางวนั อาหารเสริมและวิตามนิ ต่างๆ บริษัทได้ส่งเสริมการออกกำ� ลงั กาย เปน็ ต้น • Happy Heart บรษิ ทั เลง็ เห็นความสำ� คญั ของการมนี �ำ้ ใจเอ้ืออาทรต่อกนั และกนั เนอ่ื งจากมคี วามว่าเชอื่ ความสุขท่แี ท้จรงิ คือการเปน็ ผู้ให้ บริษทั จึงไดจ้ ัดกิจกรรม Happy Birthday เพอื่ สรา้ งความสขุ ให้กบั พนกั งาน • Happy Relax บริษัทได้สร้างสรรค์กิจกรรมเพ่ือสร้างความสุขและความบันเทิงให้กับบุคลากร ให้ผ่อนคลายท้ังร่างกายและ สมอง ท้ังยงั เปน็ การเตมิ หวั ใจใหพ้ ร้อมทำ� งานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เชน่ กจิ กรรม AMATA Staff Party (New Year Party) กิจกรรมประกวดรอ้ งเพลง AMATA Singing Contest เป็นตน้
26 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 • Happy Brain บริษัทได้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมให้พนักงานได้ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม และเพ่ิมพูนทักษะและ ประสบการณ์ ตลอดจนมกี ารพัฒนาตนเองอย่างสมำ�่ เสมอ นำ� ไปสคู่ วามเป็นมอื อาชพี และมีความกา้ วหน้าในหน้าท่ีการงาน บรษิ ทั ได้จดั กจิ กรรมศกึ ษาดูงาน เร่ือง Corporate Governance and Anti-Corruption จากบริษทั ชนั้ น�ำในประเทศไทย • Happy Soul บรษิ ทั ส่งเสริมใหพ้ นกั งานยึดมนั่ ในหลกั ศาสนา ศีลธรรม สนับสนุนให้เป็นคนดี คิดดี ทำ� ดี บรษิ ัท จึงได้จัด กิจกรรมท�ำบุญเนื่องในโอกาสสำ� คัญต่างๆ เปน็ ประจ�ำ กิจกรรมสรงนำ�้ พระ และรดน้�ำขอพรผใู้ หญ่ในวันสงกรานต์ • Happy Money บริษัทส่งเสรมิ ให้พนกั งานร้จู ักเกบ็ ออม ไม่เป็นหน้ีสนิ และปลูกฝังนิสัยการออมเงิน ผ่านการออมเงนิ กบั กองทนุ สำ� รองเลยี้ งชพี และจดั กจิ กรรมบรรยายใหค้ วามรเู้ รอื่ งวธิ กี ารบรหิ ารเงนิ อยา่ งชาญฉลาด โดยผเู้ ชย่ี วชาญทางดา้ นการ เงนิ
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 27 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 • Happy Family บริษัท เลง็ เห็นความสำ� คัญของการมีครอบครวั ทอ่ี บอนุ่ และม่นั คง ปลูกฝังนสิ ยั รกั ครอบครวั ผา่ นกจิ กรรม ตา่ งๆ เชน่ กจิ กรรมประกวดภาพถ่ายเนอ่ื งในโอกาสวนั แม่ 12 สงิ หาคม เป็นต้น • Happy Society บรษิ ทั สง่ เสรมิ ใหพ้ นักงานมีความรักสามคั คเี อ้อื เฟื้อต่อชมุ ชนท่ตี นท�ำงาน และพกั อาศัย และสนบั สนุนให้ พนักงานได้มีโอกาสตอบแทนสังคมโดยท�ำหน้าที่จิตอาสาต่างๆ เช่น กิจกรรมทาสีโรงเรียน และเล้ียงอาหารกลางวันเด็ก เปน็ ต้น
28 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 กองทุนสำ� รองเลีย้ งชีพ บริษทั ร่วมกบั พนกั งานได้รว่ มกนั จดั ต้ังกองทุนส�ำรองเลย้ี งชพี ฯ มีการควบคมุ กำ� กบั ดแู ลการบริหารจดั การโดยคณะกรรมการกองทนุ ฯ เพ่ือส่งเสรมิ ใหพ้ นักงานสะสมเงินออม โดยพนักงานสามารถเลอื กจา่ ยเงนิ สะสมเข้ากองทุนได้ในอัตรารอ้ ยละ 5-15 ของเงนิ เดอื นของ พนกั งานแตล่ ะราย และบรษิ ทั สมทบรอ้ ยละ 5-15 ของเงนิ เดอื นของพนกั งาน เพอ่ื เปน็ หลกั ประกนั ความมนั่ คงดา้ นการเงนิ ของพนกั งาน เงินช่วยเหลือประเภทตา่ งๆ บรษิ ัท มอบเงนิ ชว่ ยเหลอื พนักงานในโอกาสต่างๆ ได้แก่ ทนุ การศกึ ษา เงินช่วยเหลือกรณีพนกั งานสมรส คลอดบุตร เงินกู้ช่วยเหลอื ในกรณีจ�ำเปน็ ฉกุ เฉิน เงนิ ชว่ ยเหลอื มรณกรรมสำ� หรับพนักงาน ตามหลักเกณฑ์ของบรษิ ทั ทั้งนี้ นอกจากตัวพนกั งานแล้วยังขยายการ ชว่ ยเหลือครอบคลมุ ไปถงึ บุคคลในครอบครวั ของพนกั งาน ไดแ้ ก่ เงินทุนการศึกษาของบุตร เงนิ ชว่ ยเหลือกรณีบุคคลในครอบครัวเสีย ชวี ิต สวสั ดิการและผลประโยชน์อนื่ บรษิ ทั กำ� หนดผลประโยชนพ์ นกั งานโดยยึดหลกั ความเหมาะสมตามหนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบ โดยไมม่ ีการเลือกปฏิบตั ิ อาทิ การตรวจ สขุ ภาพประจำ� ปี การประกนั สขุ ภาพ การประกนั ชวี ติ และประกนั อบุ ตั เิ หตุ ทง้ั ยงั ครอบคลมุ สวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาล และการรกั ษาดา้ น ทนั ตกรรมดว้ ย การพฒั นาทรัพยากรบุคคล แนวทางในการพัฒนาองค์กรของบริษัท คือ การพัฒนาพนักงานมีความรู้ความสามารถ มีศักยภาพเพียงพอท่ีจะแข่งขันได้ในธุรกิจ ตา่ งๆ บนเวทโี ลก สามารถตอบสนองนโยบายของบรษิ ัท รองรับการขยายตวั และเป้าหมายของการดำ� เนินธรุ กิจในอนาคตได้อยา่ งมอื อาชีพ บรษิ ัทจึงไดจ้ ัดการฝึกอบรมภายในและภายนอกส�ำหรบั พนกั งานและผบู้ รหิ าร โดยวิเคราะห์ ออกแบบ จดั หาหลักสตู รจากวทิ ยากรที่มี ความเชย่ี วชาญ ตลอดจนองคก์ รชน้ั นำ� ไมว่ า่ จะเปน็ สถาบนั การศกึ ษาภาครฐั และเอกชน เชน่ หลกั สตู ร Leadership Succession Program ตลอดจนการจดั อบรมการพฒั นาทกั ษะดา้ นการใชภ้ าษาตา่ งประเทศใหแ้ กพ่ นกั งาน เชน่ ภาษาองั กฤษ ภาษาญป่ี นุ่ และภาษาจนี เปน็ ตน้ 5.2 กลาุ่มรแพมน่ัฒำ�้ นคาลออยงา่หงลยว่ังงยืนผา่ นเครือขา่ ยไตรภาคีเพือ่ การบรหิ ารจัดการ ลมุ่ น�้ำคลองหลวงเป็นลมุ่ นำ�้ สาขาหนงึ่ ของลมุ่ น้�ำบางปะกง ลุ่มน้�ำคลองหลวงมีพ้ืนท่ีรบั น�้ำฝนท้ังสิ้น 1,897 ตารางกิโลเมตร ครอบคลมุ พื้นท่ี 7 อ�ำเภอ ในจงั หวัดชลบุรี ได้แก่ อำ� เภอบา้ นบงึ อำ� เภอพานทอง อ�ำเภอพนสั นคิ ม อ�ำเภอเกาะจันทร์ อำ� เภอบ่อทอง อ�ำเภอเมอื ง ชลบรุ ี อำ� เภอหนองใหญ่ และ 3 อำ� เภอของจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ไดแ้ ก่ อำ� เภอบา้ นโพธิ์ อำ� เภอบางปะกง อำ� เภอแปลงยาว รวม 2 จงั หวดั จงั หวดั ชลบรุ ี จงั หวัดฉะเชิงเทรา มี 10 อำ� เภอ 63 ท้องถิ่น พน้ื ทีข่ องนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร จังหวดั ชลบรุ ี ตงั้ อยู่ใกล้กับพ้นื ท่ีลุ่มนำ้� คลองหลวงบริเวณอ�ำเภอบางปะกง ซึง่ เป็นเสน้ ทางผ่าน ของนำ้� กอ่ นท่ีไหลลงสูท่ ะเล บรษิ ัทจึงตระหนักในความส�ำคัญของการดูแลรักษาทรพั ยากรนำ้� และการบรหิ ารจดั การนำ�้ เพ่ือลดผลกระ ทบจากการเกิดน้�ำท่วมขังในพื้นท่ีของชุมชนและนิคมอุตสาหกรรม โดยเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมกันแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างง ภาครัฐ ภาคประชาชน และเอกชน ดังน้ันบรษิ ัทจงึ รว่ มมือกับหนว่ ยราชการทอ้ งถิน่ ชุมชนในพ้ืนท่ลี ่มุ น้�ำคลองหลวง และภาคประชา สังคม ร่วมกันจัดตั้งคณะกรรมการในเครือข่ายไตรภาคี เพื่อการบริหารจัดการลุ่มแม่น้�ำคลองหลวงร่วมกันและสนับสนุนการท�ำงาน อยา่ งประสทิ ธภิ าพ โดยกำ� หนดยทุ ธศาสตรข์ องสภาบรหิ ารจดั การลมุ่ นำ้� คลองหลวงเพอ่ื “การบรหิ ารจดั การลมุ่ นำ�้ คลองหลวงอยา่ งยง่ั ยนื สสู่ ายน�้ำแหง่ ความสขุ ” สภาบรหิ ารจดั การลมุ่ นำ้� คลองหลวงไดถ้ กู จดั ตงั้ ขน้ึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สรา้ งระบบการบรหิ ารจดั การในมติ ขิ องการอนรุ กั ษฟ์ น้ื ฟู การ สงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมทั้งหมดในลุ่มน�้ำหลักและลุ่มน�้ำย่อย และการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ ทรพั ยากรธรรมชาติในลมุ่ นำ�้ ทง้ั หมดอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยใหป้ ระชาชนทกุ ภาคสว่ นไดร้ ว่ มรบั ผดิ ชอบในการสรา้ งสรรคค์ ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดีรว่ มกนั และกำ� หนดกรอบการพัฒนาโครงการรวมกนั กบั หนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 29 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 ภมู ปิ ระเทศลมุ่ แมน่ ำ้� คลองหลวง-บางปะกง ภาพประชมุ กิจกรรมเวทสี าธารณะ ภาพการประชมุ การจัดทำ� แผนงาน
30 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 กจิ กรรมของสภาลุ่มน�ำ้ คลองหลวง (ทีผ่ า่ นมา) กจิ กรรมคลองสวยนำ้� ใส ดำ� เนินการขุดลอกคลองบ้านป่ามาถึงคลองเซิด ในการดำ� เนนิ งานเครอื ขา่ ยไตรภาคเี พอื่ การบรหิ ารจดั การลมุ่ แมน่ ำ�้ คลองหลวง ทำ� ใหอ้ มตะไดส้ รา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั ชมุ ชนโดยรอบ และสร้างการรับรู้และความเข้าใจในเจตนารมย์และการด�ำเนินธุรกิจอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของบริษัทท่ีด�ำเนินมาอย่างเคร่งครัด ตลอดจนเพ่ิมการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนในการช่วยกนั ดูแลรกั ษาสายนำ�้ เป็นการสรา้ งทีมงานเฝา้ ระวังปัญหาน้ำ� ต่างๆร่วมกัน เชน่ น้�ำ เนา่ เสยี และนำ้� ทว่ ม ทอี่ าจจะเกดิ จากบคุ คลอนื่ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจแกช่ มุ ชนและองคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในเรอ่ื งสาเหตทุ ที่ ำ� ให้ เกิดน�ำ้ เนา่ เสยี อ่ืนๆท่ีไมไ่ ดเ้ กิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และร่วมมือกนั หาหนทางแกป้ ญั หาและปอ้ งกนั ซึง่ เวทสี ภาลมุ่ น้�ำคลองหลวงนี้ ได้กลายเปน็ กลไกส�ำคัญในการขับเคลอื่ นผลกั ดนั การท�ำงานรว่ มกันระหวา่ งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนทอ้ งถิ่นไดเ้ ปน็ อย่างดี 5.3 การสรา้ งงานในภมู ภิ าคตะวันออก บริษัทได้ร่วมกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง จัดงานจัดกิจกรรมนัดพบแรงงานท่ีนิคมอุตสาหกรรม อมตะ จังหวดั ชลบุรี และจังหวัดระยอง เป็นประจ�ำทกุ ปี โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ให้บรกิ ารจดั หางานแกป่ ระชาชนที่ประสงคจ์ ะหางานทำ� ผตู้ ้องการเปลย่ี นงาน ผปู้ ระกันตนทีว่ า่ งงาน ผู้ท่สี ำ� เรจ็ การศึกษาใหม่ ใหม้ โี อกาสสมัครงานกบั ผปู้ ระกอบการโดยตรง และเพ่อื อ�ำนวย ความสะดวกให้กับบรษิ ัทผ้ปู ระกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ท่ีตอ้ งการรบั พนกั งาน สามารถรับสมคั รและคัดเลอื กพนักงาน ไดเ้ องโดยตรง ครงั้ ละจำ� นวนมากๆ เปน็ การสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การจา้ งงานในพน้ื ทช่ี ว่ ยแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนแรงงานในภาคอตุ สาหกรรม นอกจากน้ี บรษิ ัทได้จัดพ้นื ท่สี ว่ นหนง่ึ ให้ชมุ ชนท้องถ่นิ ไดน้ ำ� สนิ ค้ามาจำ� หน่ายในนิคมอตุ สาหกรรมอมตะนคร โดยไม่เสียคา่ ใช้จา่ ยอกี ดว้ ย กิจกรรมนัดพบแรงงานที่นคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร จงั หวัดชลบุรี มผี ูส้ นใจเขา้ รว่ มกิจกรรมเปน็ จำ� นวนมากทุกปี สรุปไดด้ ังนี้
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 31 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 นคิ มอุตสาหกรรมอมตะนครและ ปี 2555 ปี ปี 2559 นคิ มอตุ สาหกรรมอมตะซิตี้ 7,682 ปี 2557 ปี 2558 8,511 จำ� นวนผู้สมัครงาน (คน) 441 192 จำ� นวนนายจา้ ง/สถานประกอบการทม่ี ารว่ มสมัครงาน (โรงงาน) 43,621 3,894 3,022 8,591 จำ� นวนตำ� แหนง่ งานวา่ ง (ต�ำแหน่ง) 436 180 123 86 ประมาณมลู ค่าของการจา้ งงานท่ีเกดิ ข้ึน (ลา้ นบาท) 6,640 5,741 66 57 5.4 กฬี าสรา้ งเครือขา่ ย กีฬาสร้างสขุ ภาพแข็งแรง กีฬาเพอ่ื มติ รภาพอมตะ โครงการกีฬาเพอื่ มติ รภาพอมตะ ภายใตค้ วามร่วมมือระหว่างบริษัทในกลุม่ อมตะ และ ผ้ปู ระกอบการภายในนิคมอตุ สาหกรรมอมตะ ได้ถูกจัดข้ึนเป็นประจ�ำทุกปีในช่วงเดือนมีนาคมถึงสิงหาคม ในปี 2559 นี้นับเป็นครั้งที่ 15 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความ สามคั คี ความมนี ้ำ� ใจนกั กีฬา เสรมิ สร้างพลานามยั ท่ีดี และการใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์เพอ่ื ใหห้ า่ งไกลจากยาเสพติด แก่ผบู้ ริหาร และพนกั งานทท่ี ำ� งานอยู่ในสถานประกอบการตา่ งๆ ในนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะ และสรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งอมตะและผปู้ ระกอบ การในนิคมอุตสาหกรรมอมตะ โดยแบง่ ประเภทการแขง่ ขนั กฬี าออกเป็น 8 ประเภท และท�ำการแขง่ ขนั เฉพาะวันอาทติ ย์เทา่ น้นั ลำ� ดับ ประเภทกฬี าที่แข่งขัน ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร (จำ� นวนทีม) (จ�ำนวนทีม) (จำ� นวนทีม) (จำ� นวนทีม) (จ�ำนวนทมี ) 1 ฟุตบอลชาย 11 คน 2 ฟตุ บอลหญงิ 9 คน 127 130 132 140 146 3 วอลเลยบ์ อลชาย-หญงิ 9 12 9 9 9 4 บาสเกตบอลชาย 56 45 64 56 53 5 เซปัคตะกร้อชาย (เฉพาะทมี เดีย่ ว) 18 18 15 15 15 6 แบดมินตัน (ชายคู่,หญิงคู่,คผู่ สม) 47 52 62 54 47 7 เทเบิล้ เทนนิส (ชายเด่ียว,หญิงเดีย่ ว,คผู่ สม) 8 เปตอง (ชายคู่,หญงิ ค)ู่ 103 67 119 109 112 74 58 73 71 82 53 43 55 39 47 ล�ำดบั ประเภทกฬี าทแี่ ขง่ ขนั ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซติ ้ี (จำ� นวนทมี ) (จ�ำนวนทมี ) (จำ� นวนทีม) (จ�ำนวนทมี ) (จำ� นวนทีม) 1 ฟุตบอลชาย 7 คน 2 ฟุตบอลหญงิ 7 คน 59 52 55 65 84 3 วอลเลย์บอลชาย-หญงิ - - -35 4 เซปัคตะกร้อชาย (เฉพาะทีมเดีย่ ว) 12 18 19 26 23 5 เปตอง (ชายค,ู่ หญงิ ค)ู่ 13 12 20 15 18 13 20 20 19 15
32 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 กีฬาอมตะ จเู นียร์ ลีค บรษิ ทั ไดจ้ ัดโครงการกีฬาอมตะ จเู นียร์ ลคี ขึ้นมาเพ่ือส่งเสริมใหเ้ ยาวชนใชเ้ วลาวา่ งเล่นกฬี าโดยไม่ต้องพงึ่ พาสิง่ เสพติด สง่ เสริมให้ เยาวชนรรู้ กั สามคั คี รแู้ พ้ รชู้ นะ รอู้ ภยั และสามารถดำ� รงชวี ติ อยู่ในสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ และเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของเยาวชนและ สง่ เสรมิ สขุ ภาพพลานามยั แกเ่ ยาวชนทกุ เพศ ทกุ วยั เพอ่ื ใหเ้ ตบิ โตทง้ั รา่ งกายและจติ ไจไดอ้ ยา่ งแขง็ แรงและเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ของประเทศ ชาตติ ่อไป
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 33 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 โครงการกฬี าอมตะ จเู นยี ร์ ลีค สนบั สนุนการใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ของเดก็ และเยาวชนทีศ่ กึ ษาอยู่ในสถานศึกษาโดยรอบนิคม อตุ สาหกรรมอมตะนคร จังหวดั ชลบุรี และนคิ มอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง โดยแบง่ เป็น 2 ระดับช้ัน คือ ประถมศกึ ษาตอน ปลาย และ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ซงึ่ ไดก้ �ำหนดให้มีกฬี าทท่ี ำ� การแขง่ ขนั ท้งั หมด 4 ประเภท ไดแ้ ก่ กฬี าฟุตบอลชาย วอลเลยบ์ อลหญงิ เซปคั ตะกรอ้ ชาย และ เปตองชาย/หญงิ ในการจดั การแขง่ ขนั ดงั กลา่ ว บรษิ ทั จดั เงนิ รางวลั ถว้ ยรางวลั เหรยี ญรางวลั เงนิ บำ� รงุ ทมี และ ชดุ นักกฬี า ใหก้ ับทุกโรงเรยี นทเ่ี ขา้ ร่วมการแข่งขันกฬี า จ�ำนวนทมี ท่ีเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ประจ�ำปี 2559 จ�ำนวน (ทมี ) ลำ� ดบั ประเภทกีฬาทแ่ี ขง่ ขันในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 28 11 1 กีฬาฟตุ บอลชาย 7 คน ระดบั ประถมศึกษา 14 2 กีฬาฟตุ บอลชาย 7 คน ระดับ มธั ยมศกึ ษา 10 3 กฬี าวอลเลยบ์ อลหญิง ระดับ ประถมศึกษา 8 4 กีฬาวอลเลยบ์ อลหญงิ ระดับ มธั ยมศึกษา 23 5 กีฬาเซปคั ตะกรอ้ ชาย ระดบั ประถมศึกษา 21 6 กีฬาเปตอง ชายคู่ ระดับ ประถมศกึ ษา 8 7 กีฬาเปตอง หญิงคู่ ระดบั ประถมศกึ ษา 7 8 กีฬาเปตอง ชายคู่ ระดบั มัธยมศกึ ษา 130 9 กีฬาเปตอง หญงิ คู่ ระดบั มธั ยมศึกษา รวมทงั้ สิ้น ล�ำดับ ประเภทกฬี าท่ีแขง่ ขันในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี จ�ำนวน (ทมี ) 1 กีฬาฟตุ บอลชาย 7 คน ระดบั ประถมศกึ ษา 15 2 กีฬาฟตุ บอลชาย 7 คน ระดบั มธั ยมศกึ ษา 10 3 กีฬาวอลเลยบ์ อลหญิง ระดบั ประถมศึกษา 11 4 กีฬาวอลเลย์บอลหญิง ระดบั มธั ยมศกึ ษา 7 5 กฬี าเซปคั ตะกร้อชาย ระดับ ประถมศึกษา 9 6 กีฬาเซปัคตะกร้อชาย ระดบั มธั ยมศกึ ษา 6 7 กีฬาเซปัคตะกรอ้ หญงิ ระดบั ประถมศกึ ษา 7 8 กีฬาเซปคั ตะกรอ้ หญงิ ระดับ มธั ยมศกึ ษา 7 9 กีฬาเปตอง ชายคู่ ระดับ ประถมศึกษา 14 10 กฬี าเปตอง หญิงคู่ ระดับ ประถมศกึ ษา 7 11 กฬี าเปตอง ชายคู่ ระดบั มัธยมศกึ ษา 12 12 กฬี าเปตอง หญงิ คู่ ระดับ มัธยมศึกษา 8 รวมทัง้ สิน้ 113
34 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 อมตะมินมิ าราธอน ในปี 2559 นี้ บริษัทไดด้ �ำเนนิ การโครงการอมตะมนิ ิมาราธอน มาเป็นครั้งท่ี 8 ซึง่ นคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร จงั หวัดชลบรุ ี ได้รว่ ม มอื กบั ผปู้ ระกอบการในนคิ มอตุ สาหกรรม และชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ในพนื้ ที่ใกลเ้ คยี ง จดั งานนขี้ น้ึ โดยมจี ดุ มงุ่ หมายทจ่ี ะสง่ เสรมิ การออกกำ� ลงั กายโดยการเดินและวิ่งให้แก่สมาชิกในนิคมฯ และชุมชนบริเวณใกล้เคียง เพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ ด้วยการออกก�ำลังกาย และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ให้ห่างไกลจากยาเสพติด นอกจากนี้ยังสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างอมตะ, ผู้ประกอบการในนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร และนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี และชุมชนพื้นที่ข้างเคียงกับนิคมอุตสาหกรรมทั้งสองแห่ง และรับทราบถึง นโยบายของอมตะว่า บริษัท สง่ เสรมิ และสนับสนุนการออกก�ำลงั กายให้เปน็ ไปอยา่ งกว้างขวาง สม�่ำเสมอ และต่อเน่ือง กิจกรรมอมตะมินิมาราธอนนี้ มีพนักงานในนิคมอุตสาหกรรม ชุมชนท้องถิ่น และประชาชนท่ัวไป เข้าร่วมกิจกรรมเป็นประจ�ำทุกปี ท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเห็นคุณค่าของกิจกรรมการออกก�ำลังกายท่ีส่งผลดีต่อสุขภาพ ท้ังน้ีในการจัดกิจกรรมอมตะมินิ มาราธอนไดแ้ บ่งการแขง่ ขนั ออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ วิ่งมนิ ิมาราธอน 10.5 กม. และ เดิน-ว่ิงเพ่ือสขุ ภาพ 4.2 กม. รางวัลและของที่ระลกึ 1. ผู้ชนะการแข่งขัน 10.5 กม. ล�ำดบั ท่ี 1-5 ทุกกลุม่ อายุ จะได้รับถ้วยรางวลั 2. ชมรมท่สี ง่ ผู้เขา้ ร่วมการแข่งขันมาก อันดบั 1-5 จะไดร้ ับถว้ ยรางวลั 3. โรงงานในนิคมฯ ที่ส่งผูเ้ ข้าร่วมการแข่งขนั มาก อนั ดบั 1-5 จะไดร้ บั ถ้วยรางวลั 4. ผ้เู ขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ทกุ ท่านจะได้รบั เสื้อและเหรยี ญเปน็ ท่รี ะลกึ สรุปข้อมูลจ�ำนวนคนเขา้ ร่วมกจิ กรรม เดิน-วิ่งมินมิ ารอธอน 2,500 2,195 1,985 จ�ำนวน ้ผูเ ้ขา ่รวมกิจกรรม 2,000 1,816 1,500 1,350 1,000 500 0 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 35 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 5.5 การบริจาคโลหติ สง่ ต่อชีวิต ในนคิ มอุตสาหกรรมอมตะทัง้ สองนคิ มนั้น มพี นักงานทำ� งานอยู่ในสถานประกอบการกวา่ 2 แสนคน ดังน้ัน บริษทั เล็งเห็นวา่ สามารถ เปน็ แหล่งรับบริจาคโลหิตเพ่อื สนบั สนุนสภากาชาดไทยได้เป็นอย่างดี จงึ ไดร้ ว่ มกบั ส�ำนักงานนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร สำ� นักงาน นคิ มอตุ สาหกรรมอมตะซิต้ี และสภากาชาดไทย จ.ชลบุรี จดั โครงการการรับบรจิ าคโลหติ โดยเชิญชวนพนกั งานบริษทั ในเครืออมตะ และพนกั งานของสถานประกอบการในนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะมารว่ มกนั บรจิ าคโลหติ เพอื่ นำ� มาใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกผ่ ปู้ ว่ ยทต่ี อ้ งการ โลหติ ในการรกั ษาพยาบาลตอ่ ไป กจิ กรรมบรจิ าคโลหติ ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร จงั หวดั ชลบรุ นี น้ั ไดจ้ ดั ขนึ้ เปน็ ประจำ� ทกุ ไตรมาส เรม่ิ ตงั้ แตป่ ี 2557 จนปจั จบุ นั นบั เปน็ ครงั้ ที่ 9 แลว้ โดยมผี เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมครงั้ ละประมาณ 300-400 คน นอกจากนี้ บรษิ ทั ยงั ไดจ้ ดั สรร พ้ืนท่ีสว่ นหนึ่งในการจัดต้งั ศูนยบ์ ริจาคโลหติ อมตะนครให้กบั ทางภาคบรกิ ารโลหิตที่ 3 สภากาชาดไทย จ.ชลบรุ ี เพื่อใชเ้ ป็นสถานที่ให้ บริการสำ� หรบั ผทู้ ส่ี นใจทวั่ ไปในการบริจาคโลหติ โดยเปดิ ใหบ้ ริการ ในวนั จันทร์ วนั องั คาร และ วันพฤหัสบดี ตงั้ แต่เวลา 09.00-14.00 น. ยอดรวมปริมาณโลหิตทบ่ี รจิ าคทีน่ คิ มอตุ สาหกรรมอมตะนครในปี 2559 จำ� นวนทง้ั สิ้น 2,243,300 ซซี ี ในสว่ นท่นี ิคมอตุ สาหกรรมอมตะซติ ี้ จงั หวดั ระยอง น้ัน ไดด้ �ำเนินการจัดกิจกรรมบริจาคโลหติ ในปี 2559 จ�ำนวน 3 ครง้ั โดยสถาน ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซติ ี้ สนบั สนนุ สถานท่ีในการจัดกิจกรรม ดังน้ี 1. วนั ที่ 16 กมุ ภาพันธ์ 2559 ณ บรษิ ัท ไดกน้ิ คอมเพรสเซอร์ อนิ ดัสทรสี ์ จำ� กัด ไดโ้ ลหติ จำ� นวน 55,400 ซซี ี 2. วนั ท่ี 2 มถิ ุนายน 2559 ณ บรษิ ัท โยโกฮามา่ ไทร์ แมนแู ฟคเจอริ่ง จ�ำกดั ได้โลหติ จ�ำนวน 70,950 ซีซี 3. วันที่ 6 ตลุ าคม 2559 ณ บริษัท อนิ เตอร์เนชัน่ แนลรีเฟรชเมน้ ท์ (ประเทศไทย) จำ� กดั ได้โลหติ จำ� นวน 46,550 ซซี ี ยอดรวมปริมาณโลหติ ทบี่ รจิ าคท่ีนิคมอุตสาหกรรมอมตะซติ ี้ ในปี 2559 จ�ำนวนทง้ั ส้ิน 172,900 ซีซี ปริมาณโลหติ ในโครงการบรจิ าคโลหติ นคิ มอุตสาหกรรมอมตะนคร ประจ�ำปี 2559 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0 ป ิรมาณโลหิตที่ไ ้ด (ซี ีซ) ม.ค. 127,800 ก.พ. 150,700 มี.ค. 171,050 เม.ย. 109,700 พ.ค. 142,350 ิม.ย. 201,050 ก.ค. 115,350 ส.ค. 376,300 ก.ย. 180,250 ต.ค. 151,750 พ.ย. 223,150 ธ.ค. 293,850
36 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 5.6 เครอื ขา่ ยอาสาสมคั รผู้ประกอบกจิ การเพอ่ื การดูแลชุมชน ชมรม CSR อมตะนคร เนอ่ื งดว้ ยผ้ปู ระกอบการในนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี มีจ�ำนวนกวา่ 700 โรงงาน ซ่ึงหลายโรงงานมีความประสงค์ใน การท�ำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสงั คมและดูแลชมุ ชนท้องถิน่ โดยรอบคลา้ ยคลึงกัน ดงั นนั้ บรษิ ัท จงึ ไดจ้ ดั ตง้ั ชมรม CSR อมตะนคร ขึ้น เพ่ือเป็นช่องทางให้ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ท่ีมีเจตนารมย์ในการช่วยเหลือชุมชนและสังคมโดยรอบอมตะ มารว่ มกนั ทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ เพอื่ ชมุ ชนและสงั คมในพน้ื ทร่ี ศั มี 5 กโิ ลเมตรรอบนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร ซง่ึ การรวมตวั กนั ทำ� กจิ กรรม ในนามนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร และผปู้ ระกอบการนน้ั จะสรา้ งพลงั ความรว่ มมอื และชว่ ยผลกั ดนั ใหเ้ กดิ ผลสำ� เรจ็ ไดม้ ากขนึ้ กวา่ การ ดำ� เนินการแตเ่ พียงผ้เู ดยี ว ชมุ ชนและโรงเรยี นโดยรอบนคิ มอุตสาหกรรมอมตะนครไดร้ ับประโยชนจ์ ากการทำ� กจิ กรรมในนามชมรม CSR อมตะนครมากขนึ้ และ ยังสามารถกระจายความช่วยเหลือไปในพ้ืนท่ีที่มีความต้องการอย่างท่ัวถึงกว่าที่อมตะเพียงบริษัทเดียวท�ำจากในอดีตท่ีผ่านมา ทั้งยัง ท�ำให้บริษัทผู้ประกอบการได้รู้จักกัน มีเครือข่ายความสัมพันธ์ ได้รู้จักการเป็นผู้ให้ และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข สร้างความ สัมพันธท์ ด่ี ีในการทำ� กจิ กรรมเพ่ือสงั คมร่วมกนั พนื้ ท่ีทีอ่ ยู่ในความดแู ลของชมรม CSR อมตะนคร มที ง้ั หมด 5 อำ� เภอ ได้แก่ อ�ำเภอเมอื งชลบรุ ี อำ� เภอพานทอง อ�ำเภอบางปะกง อำ� เภอพนสั นคิ ม อำ� เภอคลองบา้ นโพธ์ิ มที ง้ั หมด 27 ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ มบี รษิ ทั ทเ่ี ขา้ รว่ มชมรม CSR ทง้ั หมด 80 บรษิ ทั ตวั อยา่ งกจิ กรรม ของชมรม CSR อมตะนครในรอบปี 2559 ไดแ้ ก่ • โครงการ 60 ห้องสมุดเฉลิมพระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพฯ โรงเรยี นโดยรอบนิคมฯ สง่ มอบอปุ กรณก์ ารเรยี น และสง่ิ ของตา่ งๆ ที่ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากผปู้ ระกอบการภายในนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร และจดั กจิ กรรม สนั ทนาการสำ� หรบั นกั เรียน พร้อมแจกของรางวัลมากมาย • กิจกรรมพฒั นาห้องสมุดโรงเรียน ประจ�ำปี 2559 ณ โรงเรียนวดั หนองแช่แว่น และโรงเรยี นวัดพานทอง พฒั นาหอ้ งสมดุ โรงเรยี นใหม้ สี ภาพแวดลอ้ มทด่ี ี เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดใ้ ชห้ อ้ งสมดุ เปน็ แหลง่ ศกึ ษาหาความรนู้ อกเหนอื การเรยี นในหอ้ งเรยี น โดยได้คัดเลือกโรงเรียนท่ตี ั้งอยู่โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ�ำนวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนวดั พานทอง ต�ำบลพานทอง และ โรงเรียนวัดหนองแช่แว่น ต�ำบลมาบโป่ง ในช่วงเดือนพฤศจิกายน-เดือนธันวาคมท่ีผ่านมา ได้มอบห้องสมุดให้กับท้ังสองโรงเรียน ซ่ึงได้รับการสนับสนุนอุปกรณท์ างการศึกษาจากผู้ประกอบการในนิคมอตุ สาหกรรมอมตะนครเป็นจ�ำนวนมาก
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 37 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 • กจิ กรรม “Thai Kid ป่ันปันรัก ฉลองครบรอบ 84 พรรษามหาราชนิ ี” สนบั สนนุ กจิ กรรมปน่ั จกั รยาน “Bike for Breath ปน่ั ปนั รกั เตมิ ลมหายใจเพอ่ื นอ้ ง” ซง่ึ จดั ขน้ึ โดยการนคิ มอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย (กนอ.) เพ่ือหารายไดส้ มทบทุนซือ้ อุปกรณ์ชว่ ยพน่ ยาโรคหดื เพ่ือชว่ ยเหลือผู้ปว่ ยทางด้านทางเดินหายใจ ชมรมอมตะจติ อาสา (Amata CSR Volunteer Club) ของนิคมอตุ สาหกรรมอมตะซิต้ี นคิ มอตุ สาหกรรมอมตะซติ ้ี จงั หวดั ระยอง ไดด้ ำ� เนนิ การชมรม CSR เชน่ เดยี วกบั ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร โดยใชช้ อื่ วา่ ชมรมอมตะ จติ อาสา มผี ปู้ ระกอบการในนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะซติ ี้ จำ� นวน37 โรงงาน เปน็ สมาชกิ ชมรม และรว่ มกนั ทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ เพอ่ื ชมุ ชนและ สงั คมในพน้ื ทร่ี ศั มี 10 กโิ ลเมตรรอบนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะซติ ้ี ตวั อยา่ งกจิ กรรมของชมรมอมตะจติ อาสา อมตะซติ ้ี ในปี 2559 ไดแ้ ก่ • กิจกรรมพัฒนาโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 9 ต.พนานิคม อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง มีบริษัทเข้าร่วมกว่า 10 บริษทั และมีผูม้ ีจติ อาสาเขา้ รว่ มประมาณ 100 คน - พฒั นาห้องสมุด ทำ� ความสะอาด จัดซือ้ หนงั สอื ใหม่ และทำ� การรบั บรจิ าคหนงั สือจากผสู้ นใจทว่ั ไป - พัฒนาสนามเดก็ เล่น ซ่อมแซม และ ทำ� เครือ่ งเลน่ ใหม่ โดยใช้วัสดุทีเ่ หลือใช้จากภาคอตุ สาหกรรม (บ.โยโกฮามา่ ไทร์ แมนู แฟคเจอริง่ ฯ เปน็ ผดู้ �ำเนินการ) - ทาสีบริเวณพ้ืนถนนและหน้าหอ้ งเรียน ตามการเรียนการสอนแบบ BBL (brain based learning) - เลยี้ งอาหารกลางวันเดก็ นักเรียน 200 คน
38 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 • โครงการ ปนั ความรู้ สู่น้อง โรงเรียนบา้ นหนองระกำ� ต.พนานิคม อ.นคิ มพัฒนา จ.ระยอง - เป็นอาสาสมคั รสอนเสรมิ นอกบทเรียน วชิ าภาษาอังกฤษ และวชิ าคอมพิวเตอร์ เพ่อื รว่ มสง่ เสริมหลกั สตู รทกั ษะการ เรียนรู้และนวตั กรรม 3R 4C รวมถึงทกั ษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยกี ารบรหิ ารจัดการด้านการศกึ ษาแบบใหม่ - จัดการเรยี นการสอน วิชาภาษาองั กฤษ และวิชาคอมพวิ เตอร์ ให้แกเ่ ดก็ นักเรยี น ป.3-ป.6 และจดั ท�ำสอ่ื การสอนมอบ ใหก้ บั โรงเรยี นไว้ใช้ต่อไป
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 39 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 6ดกา้ารนดส�ำง่ิ เแนวินดงลาอ้นม 6.1 การพัฒนานคิ มอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ (Eco-industrial estate) สืบเน่ืองจาก บริษัทเป็นผู้พัฒนานิคมท่ีด�ำเนินการร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในการพัฒนาพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรม แนวทางในการพัฒนาพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรมจึงได้ด�ำเนินการตามกรอบการพัฒนาของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย คือ แนวทางการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมนิเวศ 5 มติ ิ 22 ด้าน ได้แก่ มติ ิกายภาพ มติ ิเศรษฐกจิ มิตสิ ิ่งแวดล้อม มิตสิ งั คม และมติ กิ าร บริหารจัดการ ในแตล่ ะมิตจิ ะมีด้านการพัฒนาต่างๆ อกี จำ� นวน 22 ด้าน ในการดำ� เนนิ การดา้ นการพฒั นาพน้ื ทน่ี คิ มอตุ สาหกรรมอมตะนครและพน้ื ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรมอมตะซติ ี้ ไปสกู่ ารเปน็ เมอื งอตุ สาหกรรม เชงิ นเิ วศนนั้ บรษิ ทั ไดม้ กี ารดำ� เนนิ การกจิ กรรมและโครงการตา่ งๆจำ� นวนมาก เชน่ การจดั ตง้ั คณะกรรมการการจดั การระบบจราจร และ คณะกรรมการบรหิ ารจดั การกากอุตสาหกรรม การสรา้ งงานสรา้ งอาชพี ให้กบั ชมุ ชน การจัดการระบบการจัดการส่งิ แวดลอ้ มอย่างครบ วงจร การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของชมุ ชนและโรงงาน รวมไปถึงการพฒั นาระบบการใชง้ านภายในองค์กรที่สามารถใชร้ ะบบการบรหิ าร จัดการข้อมลู ทีท่ นั สมยั ตา่ งๆ ผลจากการมงุ่ มน่ั พฒั นางานในดา้ นตา่ งๆนนั้ ทำ� ใหใ้ นปี2559 น้ี บรษิ ทั อมตะ คอรป์ อเรชนั จำ� กดั (มหาชน) ไดร้ บั รางวลั เมอื งอตุ สาหกรรม เชงิ นิเวศ ระดบั Eco-champion ในพื้นท่ีนิคมอตุ สาหกรรมอมตะนครและนิคมอตุ สาหกรรมอมตะซติ ี้ และบริษัทยังมีความมุ่งมนั่ ทจี่ ะ พฒั นาพนื้ ทตี่ ามหลกั การดังกล่าว เพือ่ มุ่งสกู่ ารเปน็ เมืองอุตสาหกรรมทส่ี มบรู ณแ์ บบอย่างยั่งยนื ตอ่ ไป 6.2 การออกแบบเชงิ นเิ วศในระบบสาธารณปู โภค บรษิ ทั ไดน้ ำ� หลกั เกณฑ์ในขอ้ บงั คบั คณะกรรมการการนคิ มอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทยวา่ ดว้ ยมาตรฐานระบบสาธารณปู โภคสงิ่ อำ� นวย ความสะดวกและบริการ ส�ำหรับนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พ.ศ. 2557 มาเป็นแนวทางประกอบในการออกแบบเชิงนิเวศในระบบ สาธารณูปโภค ได้แก่ ระบบถนน ระบบระบายน�ำ้ ฝน ระบบปอ้ งกันน�ำ้ ทว่ ม ระบบประปา ระบบบ�ำบัดน้�ำเสยี ระบบส่อื สารโทรคมนาคม ระบบไฟฟ้า ระบบดับเพลงิ และระบบป้องกันอบุ ัตเิ หตุ ระบบการจดั การกากอุตสาหกรรม มลู ฝอย และ สงิ่ ปฏกิ ลู ระบบตดิ ตามตรวจ สอบมลพิษและคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ ม และระบบรักษาความปลอดภัย เป็นต้น ซง่ึ ในการออกแบบนัน้ เปน็ ไปตามการออกแบบเชงิ นิเวศท่ี เป็นมติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม (Environmental-friendly design)
40 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 ระบบถนน ระบบระบายน้ำ� ฝน ระบบป้องกันนำ�้ ทว่ ม ระบบประปา และ ระบบบำ� บัดน้�ำเสยี
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 41 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 ระบบสือ่ สารโทรคมนาคม ระบบไฟฟา้ ระบบรักษาความปลอดภยั ระบบติดตามตรวจสอบมลพษิ และคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม ระบบดับเพลงิ และระบบป้องกันอบุ ตั ิเหตุ ระบบการจดั การกากอตุ สาหกรรม มลู ฝอย และ ส่ิงปฏกิ ูล
42 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 6.3 ศูนยเ์ ฝา้ ระวงั และควบคุมคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม (EMCC) ศูนย์เฝ้าระวงั และควบคมุ คุณภาพสิ่งแวดล้อม (Environmental Monitoring and Control Center) หรือ EMCC เปน็ โครงการหนงึ่ ของ การแกไ้ ขปญั หาดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มในเขตพน้ื ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรมอมตะ ซงึ่ ไดร้ บั แนวคดิ และนโยบายการพฒั นามาจากการนคิ มอตุ สาหกรรม แห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการติดตามและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเขตพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรมอย่างต่อเน่ือง ซงึ่ จะชว่ ยสร้างความเชอ่ื มนั่ ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมของนคิ มอุตสาหกรรมตอ่ ชุมชนขา้ งเคยี ง และส่งเสริมแนวทางการบรหิ าร จัดการส่ิงแวดลอ้ มของนิคมอตุ สาหกรรมดว้ ยหลกั ธรรมาภบิ าลสง่ิ แวดลอ้ ม บรษิ ทั ไดจ้ ดั ใหม้ ศี นู ยเ์ ฝา้ ระวงั และควบคมุ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มของนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะ มาตง้ั แตต่ น้ ปี 2556 และดำ� เนนิ การตอ่ เนอ่ื ง จนถึงปัจจุบนั โดยจดั ตั้งสถานวี ัดคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ มทีน่ คิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร จำ� นวน 4 สถานี และทน่ี ิคมอุตสาหกรรมอมตะซติ ี้ จ�ำนวน 2 สถานี ต่อเช่ือมด้วยระบบออนไลน์เรียลไทม์แสดงผลการตรวจวัดท่ีจอแสดงผลที่ส�ำนักงานนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โครงสรา้ งของศนู ย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ย 1. ระบบฐานขอ้ มลู สว่ นกลางของนคิ มอตุ สาหกรรม เพอื่ เปน็ ศนู ยก์ ลางรวบรวมขอ้ มลู ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มในระดบั นคิ มอตุ สาหกรรม และ โรงงาน เชน่ ปรมิ าณการใชน้ �ำ้ ปริมาณนำ�้ เสีย คุณภาพน�ำ้ เสยี ปริมาณกากของเสีย และคณุ ภาพอากาศ เป็นตน้ 2. ระบบการเฝา้ ระวงั และควบคมุ คณุ ภาพนำ�้ ทง้ิ หลงั ผา่ นการบำ� บดั จากระบบบำ� บดั นำ้� เสยี สว่ นกลางของนคิ มอตุ สาหกรรม โดยเชอื่ ม โยงข้อมูลดา้ นคณุ ภาพนำ�้ ทง้ิ หลังผ่านการบำ� บดั จากระบบบำ� บดั น�้ำเสียสว่ นกลางของนคิ มอุตสาหกรรม มายังศนู ย์ EMCC ในรปู แบบของ BOD Online หากพบว่าคุณภาพนำ�้ ท้ิงเกินมาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม ฉบับที่ 3 พ.ศ.2539 เร่ือง ก�ำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน�้ำทิ้งจากแหล่งก�ำเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคม อตุ สาหกรรม ทางศนู ย์ EMCC จะแจง้ เตอื นไปทศ่ี นู ยค์ วบคมุ นำ�้ เสยี สว่ นกลาง เพอื่ วเิ คราะหต์ น้ ตอของปญั หาและทำ� การแกไ้ ขโดย ทนั ที 3. ระบบการเฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป โดยเช่ือมโยงข้อมูลด้านคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัด คุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบต่อเน่ือง ของพืน้ ท่ชี ุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จำ� นวน 4 สถานี คือ วดั อู่ตะเภา วดั มาบสามเกลียว โรงเรยี นพานทองสภาชนูปถัมภ์ และวัดอ้อมแกว้ พนื้ ท่ีโดยรอบนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะซติ ้ี จ�ำนวน 2 สถานี คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลมาบยางพร และวัดพนานิคม มลพิษอากาศในบรรยากาศทั่วไปท่ีท�ำการตรวจสอบ คือ ฝนุ่ ละอองรวม (TSP) ฝุ่นละอองขนาดไม่เกนิ 10 ไมครอน (PM10) กา๊ ซซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) กา๊ ซไนโตรเจนออกไซด์ (NO2) และความเรว็ ลม/ทิศทางลม การตรวจวดั มลพษิ อากาศในบรรยากาศน้นั เมอื่ น�ำขอ้ มูลมาพิจารณาประกอบกับทิศทางลม และผลการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศทรี่ ะบายออกจากปลอ่ ง จะทำ� ใหส้ ามารถวเิ คราะหแ์ นวโนม้ ของมลพษิ อากาศไดว้ า่ มาจากแหลง่ กำ� เนดิ ใด 4. ระบบการเฝา้ ระวงั และควบคุมคุณภาพอากาศจากปลอ่ งระบายของโรงงาน เปน็ การติดตามและควบคมุ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ มโดย การเชอื่ มโยงขอ้ มลู การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศจากปลอ่ งของโรงงาน (Online) มายงั ศนู ย์ EMCC หากพบวา่ มกี ารปลอ่ ยคา่ มลพษิ ทางอากาศเกินมาตรฐาน ทางศนู ย์ EMCC จะแจ้งเตอื นให้โรงงานทปี่ ล่อยมลพิษนัน้ ได้ทำ� การตรวจสอบและรายงานสาเหตุเพื่อ แก้ไขปรับปรุงโดยทันที ซึ่งนอกจากโรงงานแลว้ โรงไฟฟ้าที่อยู่ภายในนิคมอตุ สาหกรรมอมตะท้งั หมดต้องเชื่อมตอ่ ข้อมลู นภี้ าย หลงั จากการก่อสรา้ งแล้วเสรจ็ การตรวจสอบคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มอย่างตอ่ เน่อื งของศูนย์ EMCC จะสร้างความม่ันใจแก่ทกุ ภาคสว่ นไดว้ ่า จะสามารถตอบสนองการ แก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะได้อย่างทันท่วงที ศูนย์ EMCC น้ีจึงถือได้ว่าเป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาท สำ� คญั ในการแกไ้ ขปญั หาดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม และเปน็ กลไกในการสรา้ งสรรคค์ ณุ ภาพชวี ติ ของชมุ ชนโดยรอบพนื้ ทน่ี คิ มอตุ สาหกรรมอมตะ ใหด้ ยี ่งิ ขึ้นในอนาคต
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 43 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 6.4 การจัดการขยะแบบบูรณาการตามหลักการ Zero Landfill บรษิ ทั ใหค้ วามสำ� คญั กบั การบรหิ ารจดั การกากอตุ สาหกรรมและมลู ฝอยทอ่ี อกมาจากโรงงานอตุ สาหกรรมทปี่ ระกอบกจิ การอยู่ในพน้ื ที่ นคิ มอตุ สาหกรรมทบี่ รษิ ทั ไดพ้ ฒั นาขน้ึ เนอื่ งจากจำ� นวนผปู้ ระกอบการในนคิ มอตุ สาหกรรมและปรมิ าณขยะเพม่ิ จำ� นวนขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง หากไมม่ กี ารบรหิ ารจัดการทดี่ ี จะสง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มได้ โดยเฉพาะการกำ� จดั ขยะแบบฝงั กลบ จะเกดิ ผลกระทบในระยะยาวตอ่ ระบบนิเวศนแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม ตลอดจนประชาชนทีอ่ ยอู่ าศัยในบรเิ วณดงั กลา่ ว ดงั นนั้ บรษิ ทั จงึ รเิ รม่ิ ใหบ้ รกิ ารการจดั การขยะแบบบรู ณาการตามหลกั การ Zero Landfill โดยไดจ้ ดั ตง้ั โรงงานคดั แยกขยะขนึ้ ภายในพนื้ ท่ี นคิ มอุตสาหกรรมอมตะนคร เพือ่ รองรบั การบริหารจดั การกากอตุ สาหกรรมประเภทไมอ่ ันตราย และขยะมูลฝอยท่ีเกดิ ขึน้ จากโรงงาน อตุ สาหกรรมในพนื้ ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรม ซง่ึ ในการใหบ้ รกิ ารการบรหิ ารจดั การดแู ลขยะของบรษิ ทั นี้ มงุ่ เนน้ การจดั การขยะแบบครบวงจร เพื่อลดการนำ� ขยะไปก�ำจัดโดยวิธกี ารฝงั กลบ (Zero Landfill) และส่งเสรมิ ให้แต่ละโรงงานมกี ารคัดแยกขยะรไี ซเคิล และการนำ� วัตถุดบิ หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ในโรงงาน ท�ำให้เกิดกระบวนการจัดการทรัพยากรที่ดี และช่วยลดต้นทุนในการประกอบกิจการของโรงงาน อตุ สาหกรรมไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ส�ำหรับรูปแบบการจัดการกากอุตสาหกรรมท่ีไม่อันตรายและมูลฝอยของบริษัทน้ัน มีขั้นตอนในการดำ� เนินการโดยเริ่มต้นจากการคัด แยกขยะทรี่ ไี ซเคลิ ไดอ้ อกจากขยะทเี่ ขา้ มาในโรงคดั แยกกอ่ น หลงั จากนนั้ ขยะทเ่ี หลอื จากการคดั แยกจะถกู สง่ เขา้ กระบวนการผลติ แปรรปู ให้เปน็ เชอื้ เพลงิ ทดแทนสำ� หรบั ใชใ้ นกระบวนการเผาท่ีโรงงานปูนซีเมนต์ ท่เี รยี กวา่ Refuse-derived fuel (RDF) สรปุ ผลจากการดำ� เนินการของบริษัท ตามแนวทาง Zero Waste to Landfill ในปีทผี่ า่ นมา สามารถลดจำ� นวนขยะของแข็งทน่ี ำ� ไปฝัง กลบลงเหลอื เพียงไม่เกินร้อยละ 2 ของปริมาณขยะทงั้ หมดในปัจจบุ ัน และลดตน้ ทุนในการจัดการขยะของโรงงานคดั แยกอมตะลงได้ ถึงรอ้ ยละ 36 ของค่าบริหารจดั การขยะ
44 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 ขยะท่สี ง่ ไปเผาในเตา เผาปูนซีเมนต์ ปี ขยะท่วั ไป ขยะรี ไซเคลิ เพ่อื เป็นเช้อื เพลิง ขยะทสี่ ่งไปฝงั กลบ ขยะทส่ี ่งไปฝงั กลบ (ตนั /ปี) (ตัน/ปี) (ตนั /ป)ี คดิ เป็นรอ้ ยละ ทดแทน (ตัน/ป)ี 2552 19,111.74 1,485.00 1,644.62 15982.12 83.62 2553 18,137.80 1,584.24 2,080.86 14472.7 79.79 2554 18,666.88 2,204.10 9,527.54 6929.24 37.12 2555 21,812.66 2,468.97 12,071.07 7272.61 33.34 2556 20,479.22 2,497.40 14,737.10 3244.72 15.84 2557 20,511.95 2,846.74 16,943.68 721.53 3.51 2558 20,450.58 3,036.93 17,088.65 325.00 1.59 2559 20,314.24 2,923.17 17,157.54 233.53 1.15
Year บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 45 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 รอยละขยะทีส่ ง ไปกำจัดในหลมุ ฝงกลบ (%) 100 90 83.62 79.79 80 70 60 รอยละ 50 37.12 33.34 40 30 20 15.84 10 3.51 1.59 1.15 0 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 ป 6.5 WราaงsวtัลeแMหง่ aกnาaรgจeัดmกeาnรtกAากwอaตุrdสา2ห0ก16ร”รมและมูลฝอยส�ำหรบั โรงงาน “AMATA Best บริษัทได้จัดโครงการประกวดประสิทธิภาพการจัดการกากอุตสาหกรรมประเภทไม่อันตราย ขยะมูลฝอย และส่ิงปฏิกูลของโรงงานใน นคิ มอตุ สาหกรรม หรอื AMATA Best Waste Management Award ขน้ึ เพอื่ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหผ้ ปู้ ระกอบการในนคิ มอตุ สาหกรรม อมตะนครและนคิ มอตุ สาหกรรมอมตะซติ ี้ ใหม้ กี ารดำ� เนนิ การการจดั การของเสยี ตามแนวทางทก่ี ฎหมายกำ� หนด และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ การจัดการกากอตุ สาหกรรมประเภทไมอ่ นั ตราย ขยะมลู ฝอย และสิง่ ปฏิกูลในโรงงานให้มากข้นึ โดยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการนำ� หลัก การการจัดการ 3Rs (Reduce-Reuse-Recycle) มาประยุกต์ใช้ในการจดั การกากอตุ สาหกรรมในโรงงาน ซึง่ จะสามารถช่วยให้เกดิ การ ลดต้นทนุ ของผลติ ภัณฑ์ไดอ้ ีกทางหน่งึ บริษัทไดด้ �ำเนนิ โครงการนม้ี าอยา่ งตอ่ เนื่องเปน็ ปีที่ 3 (2557-2559) แล้ว โดยในปี 2559 มโี รงงานในนคิ มอุตสาหกรรมทงั้ สองแห่งเข้า รว่ มโครงการท้ังสิ้น 69 โรงงาน แบ่งเปน็ ระดบั แพลทนิ ัม จ�ำนวน 16 โรงงาน ระดบั ทอง จ�ำนวน 35 โรงงาน และระดับเงนิ 18 โรงงาน นอกจากการสรา้ งเครอื ขา่ ยการจดั การกากอตุ สาหกรรมประเภทไมอ่ นั ตรายแลว้ โครงการน้ีไดช้ ว่ ยเพมิ่ ความรคู้ วามเขา้ ใจในรปู แบบการ จัดการทด่ี ีระหวา่ งผูป้ ระกอบการผา่ นการเสวนาแลกเปลยี่ นความรู้ (Show and Share Workshop) ในวันมอบประกาศนียบตั รและโล่ห์ รางวัลให้กบั บริษทั ทเี่ ขา้ ร่วมโครงการอีกดว้ ย ปี 2557 2558 2559 นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 3 69 รางวัลระดับเงนิ (โรงงาน) 30 26 30 รางวลั ระดบั ทอง (โรงงาน) 20 28 12 รางวัลระดับแพลทนิ ัม (โรงงาน) 53 60 51 รวมทงั้ สนิ้ (โรงงาน) นิคมอตุ สาหกรรมอมตะซติ ี้ - 29 รางวลั ระดับเงิน (โรงงาน) - -5 รางวลั ระดบั ทอง (โรงงาน) - 34 รางวลั ระดบั แพลทินมั (โรงงาน) - 5 18 รวมท้งั ส้ิน (โรงงาน) หมายเหตุ:นคิ มอุตสาหกรรมอมตะซิตเี้ ริ่มเขา้ ร่วมกิจกรรมปี 2558
46 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 6.6 ภสกำ�าาหรวสะรฉับรกุา้องเตุฉสสนิ งั าค(หEมกmแรหeร่งrมคgวenามcyปลRอeดspภoยั nในsนeิคCมeอnุตteสrา)หแกละรโรรมงเผร่าียนนศสนู อยนต์ กอาบรดโตบั ้ เพลิง บรษิ ทั เลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ในการสรา้ งความมนั่ ใจและดแู ลความปลอดภยั ในการทำ� งานของสถานประกอบกจิ การในนคิ มอตุ สาหกรรม อมตะนคร จึงไดจ้ ดั ต้งั ศูนย์ตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ (Emergency Response Center) จำ� นวน 2 แห่ง ดำ� เนินการโดยบุคลากรทีม่ คี วาม เชย่ี วชาญในการดบั เพลงิ และบรรเทาสาธารณภยั ตา่ งๆ เพอื่ ใหบ้ รกิ ารและอำ� นวยความสะดวกใหก้ บั ลกู คา้ ในนคิ มอตุ สาหกรรมตลอด 24 ช่วั โมง ผ่านเบอร์โทรศัพทส์ ายตรงของศนู ย์ บรษิ ัท ได้จัดต้งั โรงเรยี นสอนการดับเพลงิ ส�ำหรับอตุ สาหกรรม ซง่ึ เป็นหนว่ ยงานฝกึ อบรมการดับเพลงิ ขั้นต้น ฝกึ ซ้อมดับเพลงิ และฝกึ ซอ้ มอพยพหนไี ฟ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารฝกึ อบรมทงั้ ดา้ นทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ดิ า้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มทดี่ ีในการทำ� งาน ตลอดจนการป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการ ให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โดยมุ่งเน้นให้ สถานประกอบการในพน้ื ท่นี คิ มอุตสาหกรรมอมตะนครเป็นพน้ื ที่ท่มี ีความปลอดภัย มอี าชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน ตามทก่ี ฎหมายกำ� หนด และพนกั งานทที่ ำ� งานในสถานประกอบการสามารถปฏบิ ตั ติ นไดถ้ กู ตอ้ งในกรณที เี่ กดิ อคั คภี ยั ขนึ้ ในสถานประกอบการ นอกจากนี้ บรษิ ัท ยงั ไดด้ ำ� เนนิ การจดั ซ้อมแผนตอบโต้สถานการณ์ฉกุ เฉินเพลิงไหมแ้ ละสารเคมีรั่วไหลภายในพ้ืนที่นคิ มอุตสาหกรรม อีกด้วย โดยในการจดั กิจกรรมดงั กล่าว มผี ้ปู ระกอบการในนคิ มอุตสาหกรรมอมตะ และหนว่ ยงานทอ้ งถิ่นเขา้ รว่ มจำ� นวนมาก
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 47 รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 6.7 ระบบการจดั การทรพั ยากรดว้ ยเทคโนโลยี (Green IT) บรษิ ทั สนับสนุนใหม้ กี ารใช้เทคโนโลยเี ปน็ เครื่องมือ ชว่ ยบริหารจัดการทรพั ยากรและสิ่งแวดลอ้ มในกระบวนการด�ำเนินงาน ตลอดจน เสรมิ สร้างทัศนคติ คา่ นิยม และความตระหนักรู้ เกีย่ วกบั การอนรุ ักษ์พลงั งานและส่งิ แวดลอ้ มใหแ้ กพ่ นกั งาน เพอื่ ใหเ้ กิดการมีส่วนรว่ ม ในการบริหารจัดการอยา่ งตอ่ เนือ่ งและมปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป
48 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559 เทคโนโลยีไอทีเพ่อื ส่ิงแวดลอ้ ม (Green IT) เพื่อลดปรมิ าณจำ� นวนเครอ่ื ง server ลดการใชพ้ ลังงานในการจดั การ ลดพ้ืนท่ีในการจดั วาง รวมถงึ ลดต้นทุนในการบ�ำรงุ รกั ษาเคร่ือง server จำ� นวนมาก บรษิ ทั จงึ ไดน้ ำ� เทคโนโลยเี ครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ มข่ า่ ยเสมอื น หรอื virtual server เขา้ มาใชง้ าน โดยที่ virtual Server นั้น ไดต้ ดิ ต้งั อย่บู นคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง ซึ่งสามารถแชร์ทรัพยากร ใหแ้ ก่ virtual Server ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ บรษิ ทั ยังไดน้ �ำบริการทางไอทีบางอย่างที่เหมาะสม ย้ายไปให้บรกิ ารผ่าน cloud เพอ่ื ลดต้นทนุ ด้านการจดั การ และเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ ในการเขา้ ถงึ ใหส้ ะดวกขนึ้ สำ� หรบั ผใู้ ชง้ านทอ่ี ยภู่ ายนอก เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ทศิ ทางการดำ� เนนิ งานของบรษิ ทั โดยบรษิ ทั ใหค้ วามสำ� คญั กบั ความปลอดภยั ของข้อมูลและดูแลสอดส่องอยา่ งสมำ่� เสมอ นอกจากน้บี รษิ ัท ยงั มีแผนดำ� เนนิ การลดปริมาณ server สำ� หรับระบบ ERP และ Accounting ลง โดยจะจัดใหม้ กี ารรวมศูนย์ระบบ ยอ่ ยๆ ของบรษิ ทั ในเครือต่างๆ ให้มาใช้เป็นระบบเดยี วกนั ท้ังหมดในอนาคต การลดโลกร้อนโดยสนับสนนุ การลดปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Reduce carbon footprint) บรษิ ทั ตระหนกั ถงึ ความสำ� คัญของการลดปริมาณกา๊ ซเรอื นกระจกท่สี ่งผลกระทบให้เกดิ ภาวะโลกร้อน บริษทั จึงไดส้ นับสนุนให้ลดการ เดินทางระหวา่ งส�ำนักงานสำ� หรบั งานประชมุ ต่างๆภายในบรษิ ทั โดยส่งเสริมให้ใช้การประชมุ ด้วยเทคโนโลยแี บบ video conference มากข้นึ ซงึ่ เป็นการประชุมทางไกลที่สามารถสง่ วดิ โี อ ภาพหนา้ จอ และเสียง ผ่านเครอื ขา่ ยอนิ ทราเน็ต ไมว่ ่าจะเป็นการประชมุ ภายใน ระหว่างสำ� นกั งาน หรือการประชมุ ภายในบรษิ ัทระหว่างประเทศ หรือแมก้ ระท่ังการประชุมกับลูกค้า บริษัท ยงั ไดเ้ ตรียมเคร่อื งมอื อ่ืนๆ เพือ่ สนบั สนุนการประชุมแบบออนไลน์ (online Meeting) ไวด้ ้วยเชน่ กัน การใชพ้ ลงั งานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ (Improve energy efficiency) บริษัท ใหค้ วามสำ� คัญของการประหยดั พลังงาน จึงได้มีนโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนการประหยดั พลังงานภายในสำ� นักงาน โดย การน�ำมาตรการประหยัดพลงั งานเบื้องตน้ มาสอ่ื สารให้กับพนักงาน และด�ำเนินการปฏิบตั ติ ามมาตรการตอ่ ไป • การใช้เครื่องปรับอากาศ ให้ปิดและเปิดเป็นเวลา และปิดทันทีเม่ือไม่มีผู้ใช้งานห้องอีกต่อไป เน้นการตั้งอุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส ท�ำความสะอาดเคร่ืองปรับอากาศเป็นประจ�ำในระหว่างปีเนื่องจากตัวกรองท่ีอุดตันกับสิ่งสกปรกและฝุ่น สามารถลดประสทิ ธภิ าพไดถ้ งึ 15% ทำ� ใหต้ น้ ทนุ การดำ� เนนิ งานลดลงและลดอายกุ ารใชง้ านของเครอื่ งปรบั อากาศ หลกี เลยี่ ง การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีเป็นแหล่งก�ำเนิดความร้อน อาทิเช่น ไมโครเวฟ กาต้มน�้ำร้อน เพราะจะท�ำให้เครื่องปรับอากาศ ท�ำงานหนักเกินไป • การใช้ไฟฟ้าแสงสว่าง ให้ปิดไฟในช่วงพักกลางวัน และปิดไฟทันทีเม่ือไม่มีผู้ใช้แสงสว่างในบริเวณดังกล่าว และจัดระบบ สวิตช์ควบคมุ อุปกรณ์ไฟฟา้ แสงสวา่ งใหเ้ หมาะสมกับพ้นื ท่ี เชน่ ปรบั เป็นสวติ ชเ์ ปิดปดิ แบบ แยกแถว แยกดวง เป็นต้น และ เปล่ียนหลอดไฟเป็นชนิด LED เพื่อการประหยัดพลังงาน เช่นเดียวกับไฟส่องสว่างนอกอาคารหรือบนถนนเปลี่ยนเป็น หลอดไฟประเภท LED เพ่ือการประหยดั พลังงาน • การใช้เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ บริษทั สนับสนุนให้ผู้ใชต้ ั้งค่าโปรแกรมให้เครื่องปดิ ชัว่ คราว (Standby mode) เมอ่ื ไมไ่ ดใ้ ชง้ าน ตามระยะเวลาที่ก�ำหนด (เช่น เครื่องจะถกู ปดิ ชั่วคราว เมื่อไมไ่ ด้ถกู ใช้งานเปน็ ระยะเวลา 2 ชั่วโมง) รวมทง้ั จอภาพ ซึ่งจะ แนะนำ� ใหต้ งั้ คา่ ใหป้ ดิ อตั โนมตั ิ (Screen off mode) เมอ่ื ไมไ่ ดใ้ ชง้ านเกนิ กวา่ 15 นาที และถอดปลก๊ั ทกุ ครงั้ ทจี่ บสน้ิ การทำ� งาน ในแต่ละวัน • การใชอ้ ปุ กรณท์ ปี่ ระหยดั พลงั งานในสำ� นกั งาน เชน่ การเปลย่ี นจากการใชห้ ลอดไฟธรรมดามาเปน็ หลอดไฟฟา้ ประหยดั ไฟ, การเปลีย่ นมาใช้จอภาพหรอื มอนิเตอร์ในแบบ Liquid-Crystal-Display (LCD) แทนการใช้มอนเิ ตอร์ Cathode-Ray-Tube (CRT) เปน็ ต้น
Search