หน่วยของส่ิงมชี ีวตินาย พรี ณฐั ตรีวภิ านนท์ ม.4/14 เลขท่ี 20โรงเรียนสตรีวทิ ยา 2
เซลล์คืออะไร เซลล์ (Cell) เป็นหน่วยชีวิตเล็ก ๆ ของสิ่งมีชีวติ โดยพบวา่ สิ่งมีชีวติ หลายชนิด โดยพบวา่ ส่ิงมีชีวิตหลายชนิดมีร่างกายท่ีเป็นโครงสร้างซบั ซอ้ น และประกอบดว้ ยหลายเซลล์ เซลลแ์ ต่ละเซลลม์ ีโครงสร้างและทาหนา้ ท่ีเป็นหน่วยของชีวติ แตล่ ะชนิดก็จะทาหนา้ ที่แตกต่างกนั ไป แต่กม็ ีการทางานประสานกนั ของเซลลท์ ้งั หมดที่ประกอบกนั เป็ นร่างกาย อนั มีผลทาใหส้ ่ิงมีชีวิตน้นั ๆ สามารถดารงชีวติ อยไู่ ด้ นอกจากน้นั เซลลใ์ หมจ่ ะเกิดจากกระบวนการแบง่ เซลลข์ องเซลลท์ ่ีมีชีวติ อยกู่ ่อน และเซลลใ์ หม่จะไดร้ ับการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมจากเซลล์เดิมดว้ ย แต่ยงั มีส่ิงมีชีวติ บางชนิด เช่น พวกจลุ ินทรีย์ ประกอบดว้ ยเซลลเ์ ดี่ยว เซลล์เด่ียวน้ีจะทาหนา้ ที่เป็นร่างกายของส่ิงมีชีวิตโดยสมบูรณ์ โดยเซลลจ์ ะทาหนา้ ที่หรือทากิจกรรมต่าง ๆ เช่นเดียวกบั สิ่งมีชีวติ หลายเซลลท์ ี่มีโครงสร้างซบั ซอ้ น เช่น มีการกินอาหาร การหายใจ การยอ่ ยอาหาร การเคล่ือนไหว การสืบพนั ธุ์ เป็นตน้ขนาดของเซลล์ เซลลข์ องสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีขนาดแตกต่างกนั มาก ต้งั แต่มองไมเ่ ห็นดว้ ยตาเปล่า เช่น เซลลข์ องพวกแบคทีเรีย ไปจนกระทง่ั เซลลท์ ่ีมีขนาดใหญ่ สามารถมองเห็นไดช้ ดั เจน เช่นเซลลข์ องไข่พวกสตั วป์ ี ก สตั วเ์ ล้ือยคลาน หน่วยท่ีใชว้ ดัขนาดของเซลลท์ ่ีมีหลายชนิด เช่น องั สตรอม นาโนเมตร ไมโครเมตร และมิลลิเมตรซ่ึงแต่ละหน่วยสามารถเปรียบเทียบได้
โครงสร้างและหน้าท่ีของเซลล์1. ไลโซโซม เป็นออร์แกเนลลท์ ี่พบ เฉพาะในเซลลส์ ตั วแ์ ละโปรติสตบ์ างชนิดรูปร่างค่อนขา้ งกลม ทาหนา้ ที่สะสมเอนไซมท์ ี่เก่ียวกบั การยอ่ ยสลายสารอินทรีย์ต่าง ๆ และทาลายของเสียภายในเซลล์2. ผนงั เซลล์ เป็นผนงั แขง็ แรงอยชู่ ้นั นอกสุดของเซลลพ์ ืชส่วนใหญ่สร้างจากสารเซลโลโลส เป็นส่วนที่ไม่มีชีวิต ทาให้เซลลท์ นทานและเป็นเยอื่ ท่ียอมให้สารตา่ ง ๆผา่ นเขา้ และออกจากเซลลไ์ ด้ มีหนา้ ที่เพม่ิ ความแขง็ แรงและป้องกนั อนั ตรายให้กบัเซลล์3. ครอโรพลาสต์ พบในไซโทรพลาสซึม ของเซลลพ์ ชื บางชนิด มีลกั ษณะเป็นเมด็สีเขียวมีเยอ่ื หุม้ 2 ช้นั โดยช้นั นอกทาหนา้ ท่ีควบคุมโมเลกลุ ของสารท่ีผา่ นเขา้ ออกช้นั ในมีสารสีเขียวท่ีเรียกวา่ ครอโรฟิ ลล์ มีสมบตั ิดูดพลงั งานแสงมาใชใ้ นกระบวนการสงั เคราะห์แสง ทาใหพ้ ชื สามารถสร้างอาหารไดเ้ อง ซ่ึงเซลลส์ ตั วไ์ ม่มีครอโรพลาสต์4. ไซโตพลาสซึม เป็นของเหลวที่มีลกั ษณะก่ึงแขง็ ก่ึงเหลว ประกอบดว้ ยสารเคมีหลายชนิดรวมท้งั ส่วนที่เป็ นออร์แกเนลล์ เป็นส่วนประกอบท่ีเทียบไดก้ บั อวยั วะท่ีทาหนา้ ที่ตา่ ง ๆ ใหแ้ ก่เซลลม์ ีหลายอยา่ ง เช่น ไรโบโซม มีลกั ษณะเป็นวงกลมหรือรูปไขท่ าหนา้ ท่ีสร้างหรือสงั เคราะห์โปรตีน
5. เยื่อหุ้มเซลล์ เยอื่ หุม้ เซลลส์ ่วนใหญ่ประกอบดว้ ยโมเลกุลของโปรตีนและไขมนัมีลกั ษณะเป็ นเยอ่ื บา่ ง ๆ มีความยนื หยนุ่ ได้ และมีรูพรุนสามารถจากดั ขนาดของสารที่ผา่ นเขา้ ออกได้ จึงมีสมบตั ิเป็นเยอื่ เลือกผา่ น คือ ยอมให้โมเลกลุ ของสารขนาดเลก็ ผา่ นได้ เช่น น้า กา๊ ซออกซิเจน กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนสารขนาดใหญ่ผา่ นไมไ่ ด้ เช่น โปรตีน หนา้ ท่ี คือ ห่อหุม้ เซลลท์ าให้เซลลค์ งรูปอยไู่ ด้ ช่วยคดั เลือกสารและควบคุมปริมาณของสารท่ีผา่ นเขา้ และออกจากเซลล์6. กอลจิบอดี หรืออีกอยา่ งหน่ึงวา่ กอจิแอพพาราทสั มีลกั ษณะเป็นท่อหรือถุงแบนๆ เรียนซอ้ นกนั หลายช้นั ทาหนา้ ท่ีเป็ นแหล่งสร้างคาร์โบโฮเดรตท่ีรวมกบั โปรตีนซ่ึงสร้างมาจากร่างแหเอนโดพลาสมิกเรติคูรัมและมีส่วนสาคญั ในการสร้างผนงัเซลลข์ องพืชและสารเคลือบเยอ่ื หุม้ เซลลข์ องสตั ว์7. ร่างแหเอนโดพลาสมกิ เรติคูรัม มีลกั ษณะเป็นเยอื่ บาง ๆ สองช้นั เรียงทบไปทบมาคลา้ ยถุงแบน ๆ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือชนิดท่ีมีไรโบโซมเกาะอยู่ ทาหนา้ ที่สงั เคราะห์โปรตีนและเป็ นทางส่งโปรตีนน้ีออกนอกเซลล์ และชนิดที่ไมม่ ีไรโบโซมเกาะอยู่8. ไมโทคอนเดรีย มีลกั ษณะกลมจนถึงเรียวแตกต่างกนั ตามชนิดของส่ิงมีชีวิตทาหนา้ ที่เป็นแหล่งสร้างพลงั งานให้แก่เซลล์9. แวควิ โอล มีลกั ษณะเป็ นถุงใสที่มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอนทาหนา้ ที่ควบคุมปริมาณน้าในเซลล์ สะสมน้า เกบ็ อาหาร และขบั ของเสียท่ีเป็นของเหลว10. นวิ เคลยี ส ส่วนประกอบที่สาคญั ของเซลล์ มีลกั ษณะค่อนขา้ งกลม มีเยอ่ื หุม้ 2ช้นั มีรูเลก็ ๆ เป็ นเยอ่ื เลือกผา่ นซ่ึงเป็ นทางผา่ นของสารต่าง ๆ เขา้ และออกจากนิวเคลียส ภายในมีโครโมโซม บนโครโมโซมมีหน่วยพนั ธุกรรมหรือยนี อยู่หนา้ ท่ี ของนิวเคลียส เป็นศูนยก์ ลางในการควบคุมการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของสิ่งมีชีวติ และควบคุมการทางานของเซลลแ์ ละการเจริญเติบโตเป็นแหล่งสงั เคราะห์สารพนั ธุกรรมและควบคุมการสงั เคราะห์โปรตีนภายในเซลล์
ส่วนประกอบของนิวเคลยี ส มีดงั นี้1. เย่ือหุ้มนวิ เคลยี ส– มีลกั ษณะเหมือนกบั เซลลเ์ มมเบรน– ประกอบไปดว้ ยโปรตีนและไขมนั บางคร้ังจะมีไรโบโซมมาเกาะอยู่– จะมีรู มากมาย ซ่ึงเป้นทางผา่ น เขา้ ออกของสารตา่ ง ๆ2. โครมาติน– เป็ นส่วนของนิวเคลียสที่ติดสียอ้ ม– ส่วนที่ติดสียอ้ มเขม้ เรียกวา่ เฮทเทอโรโครมาติน– ส่วนท่ีติดสีจาง ๆ เรียกวา่ ยโู ครมาติน ซ่ึงเป็นท่ีอยขู่ องยนี หรือดีเอน็ เอ– โครมาตินจะหดส้นั เขา้ และหนาในขณะที่เซลลม์ ีการแบ่งตวั ซ่ึงเรียกวา่โครโมโซม– ส่ิงมีชีวติ แตล่ ะชนิดกจ็ ะมีจานวนโครโมโซม แตกตา่ งกนั ไป3. ส่วนประกอบของนิวเคลยี ส– มีรูปร่างกลม ๆ จานวนไมแ่ น่นอนเกาะติดกบั โครโมโซม– เป็ นส่วนที่ติดสียอ้ มชดั เจน– องคป์ ระกอบทางเคมี คือโปรตีน, RNA และเอน็ ไซมอ์ ีกหลายตวั– ทาหนา้ ท่ีของเกี่ยวขอ้ งกบั การแบง่ เซลล์ขอ้ ควรรู้ เซลลเ์ มด็ เลือดแดง เมื่อเจริญเติบโตเตม็ ท่ีไมม่ ีนิวเคลียส
โครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์ พืชและสตั วต์ ่างก็เป็ นสิ่งมีชีวิตหลายเซลลเ์ หมือนกนั เซลลพ์ ืชและเซลล์สตั วม์ ีขนาด รูปร่าง และลกั ษณะแตกต่างกนั ตามความเหมาะสมของหนา้ ที่ แต่โครงสร้างพ้ืนฐานหรือองคป์ ระกอบส่วนใหญท่ ้งั ของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั วจ์ ะคลา้ ยคลึงกนั ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ีโครงสร้างพ้ืนฐานและหนา้ ที่ของเซลล์1. ผนงั เซลล์ พบคร้ังแรกเมื่อ ค.ศ. 1665 โดยโรเบิร์ต ฮุค ผนงั เซลลพ์ บในเซลลพ์ ชืเท่าน้นั เป็ นส่วนที่ไมม่ ีชีวิต ทาหนา้ ท่ีให้ความแขง็ แรงและทาใหเ้ ซลลค์ งรูปอยไู่ ด้ประกอบดว้ ยเซลลูโลสเป็ นส่วนใหญ่และยงั ประกอบดว้ ยสารพวกเพกทิน ลิกนินฮีมิเซลลูโลส ซูเบอริน ไคทิน และคิวทิน2. ไซโทพลาซึม มีลกั ษณะเป็ นของเหลวคลา้ ยเจลลี่ซ่ึงมีน้า โปรตีน ไขมนัคาร์โบไฮเดรต และเกลือแร่ต่างๆ เป็ นองคป์ ระกอบ ไซโทพลาซึมเป็นศูนยก์ ลางการทางานของเซลลท์ ี่ทาหนา้ ท่ีเก่ียวกบั เมแทบอลิซึม ท้งั กระบวนการสร้างและการสลายอินทรียสาร เป็นแหล่งท่ีเกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ท่ีจะช่วยให้เซลลด์ ารงชีวติอยไู่ ด้
3. เยอื่ หุม้ เซลล์ มีลกั ษณะเป็นเยอื่ บางๆ อยลู่ อ้ มรอบเซลล์ ประกอบดว้ ยสารประเภทโปรตีนและไขมนั มีหนา้ ที่ช่วยให้เซลลค์ งรูปและควบคุมการแลกเปลี่ยนสารระหวา่ งภายในและภายนอกเซลล์ เยอ่ื หุม้ เซลลพ์ บไดท้ ้งั ในเซลลพ์ ชื และเซลล์สตั วเ์ ป็นส่วนที่มีชีวติ มีความยดื หยนุ่ สามารถยดื หดไดม้ ีลกั ษณะเป็นเยอ่ื บางๆ มีรูพรุนสาหรับใหส้ ารละลายผา่ นเขา้ ออกได้ เช่น น้า น้าตาลโมเลกลุ เดี่ยว ยเู รียกรดอะมิโน เกลือแร่ ออกซิเจน และกลีเซอรอลสามารถผา่ นเขา้ ออกไดง้ ่าย ส่วนสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญไ่ ม่สามารถผา่ นเขา้ ออกไดเ้ ลย เช่น สารพวกโปรตีนและไขมนั จึงเรียกเยอ่ื ท่ีมีลกั ษณะแบบน้ีวา่ เยอื่ ก่ึงซึมผา่ นได้ 4. นิวเคลียส อยใู่ นไซโทพลาซึม เป็นส่วนประกอบท่ีสาคญั ท่ีสุดของเซลล์นิวเคลียสทาหนา้ ท่ีควบคุมเมแทบอลิซึมของเซลล์ ควบคุมการสงั เคราะห์โปรตีนและเอนไซม์ ควบคุมการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมจากพอ่ แม่ไปสู่รุ่นลูกหลาน ควบคุมกิจกรรมตา่ งๆ ภายในเซลล์ ควบคุมการเจริญเติบโต และควบคุมลกั ษณะตา่ งๆ ของสิ่งมีชีวติ 5. คลอโรพลาสต์ พบเฉพาะในเซลลท์ ี่มีสีเขียวของพืชและเซลลข์ องโพรทิสตบ์ างชนิด เช่น สาหร่าย คลอโรพลาสตป์ ระกอบดว้ ยเยอื่ หุ้ม 2 ช้นั ช้นั นอกทาหนา้ ที่ควบคุมชนิดและปริมาณของสารท่ีผา่ นเขา้ และออกจากคลอโรพลาสต์ส่วนช้นั ในจะมีลกั ษณะยน่ื เขา้ ไปภายในและมีการเรียงกนั เป็นช้นั ๆ อยา่ งมีระเบียบภายในเยอื่ หุ้มช้นั ในจะมีโมเลกุลของสารสีเขียว เรียกวา่ คลอโรฟิ ลล์ และมีเอนไซมท์ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั การสร้างอาหาร
การลาเลียงในพชื การแพร่และการออสโมซิสโครงสร้างและการทางานของระบบลาเลียงของพชื ประกอบดว้ ยระบบเน้ือเยอ่ื ท่อลาเลียง ซ่ึงเน้ือเยอ่ื ในระบบน้ีจะเชื่อมต่อกนั ตลอดท้งั ลาตน้ พชื โดยทาหนา้ ท่ีลาเลียงน้า สารอนินทรีย์ สารอินทรีย์ และสารละลายท่ีพืชตอ้ งการนาไปใชใ้ นการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ระบบเน้ือเยอื่ ทอ่ ลาเลียงประกอบดว้ ย 2 ส่วนใหญๆ่ คือทอ่ ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ กบั ทอ่ ลาเลียงอาหารการแพร่ เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความเขม้ ขน้ มากกวา่ ไปสู่บริเวณท่ีมีความเขม้ ขน้ นอ้ ยกวา่การออสโมซิส เป็นการแพร่ของน้าจากบริเวณท่ีมีน้ามากกวา่ (สารละลายเจือจาง)ไปสู่บริเวณที่มีน้านอ้ ยกวา่ (สารละลายเขม้ ขน้ )การทางานของระบบลาเลียงสารของพืชตอ้ งใชว้ ิธีการแพร่หลายชนิด โดยมีท่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ และท่อลาเลียงอาหาร เป็นเส้นทางในการลาเลียงสารไปยงัลาตน้ ใบ ก่ิง และกา้ นของพืช
ทอ่ ลาเลียงน้าและแร่ธาตุเป็นเน้ือเยอื่ ที่ทาหนา้ ที่ลาเลียงน้าและแร่ธาตุตา่ งๆ ท้งั สารอินทรียแ์ ละสารอนินทรีย์โดยประกอบดว้ ยเซลล์ 4 ชนิด ดงั น้ี1. เทรคีด เป็นเซลลเ์ ดี่ยว ทาหนา้ ที่เป็ นท่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุต่างๆ โดยจะลาเลียงน้าและแร่ธาตุไปทางดา้ นขา้ งของลาตน้ ผา่ นรูเลก็ ๆ เทรคีดมีผนงั เซลลท์ ี่แขง็ แรงจึงทาหนา้ ที่เป็ นโครงสร้างค้าจนุ ลาตน้ พชื และผนงั เซลลม์ ีลิกนิน สะสมอยู่และมีรูเล็กๆ เพอื่ ทาใหต้ ิดต่อกบั เซลลข์ า้ งเคียงได้2. เวสเซล เป็นเซลลท์ ่ีมีขนาดค่อนขา้ งใหญ่ แตส่ ้นั กวา่ เทรคีด เป็นเซลลเ์ ดี่ยวๆ ท่ีปลายท้งั สองขา้ งของเซลลม์ ีลกั ษณะคลา้ ยคมของสิ่ว ท่ีบริเวณดา้ นขา้ งและปลายของเซลลม์ ีรูพรุนส่วนของเวสเซลน้ีพบมากในพืชช้นั สูงหรือพชื มีดอก ทาหนา้ ที่เป็นทอ่ ลาเลียงน้าและแร่ธาตุต่างๆ จากรากข้ึนไปยงั ลาตน้ และใบเทรคีดและเวสเซลเป็นเซลลท์ ่ีมีสารลิกนินมาเกาะท่ีผนงั เซลลเ์ ป็นจุดๆ โดยมีความหนาต่างกนั ทาให้เซลลม์ ีลวดลายแตกตา่ ง กนั ออกไปหลายแบบ3. ไซเลม็ พาเรนไคมา มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกหนา้ ตดั กลมรี มีผนงั เซลลบ์ างๆเรียงตวั กนั ตามแนวลาตน้ พชื ไซเล็มพาเรนไคมาบางส่วนจะเรียงตวั กนั ตามแนวรัศมีของลาตน้ พชื เพื่อทาหนา้ ท่ีลาเลียงน้าและแร่ธาตตุ ่างๆ ไปยงั บริเวณดา้ นขา้ งของลาตน้ พืช พาเรนไคมาทาหนา้ ท่ีสะสมอาหารประเภทแป้ง น้ามนั รวมท้งั ทาหนา้ ท่ีลาเลียงน้าและแร่ธาตุต่างๆ ไปยงั ลาตน้ และใบของพชื4. ไซเล็มไฟเบอร์ เป็นเซลลท์ ่ีมีรูปร่างยาว แตส่ ้นั กวา่ ไฟเบอร์ทว่ั ๆ ไป ตามปกติเซลลม์ ีลกั ษณะปลายแหลม มีผนงั เซลลห์ นากวา่ ไฟเบอร์ทว่ั ๆ ไป มีผนงั ก้นั เป็นหอ้ งๆ ภายในเซลล์ ไซเลม็ ไฟเบอร์ทาหนา้ ท่ีเป็นโครงสร้างค้าจุนและให้ความแขง็ แรงแก่ลาตน้ พชื
ท่อลาเลยี งอาหารทอ่ ลาเลียงอาหาร เป็นเน้ือเยอ่ื ที่ทาหนา้ ที่ลาเลียงอาหารและสร้างความแขง็ แรงให้แก่ลาตน้ พืช โดยท่อลาเลียงอาหารประกอบดว้ ยเซลล์ 4 ชนิด ดงั น้ี1. ซีพทิวบ์เมมเบอร์ เป็นเซลลท์ ่ีมีรูปร่างเป็ นทรงกระบอกยาว เป็ นเซลลท์ ี่มีชีวิตประกอบดว้ ย ช่องวา่ งภายในเซลล์ ขนาดใหญ่มาก เม่ือเซลลเ์ จริญเติบโตเตม็ ที่แลว้ส่วนของนิวเคลียสจะสลายไปโดยท่ีเซลลย์ งั มีชีวิตอยู่ ผนงั เซลลข์ องซีพทิวบเ์ มมเบอร์มีเซลลูโลสสะสมอยเู่ ลก็ นอ้ ย ซีพทิวบเ์ มมเบอร์ทาหนา้ ท่ีเป็ นทางส่งผา่ นของอาหารที่ไดจ้ ากกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช โดยส่งผา่ นอาหารไปยงัส่วนตา่ งๆ ของลาตน้ พืช2. คอมพาเนียนเซลล์ เป็นเซลลพ์ ิเศษที่มีตน้ กาเนิดมาจากเซลลแ์ ม่เซลลเ์ ดียวกนั กบัซีพทิวบ-์ เมมเบอร์ โดยเซลลต์ น้ กาเนิด 1 เซลลจ์ ะแบ่งตวั ตามยาวไดเ้ ซลล์ 2 เซลล์โดยเซลลห์ น่ึงมีขนาดใหญ่ อีกเซลลห์ น่ึงมีขนาดเลก็ เซลลข์ นาดใหญ่จะเจริญเติบโตไปเป็ นซีพทิวบเ์ มมเบอร์ ส่วนเซลลข์ นาดเลก็ จะเจริญเติบโตไปเป็นคอมพาเนียนเซลล์ คอมพาเนียนเซลลเ์ ป็นเซลลข์ นาดเลก็ ส่วนปลายแหลม เป็นเซลลท์ ่ีมีชีวติ มีไซโทพลาซึมที่มีองคป์ ระกอบของสารเขม้ ขน้ มาก มีเซลลูโลสสะสมอยทู่ ี่ผนงั เซลลเ์ ล็กนอ้ ย และมีรูเล็กๆ เพือ่ ใชเ้ ชื่อมต่อกบั ซีพทิวบเ์ มมเบอร์คอมพาเนียนเซลลท์ าหนา้ ที่ช่วยเหลือซีพทิวบเ์ มมเบอร์ใหท้ างานไดด้ ีข้ึนเมื่อเซลล์มีอายมุ ากข้ึน
3. โฟลเอม็ พาเรนไคมา เป็นเซลลท์ ี่มีชีวิต มีผนงั เซลลบ์ าง มีรูเลก็ ๆ ที่ผนงั เซลล์โฟลเอม็ พาเรนไคมาทาหนา้ ท่ีสะสมอาหารที่ไดจ้ ากกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช ลาเลียงอาหารไปยงั ส่วนตา่ งๆ ของพืช และเสริมความแขง็ แรงให้กบัท่อลาเลียงอาหาร4. โฟลเอม็ ไฟเบอร์ มีลกั ษณะคลา้ ยกบั ไซเลม็ ไฟเบอร์ มีรูปร่างลกั ษณะยาว มีหนา้ตดั กลมหรือรี โฟลเอม็ ไฟเบอร์ทาหนา้ ที่ช่วยเสริมความแขง็ แรงใหก้ บั ทอ่ ลาเลียงอาหาร และทาหนา้ ท่ีสะสมอาหารให้แก่พชื
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: