Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5_3เกจงานผลิต

5_3เกจงานผลิต

Published by songkiatdeannawas, 2017-07-03 03:31:16

Description: 5_3เกจงานผลิต

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 5 เกจบทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลิต[email protected] อาจารย์จติ ตวิ ฒั น์ นิธกิ าญจนธาร อาจารย์พิเศษ สาขาการจดั การอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราช1สีมา

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ1. หลกั การของเกจที่ใช้ในการผลิตเกจท่ีใช้ตรวจสอบงานในการผลติ นีจ้ ะต้องนึกถึงการผลติ ชิ้นงานออกมาจริงซ่ึงชิ้นงานจริงนีจ้ ะมคี ่าผดิ พลาดในการผลติ ชิ้นงานจะมขี นาดโตสุดและเลก็ สุดทอ่ี นุญาตให้มไี ด้ในการผลติ ชิ้นงานทุก ชิ้นงานทอี่ ยู่ในช่วงขอบเขตของ พกิ ดั ความเผอ่ื จะใช้งานได้ทุกชิ้น ในการทาเกจเพอื่ ตรวจสอบจะทาสองขนาด คอื ขนาดโตสุดและเลก็ สุดเพอื่ บังคบั งานให้อย่ใู นขอบเขตทกี่ าหนด เช่นขนาดภายนอกงาน 200.05 เกจด้านโตจะมีขนาด = 20.05 เกจด้านเลก็ จะมีขนาด = 19.95 งานทอี่ ยู่ในพกิ ดั คอื ด้านโตจะต้องสวมผ่านงานได้และ ด้านเลก็จะต้องสวม ผ่านชิ้งานไม่ได้ และทส่ี าคญั ตวั เกจจะต้องมรี ูปร่างเหมอื นหรือคล้ายกบั งานทผ่ี ลติ[email protected] 2

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ2.เกจก้ามปู (Snap gauge)เกจก้ามปูเป็ นเกจทีใ่ ช้ตรวจสอบงานภายนอก ที่มีด้านขนานกนั เช่นเพลา แท่งสี่เหลยี่ มโดยส่วนมากนิยม ใช้ตรวจสอบเพลาในการกลึงหรือผลิต จะมีสองด้านคือด้านดีและด้านเสียด้านดจี ะมขี นาดโตเท่ากบั ขนาดโตสุดของ งานทอ่ี นุญาตให้ได้ในการผลิต ด้านเสียมีขนาดเล็กเท่ากับขนาดเล็กสุดของงานที่อนุญาตให้ได้ในการผลติ งานท่ีจะอยู่ในพิกัดคือจะต้องให้ด้านดีสวมผ่านได้และด้านเสียสวมผ่านไม่ได้ 3 [email protected]

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 2.เกจก้ามปู (Snap gauge) แ บ่ ง ต า ม 2.1 ชนิดและลกั ษณะของเกจก้ามปูลกั ษณะ ขนาดในการใช้ตรวจสอบงานได้ดงั นี้ @ เกจก้ามปูท่ีใช้วดั งานขนาดเลก็ มีด้านดแี ละด้านเสียอยู่ในตัวเดยี วกนั และอยู่ตรงข้ามกนั ใช้วดั งานขนาดไม่เกนิ 50 mmด้านเสียจะ ทาสีแดงกากบั ไว้และมีขนาดเลก็ @ เกจก้ามปูที่มีด้านดแี ละด้านเสียอยู่ในตัวเดยี วกนัและด้านเดยี วกนั เหมาะกบั การวดั งานขนาด ประมาณ 30-100 [email protected]

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 2.เกจก้ามปู (Snap gauge) แ บ่ ง ต า ม 2.1 ชนิดและลกั ษณะของเกจก้ามปูลกั ษณะ ขนาดในการใช้ตรวจสอบงานได้ดงั นี้ @ เกจก้ามปูทแี่ ยกด้านดแี ละด้านเสียออกจากกนัเหมาะกบั การวดั งานท่ีมีขนาดโตประมาณ 80 mm ขนึ้ ไป@ เกจก้ามปูแบบปรับระยะของปากวดั ได้ เกจชนิดนีจ้ ะนิยมใช้กบั งานทมี่ ่ีการผลติ เปลย่ี นแปลงตลอดเวลา ในการปรับต้งัความเทยี่ งตรงของปากวดั ท้งั ด้านดแี ละด้านเสีย จะใช้เกจเหลย่ี มในการตรวจสอบต้งั ระยะให้ได้[email protected] ตามพกิ ดั 5

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 2.เกจก้ามปู (Snap gauge) แ บ่ ง ต า ม 2.1 ชนิดและลกั ษณะของเกจก้ามปูลกั ษณะ ขนาดในการใช้ตรวจสอบงานได้ดงั นี้@ เกจทีใ่ ช้ตรวจสอบเพลาโดยเฉพาะ (Ring gauge)เกจชนิดนี้จะแก้ไข้ข้อผิดพลาดในการตรวจสอบเพลาที่มีขนาด ยาวๆซ่ึงจะเกิดการผิดพลาดเนื่องจาก เพลาไม่กลม เป็ นวงรีหรือรูปไข่ เพลาไม่ขนาน ตัวเกจส่วนมากจะทา เฉพาะด้านดี ในการตรวจสอบจะสวมเข้าปลายเพลาและเลอ่ื นตลอดความยาวของเพลา ส่วนด้านเสียจะใช้ เกจก้ามปูด้านเสียตรวจสอบ[email protected] 6

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 2.เกจก้ามปู (Snap gauge) 2.2 การใช้เกจก้ามปูตรวจสอบงานในการตรวจสอบขนาดของงานว่าอยู่ในขนาดพิกัดที่กาหนดหรือไม่ น้ัน จะใว้ด้านดตี รวจสอบก่อนถ้าผ่านเข้าไปได้จึงจะใช้ด้านเสียตรวจสอบด้านเสียผ่านไม่ได้งานจึงจะอยู่ในพิกัด ที่กาหนด ในการตรวจสอบจะรู้อยู่สามอย่างคือ งานโตกว่าพิกัด งานอยู่ในพิกัดงานเลก็ กว่าพกิ ดั[email protected] 7

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 2.เกจก้ามปู (Snap gauge) 2.2 การใช้เกจก้ามปูตรวจสอบงาน @ งานทโี่ ตกว่าพกิ ดั คอื งานทไ่ี ม่สามารถสวมผ่านด้านดไี ด้ @ งานทเ่ี ลก็ กว่าพกิ ดั คอื งานทีผ่ ่านท้งั ด้านดแี ละด้านเสียได้ @ งานอยู่ในพกิ ดั คอื งานทสี่ ามารถสวมผ่านด้านดไี ด้และไม่สามารถผ่านด้านเสียได้[email protected] 8

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 2.เกจก้ามปู (Snap gauge) 2.3 ข้อควรระวงั ในการใช้เกจก้ามปู เกจก้ามปูจะเป็ นเกจเฉพาะงาน มีความละเอียดเที่ยงตรงในการ ผลิตสูง ในการใช้ งานและการเก็บรั กษาต้ องกระทาด้ วยความระมัดระวังพอแบ่งเป็ นข้อๆได้ดงั นี้ 1) การใช้เกจก้ามปูจะต้องใช้ตรวจสอบงานที่มีผวิ เรียบเท่าน้ัน[email protected] 9

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 2.เกจก้ามปู (Snap gauge) 2.3 ข้อควรระวงั ในการใช้เกจก้ามปู 2) ในการเปลย่ี นตาแหน่งวดั อย่าลากเกจไป ให้ยกเกจวัดออกจากงานแล้วจึงนาไปสวมตรวจสอบในส่ วน ท่ีต้องการ 3) อย่าออกแรงกดเกจให้ผ่านชิ้นงาน ให้เกจเลอ่ื นผ่านชิ้นงานด้วยนา้ หนักตวั ของมนั เอง[email protected] 10

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 2.เกจก้ามปู (Snap gauge) 2.3 ข้อควรระวงั ในการใช้เกจก้ามปู 4) อย่าเกบ็ เกจรวมกบั เครื่องมอื อน่ื 5) อย่าใช้ตรวจสอบงานท่ีร้อน 6) ก่อนเกบ็ ต้องทาความสะอาดและทานา้ มนักนั สนิมทุกคร้ังหลงั ใช้งาน[email protected] 11

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 3. เกจทรงกระบอก (Plug gauge) เป็ นเกจที่ใช้ สาหรับตรวจสอบรูคว้านในการผลิตโดยเฉพาะ มีด้านดีและด้านเสีย ด้านดีมีขนาดเลก็ ด้านเสียมีขนาดโต บางคร้ังเกจชนิดนีอ้ าจมีรูปร่างเป็ นส่ีเหล่ียม หกเหลย่ี ม ทม่ี ไี ว้ตรวจสอบรูหรือร่อง[email protected] 12

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ3. เกจทรงกระบอก (Plug gauge) 3.1ชนิดและลกั ษณะของเกจก้ามปู แบ่งตามลกั ษณะรูปร่าง และขนาดในการใช้งาน ด้านดจี ะมคี วาม ยาวของตวั เกจมากกว่าด้านเสีย แต่มขี นาดวดั งานเลก็ กว่าด้านเสีย ทดี่ ้านเสียจะมสี ีแดงคาดกากบั ไว้ มไี ด้ดงั นี้@ แบบด้านดแี ละด้านเสียอยู่ในตวั เดยี วกนัและด้านเดยี วกนั โดยด้านดอี ยู่ด้านนอกและด้านเสียอยู่ ด้านในเหมjittiาwaะt.nสi@gาmaหil.coรmับใช้วดั ตรวจสอบรูขนาดเลก็ 13

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 3. เกจทรงกระบอก (Plug gauge) 3.1ชนิดและลกั ษณะของเกจก้ามปู @ แบบด้านดีและด้านเสียอยู่ในตัวเดียวกันคนละด้าน โดยทว่ั ไปมขี นาดไม่เกนิ 35 mm @ แบบด้านดีและด้านเสีย แยกกนั คนละตัวโดยทวั่ ไปใช้กบั งานขนาดไม่เกนิ 100 [email protected] 14

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 3. เกจทรงกระบอก (Plug gauge) 3.1ชนิดและลกั ษณะของเกจก้ามปู @ แบบแผ่น ใช้วดั รูท่ีมีขนาดประมาณ 100-200 mm @ แบบแท่ง ใช้วดั รูทมี่ ขี นาดโตกว่า 200 มม[email protected] 15

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 3. เกจทรงกระบอก (Plug gauge) 3.2เทคนิคการในเกจทรงกระบอกตรวจสอบงาน ในการวดั ตรวจสอบขนาดรูโดยใช้เกจทรงกระบอก นีจ้ ะใช้ ด้านดขี องเกจตรวจสอบก่อน ถ้าสามารถสวมเข้าไปในรูชิ้นงานได้ จึงจะใช้ด้านเสียของเกจตรวจสอบ ซึ่งผลในการ ตรวจสอบมดี งั นี้[email protected] 16

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 3. เกจทรงกระบอก (Plug gauge) 3.2เทคนิคการในเกจทรงกระบอกตรวจสอบงาน @ ด้านดขี องเกจไม่สามารถสวมเข้าไปได้ แสดงว่างานน้ันมีขนาดเลก็ กว่าพกิ ดั งานทีก่ าหนด @ ด้านดขี องเกจ สามารถสวมผ่านได้และด้านเสียของเกจกส็ วมผ่านได้เช่นเดยี วกนั แสดงว่ารุงานน้ันโตกว่าพกิ ดั @ ด้านดขี องเกจ สามารถสวมผ่านได้ ด้านเสียของเกจjitไtiwมat.n่สi@gาmมail.าcoรm ถสวมผ่านได้เช่นเดยี วกนั แสดงว่า รูงานน้ันโตกว่าพ17กิ ดั

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ3. เกจทรงกระบอก (Plug gauge) 3.3 ข้อควรระวงั ในการใช้เกจทรงกระบอก เวลาใช้ เกจทรงกระบอกตรวจสอบรู จะต้ องมีความระมัด ระวังในการใช้งานและควรปฏิบัติตามกฎการใช้เคร่ืองมือวัดและการบารุงรักษาอย่างเคร่ งครัด เพ่ือความเท่ียงตรงใน การวดั งานและรักษาเกจให้ใช้การได้นาน มีข้อควรระวงั ดงั นี้[email protected] 18

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 3. เกจทรงกระบอก (Plug gauge) 3.3 ข้อควรระวงั ในการใช้เกจทรงกระบอก1) ใช้เกจวดั รูทม่ี ผี วิ เรียบเท่าน้ัน2) อย่าวางเกจในแนวนอนให้จับต้งั ขนึ้3) ถ้าไม่ใช้งานให้ทาความสะอาดเกบ็ เข้ากล่องทนั ที4) อย่าออกแรงดันเกจเข้าไปในรูควรให้เกจเลอ่ื นลงรูด้วยนา้ หนักตวั ของมนั เอง5) ถ้ารูทใ่ี ช้ตรวจสอบไม่ทะลุจะต้องใช้เกจทม่ี ีรูระบายอากาศ[email protected] 19

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว (TAPER PLUGGAUGE&TAPERRING GAUGE)เกจตรวจสอบรู เรียวและเพลาเรียวนี้จะใช้ ตรวจสอบเรียวมาตรฐาน ที่ใช้ในชิ้นส่ วนเคร่ืองจักรกล เช่น เรียวมอสเรียวISOหัวเครื่องกดั เรียว Jacob หรือ Jano ท่ีใช้ในการจับยดึหัวจับดอกสว่าน เพ่ือในการส่ งถ่ายกาลัง การหมุนและรักษาศูนย์ในการประกอบชิ้นส่วน จาเป็ นจะต้องมีการผลติ เรียวให้ได้มาตรฐานในเรื่องเกยี่ วกบั ขนาด เรียว อตั ราเรียวและผวิ ของงานเรียว[email protected] 20

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.1ลกั ษณะของเกจเพลาเรียว (TAPER PLUG GAUGE)เกจเพลาเรียวนีจ้ ะใช้สาหรับในการตรวจสอบ รูเรียว ท่ีเป็ นมาตรฐานมีลักษณะเป็ นแท่งเรียวมีด้ามจับ มีรูเจาะยันศูนย์หัวท้ายของเรียวเพอ่ืใช้ในการต้ังเอียงมุมมีด เพื่อกลึงเรียวหรือเอียงโต๊ะงานเจียระไน เพ่ือเจยี ระไนเรียว ท่ผี วิ เรียวด้านโตจะมีขีดสาหรับกาหนดขนาดโตสุดและเลก็ สุด ของขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางรูเรียว[email protected] 21

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.2 การใช้เกจเพลาเรียว ใ ช้ ส า ห รั บ ใ น ก า รตรวจสอบอัตราเรียวของรูเรียวและวัดขนาดของรูเรียว และยังใช้ในการต้ังเอยี ง Top slide ในการกลงึ เรียว และเอยี งโต๊ะงานในการเรียระไนรูและเพลาเรียว@ ตรวจสอบอัตราเรียว จะต้องมีการย้อมผวิ เกจด้วยสีตรวจสอบผิวงานท่ีมีเนือ้ สีละเอียดให้เป็ นแนวยาวตลอดตัว เกจแล้วสอดเข้าไปในรูชิ้นงานแล้วหมุนไปประมาณ ¾รอบแล้วจงึ ดงึ เกจออกมjittiาwaตt.niร@gวmจail.cสomอบสีทย่ี ้อมบนผวิ เกจ 22

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.2 การใช้เกจเพลาเรียว @ ตรวจสอบอตั ราเรียวถูกต้องสีที่ย้อมผิวเกจจะหลุดออกเท่ากนั @ ตรวจสอบอัตราเรียวโตหรือมุมเรียวโต สีที่ย้อมผวิ เกจจะลอกออกเฉพาะส่วนปลายเรียวคอื ด้านเลก็ ของเกจเพลาเรียว @ ตรวจสอบอัตราเรียวน้อยหรือมุมเรียวน้อยสีที่ย้อมผวิ เกจด้านโตจะลอกออก[email protected] 23

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.2 การใช้เกจเพลาเรียว @ ตรวจสอบขนาดรูเรียว การวัดขนาดความโตรูเรียวไม่สามารถวัดให้ได้ละเอียดเท่ียงตรงโดยใช้เคร่ืองมือวัด ทั่วๆไปได้ ในการทาเรียวก็ยอมให้มีค่าผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นได้ เช่นกัน ท่ีผิวเกจเพลาเรียวจงึ มขี ดี กาหนดขนาดโตสุด และเลก็ สุดเอาไว้ @ ขนาดรูเรียวที่อยู่ในพกิ ัด ขอบงานจะต้อง อยู่ระหว่างเส้นกาหนดขนาดเลก็ สุดและโตสุดเท่าน้ัน[email protected] 24

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.2 การใช้เกจเพลาเรียว @ ตรวจสอบขนาดรูเรียว @ ขนาดของรูเรียวทเี่ ลก็ กว่าพกิ ดั ขอบของงานจะ @ อยู่ตา่ กว่าขดี ขนาดเลก็ สุดของเกจเพลาเรียว @ ขนาดของรูเรียวทโี่ ตกว่าพกิ ดั ขอบของงานจะอยู่เลยเส้ นขนาดกาหนดโตสุ ดของเกจเพลาเรียว[email protected] 25

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.2 การใช้เกจเพลาเรียว การใช้ต้งั เคร่ืองเพอื่ ทาการกลงึ และเจยี ระไน จะใช้วธิ ีการจบั เกจเพลาเรียวโดยใช้ยนั ศูนย์หัวท้าย ของเกจช่วยใน การต้งัและจะใช้นาฬิกาช่วยในการปรับเอยี งมุมเรียวให้ได้มาตรฐาน[email protected] 26

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.3 ลกั ษณะของเกจรูเรียว (Taper ring gauge) มีลกั ษณะเป็ นแท่งทรงกระบอก พมิ พ์ลาย ตรงกลางเป็ นรูเรียว ที่ปลายด้านเล็กของรูเรียวจะมีการปาดผิวให้ ต่างระดับใช้ตรวจสอบก่ันของเรียว และบ่าหรือร่องใช้ ในการตรวจสอบขนาดของเพลา[email protected] 27

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.4 การใช้เกจรูเรียวในการใช้เกจรูเรียวจะมีลกั ษณะการใชง้ านเหมือนกบั เกจเพลาเรียว คือใช้ ตรวจสอบอตั ราเรียวของเพลา และตรวจสอบขนาดของเพลาเรียว @ ตรวจสอบอตั ราเรียว ในการตรวจสอบอตั ราเรียวของเพลาเรียวหรือมุมเรียวน้ีจะใชก้ ารยอ้ มสีท่ีผวิ งานคือ เพลาเรียวให้เป็ นแนวยาวตลอดผิวงาน แลว้ สอดเขา้ ไปในเกจระวงั อย่าให้สีท่ียอ้ มขดู กบั ขอบปากของเกจ ทาการหมุนเกจไป ¾ รอบ แลว้ ดึงชิ้นงานออกมาตรวจสอบ[email protected] 28

บทท่ี 3 เกจตรวจสอบงานผลติ4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว4.4 การใช้เกจรูเรียว@ ตรวจสอบอตั ราเรียว @ สีทยี่ ้อมบนผวิ เพลาหลุดลอกออกเท่ากนั หมด แสดงว่ามมี ุมหรืออตั ราเรียวถูกต้อง @ สีทยี่ ้อมบนผวิ เพลาหลดุ ลอกออกเฉพาะด้านโต แสดงว่างานมมี ุมหรือตั ราเรียวน้อยไป@ สีทยี่ ้อมบนผวิ เพลาหลดุ ลอกออกเฉพาะด้านเลก็ แสดงว่างาjittนiwaมt.niีม@gุมmaหil.cรomืออตั ราเรียวมากเกนิ ไป 29

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.4 การใช้เกจรูเรียว @ ตรวจสอบขนาดเพลาเรียว ในการตรวจสอบขนาดของเพลาเรียวโดยใช้เกจรูเรียวจะตรวจสอบทด่ี ้านเลก็ ของ เพลาโดยอาศัยรอยบากหรือร่อง@ ปลายด้านเลก็ อยู่ระหว่างรอยบากหรือร่องแสดงว่างานอยู่ในขนาดพกิ ดั ที่กาหนด@ ปลายด้านเลก็ โผล่พ้นผวิ ร่องหรือรอยบากแสดงว่างานมขี นาดเลก็ ไป@ ปjittiลwaาt.nยi@ดgm้าaนil.coเmลก็ ไม่โผล่พ้นผวิ รอยบากหรือร่อง แสดงว่างานมขี นาดโตไป30

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ 4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว 4.5 ข้อควรระวังในการใช้เกจเพลาเรียวและเกจรูเรียว เกจตรวจสอบเรียวนี้มีความละเอียดและความเท่ียงตรงสูงในการผลิต จะต้องใช้ งานและเก็บรักษาอย่างระมดั ระวงั เพอ่ื มใิ ห้เกดิ ความเสียหาย มดี งั นี้[email protected] 31

บทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลติ4. เกจ เพลาเรียวและรูเรียว4.5 ข้อควรระวงั ในการใช้เกจเพลาเรียวและเกจรูเรียว @ ผวิ งานที่จะตรวจสอบต้องมผี วิ เรียบ @ ก่อนใช้เกจตรวจสอบอัตราเรียวต้องทาความสะอาดเกจและผวิ งานให้สะอาดเสียก่อน @ ไม่ใช้งานให้เกบ็ ในกล่องหรือต้งั ขนึ้หลงั ใช้งาน @ ให้ทาความสะอาดและทานา้ มันกนั สนิมทุกคร้ัง [email protected] 32

หน่วยที่ 5 เกจบทที่ 3 เกจตรวจสอบงานผลิต[email protected] เนือ้ หาบทนีจ้ บแล้วครบั กลบั ไปทบทวนด้วยนะครับ สาขาการจดั การอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราช33สมี า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook