1 โปรแกรม Google SketchUp เป็นโปรแกรมท่ีสร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการของ นักออกแบบและผู้สนใจท่ัวไป ซึ่งสามารถสร้างงานเขียนแบบหรือภาพจาลองต่างๆ ได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว โดยเรม่ิ จากการเขียนเส้น 2 มติ ขิ ้ึนมาเปน็ โครงร่างแล้วเปลย่ี นเส้นรา่ งใหเ้ ป็นช้ินงาน 3 มิติ โดยกาหนดพื้นผิวแสงเงาซึ่งแก้ไขปรับเปลี่ยนได้ง่าย ทาให้ภาพท่ีได้ใกล้เคียงกับงานจริง Google SketchUp เป็นโปรแกรมออกแบบท่ีมคี วามสามารถในการเปล่ียนภาพวาดโครงร่างให้กลายเป็นภาพ งานจาลอง 3 มิติ เป็นโปรแกรมขนาดเล็ก จึงทาให้มีการประมวลผลออกมาอย่างรวดเร็ว โดยส่วน ใหญ่จะนามาใช้งานออกแบบเชิงสถาปัตยกรรม งานตกแต่งภายใน งานออกแบบผลิตภัณฑ์ และงาน ออกแบบ Display เชน่ เวที บูธบรเิ วณแสดงสนิ ค้าในรปู แบบตา่ งๆ ในปัจจุบันโปรแกรม Google SketchUp มีโปรแกรมเสริมหรือปลั๊กอินที่เข้ามาเสริมการ ทางานอย่างมากมาย ท้ังการข้ึนโมเดล การปรับแต่งแก้ไขรูปทรง การทางานแอนิเมชัน การจัดแสง และการเรนเดอร์ ไดแ้ ก่ - Lattice Maker เป็นปล๊ักอินท่ีใช้สร้างพ้ืนผิวเรียบธรรมดาให้กลายเป็นไม้ระแนงหรือการ สร้างไม้ขดั แตะให้เกดิ เปน็ ชอ่ งๆ - Fur เปน็ ปล๊ักอนิ ทใ่ี ช้สร้างเสน้ ผม ขน หญา้ หรือวัตถุท่ีเป็นเสน้ ละเอยี ด - Camera Recorder เป็นปล๊ักอินที่ใช้จับภาพการเคล่ือนไหว สร้างงานแอนิเมชันอย่าง รวดเรว็ - Shaderlight เปน็ ปล๊ักอนิ ท่ใี ช้เรนเดอร์โมเดล แตง่ แสงและการสะทอ้ นให้เหมือนจริง - Roof เปน็ ปล๊ักอินที่ใชใ้ นการสรา้ งหลังคาแบบต่างๆ ซง่ึ จะสะดวกและรวดเร็ว - Door Maker เป็นปลั๊กอินที่ใช้สร้างประตูแบบต่างๆ - Stair Maker เป็นปลัก๊ อนิ ที่ใชส้ รา้ งบนั ไตทางตรง บันไดไม้ บนั ไดเหลก็
2 ภาพท่ี 2.1 หนา้ ต่างโปรแกรม Google SketchUp จุฑารัตน์ ใจบุญ ,2556 งานดา้ นสถาปตั ยกรรม งานสถาปตั ยกรรมทั่วไป เชน่ การออกแบบโครงสรา้ งอาคาร ภมู ิทัศน์ ใช้ โปรแกรม Google SketchUp ชว่ ยในการออกแบบ จัดวางโครงสรา้ ง การตรวจสอบแสงเงา การคานวณพน้ื ท่ี ทาให้ ชน้ิ งานที่ได้เป็นไปตามแบบรา่ งและโครงสรา้ งที่ถูกออกแบบไวเ้ ป็นอยา่ งดี ภาพท่ี 2.2 การออกแบบอาคาร 8 ช้นั ทมี่ า https://3dwarehouse.sketchup.com/search/?searchTab=collection&domain=Archi tecture เข้าถงึ เม่ือ 15 พฤษภาคม 2556
3 งานก่อสรา้ ง โปรแกรม Google SketchUp สามารถวาดแปลนก่อสรา้ งและบอกขนาดอย่างละเอียดได้ แม่นยาและมเี คร่ืองมือสาหรับพิมพเ์ ขียวได้เลย จงึ เป็นเครอ่ื งมอื ที่ครบถว้ นในตัวสาหรับงานออกแบบ ดา้ นกอ่ สรา้ ง เช่น การออกแบบแปลนบ้าน อาคารหรอื โรงแรม ภาพที่ 2.3 การออกแบบแปลนบา้ น ทีม่ า http://training.yotathai.com/layout-sketchupsss.html เขา้ ถงึ เม่ือ 15 พฤษภาคม 2556 งานด้านโครงสรา้ งเบา งานก่อสร้างเบาหรือขนาดยอ่ มทีต่ ้องมีการออกแบบและนาเสนอกับลูกค้า โปรแกรม Google SketchUp เปน็ เครอ่ื งมือทีท่ างานไดร้ วดเรว็ จดั แสงไดส้ มจรงิ ไม่ด้อยกวา่ โปรแกรม 3 มิติ ระดบั มืออาชีพ (ใชร้ ว่ มกับโปรแกรม V-Ray ซงึ่ เป็นโปรแกรมภายนอกสาหรบั เรนเดอร์สภาพแสงให้ ชน้ิ งาน) เช่น โคมไฟ พดั ลมเพดาน เก้าอ้ี แจกนั ภาพที่ 2.4 การออกแบบโคมไฟ ทม่ี า https://3dwarehouse.sketchup.com/search/?domain=InteriorProducts เข้าถึงเม่อื 15 พฤษภาคม 2556
4 ภาพท่ี 2.5 การออกแบบเครอ่ื งใช้ต่างๆ ทมี่ า https://3dwarehouse.sketchup.com/search/ ?domain=UtilitarianObjects เข้าถงึ เมื่อ 15 พฤษภาคม 2556 งานดา้ นวศิ วกรรม โปรแกรม Google SketchUp สามารถออกแบบนาเสนองานดา้ นวิศวกรรม สร้างงานเขยี น แบบหรอื ภาพจาลองไดอ้ ย่างสะดวกและรวดเร็ว อีกทั้งยงั มฟี ังกช์ ั่น ทาใหช้ ิ้นงานมกี ารเคลอ่ื นไหว ประกอบการนาเสนอได้ เชน่ การออกแบบท่องานตา่ งๆ งานติดตั้งเครื่องจกั รกล ยานพาหนะ งาน ออกแบบภายในโรงงานอุตสาหกรรม ภาพท่ี 2.6 การออกแบบท่องานตา่ งๆ ทมี่ า http://www.kmac-kmutt.org/th/forums/topic/20131023sketchup/ เข้าถึงเมอ่ื 15 พฤษภาคม 2556
5 ภาพท่ี 2.7 การออกแบบยานพาหนะ ท่มี า https://3dwarehouse.sketchup.com/search/?domain=Industrial เข้าถงึ เม่อื 15 พฤษภาคม 2556 งานด้านออกแบบเชิงพาณชิ ย์ ในด้านการออกแบบเชงิ พาณิชย์ ซ่ึงปัจจุบันมีการแข่งขันกันมากขึ้น โปรแกรม Google SketchUp จึงเป็นเครื่องมือที่ตอบโจทยก์ ารออกแบบ เพราะเปน็ โปรแกรมทีม่ ีขนาดเบา ทางานได้ กับทุกเคร่ือง สง่ ตอ่ งานได้ง่ายและหลากหลายรูปแบบ เช่น การออกแบบรถเขน็ ขายสนิ คา้ การ ออกแบบโตะ๊ เคาทเ์ ตอร์ชงกาแฟ การออกแบบบูธแสดงสินคา้ ภาพท่ี 2.8 การออกแบบโต๊ะเคาท์เตอร์ ทม่ี า https://drawing99.blogspot.com/2013/02/3dcoffeeshop.html เข้าถึงเม่ือ 15 พฤษภาคม 2556
6 ภาพที่ 2.9 การออกแบบมนิ ิบาร์ ทีม่ า https://3dwarehouse.sketchup.com/model/u6e6f170e-40e8-4cf2-9699- cc6660a95b27/Interior-Set-Minibar-Dinner-Set เข้าถึงเมอ่ื 15 พฤษภาคม 2556 งานดา้ นออกแบบภายใน งานออกแบบตกแต่งภายใน เปน็ การออกแบบ ตกแตง่ และจัดวางองคป์ ระกอบภายในตัว อาคารบา้ นและสถานทอ่ี ่ืนๆ โดยโปรแกรม Google SketchUp มคี วามยดื หยุ่นในการปรบั เปลี่ยน ตาแหน่งการจดั วาง การแก้ไขโมเดลต่างๆ รว่ มทัง้ การกาหนดพน้ื ผิวและวสั ดใุ ห้ใกลเ้ คียงกับความเป็น จรงิ เชน่ การออกแบบห้องตา่ งๆ ของบ้านหรอื สานักงาน ภาพท่ี 2.10 การออกแบบตกแตง่ ภายใน ทม่ี า https://3dwarehouse.sketchup.com/search/?domain=InteriorDesign เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2556
7 งานด้านสถาปตั ยกรรมทิวทัศน์ โปรแกรม Google SketchUp สามารถสร้างโมเดลทวิ ทัศน์ได้ โดยวตั ถทุ ่เี ป็นอาคาร บา้ นเรอื นรวมท้งั ภมู ิประเทศต่าง ๆ กส็ ามารถใชเ้ ครอ่ื งมอื พื้นฐานของโปรแกรมสรา้ งได้เชน่ กนั เชน่ การออกแบบสวนหยอ่ ม การออกแบบสวนสาธารณะ ภาพที่ 2.11 การออกแบบทางเดนิ สวนสาธารณะ ที่มา https://3dwarehouse.sketchup.com/search/?domain=Landscape เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2556 งานด้านวางผังเมอื ง โปรแกรม Google SketchUp สามารถข้ึนรปู โมเดล โดยใช้ภาพถ่ายจรงิ มาเป็นแบบใน การวาด ดังน้นั จึงสามารถขน้ึ รปู อาคารส่ิงกอ่ สรา้ งต่างๆ ให้เหมอื นจรงิ ไดไ้ ม่ยาก นอกจากนยี้ งั สามารถในการแสดงแสงเงาไดอ้ ย่างสมจรงิ ตามช่วงเวลาและฤดูกาลต่างๆ ของปีได้ ทาใหก้ าร ออกแบบผังเมืองมีตวั ชว่ ยที่มปี ระสทิ ธิภาพและใชง้ านง่าย เชน่ การออกแบบถนน สะพานขา้ มแม่น้า ภาพที่ 2.12 การออกแบบถนนและสะพานข้ามแม่นา้ ที่มา https://3dwarehouse.sketchup.com/search/?q=city%20plan&domain= Transportation เข้าถึงเม่ือ 15 พฤษภาคม 2556
8 งานด้านออกแบบเกม โปรแกรม Google SketchUp สามารถขึน้ รูปโมเดลท่ีเป็นองค์ประกอบตา่ งๆ ของฉาก จาลองและ Storyboard ของเกม หรอื การสรา้ งตัวละครในฉาก ภาพที่ 2.13 การออกแบบฉากจาลอง ท่ีมา https://3dwarehouse.sketchup.com/search/?q=game เขา้ ถงึ เม่ือ 15 พฤษภาคม 2556 งานดา้ นภาพยนตรแ์ ละบนั เทิง โปรแกรม Google SketchUp เปน็ เครือ่ งมือทุน่ แรงในการจาลองฉากภาพยนตร์หรือเวที การแสดงตา่ ง ๆ มเี ครื่องมือ Walk Through ท่ที าให้เราเคลอื่ นที่อยู่ในฉากเหมือนกาลังเดนิ อยู่ในโลก 3 มิติ และมีเครือ่ งมอื มองไปรอบๆ เหมือนเรากาลงั ยนื อยู่ตรงจดุ นน้ั ซึ่งเหมาะกับงานด้านการถ่าย ทาเปน็ อย่างมาก เชน่ การออกแบบฉากรายการทีวี เกมโชว์ ภาพที่ 2.14 การออกแบบเวทีการแสดง ทม่ี า http://chewtorial.blogspot.com/2015/05/sketchup.html เขา้ ถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2556
9 งานไม้ การออกแบบงานไม้ดว้ ยโปรแกรม Google SketchUp ชว่ ยลดความเสี่ยงกอ่ นทา เฟอรน์ ิเจอร์ สามารถออกแบบเพอ่ื นาเสนอและปรบั แกจ้ นถกู ต้องก่อนลงมือทา สาหรบั ลายไมน้ ้นั สามารถกาหนดพื้นผิววตั ถุได้หลากหลายและปรับคุณสมบัตพิ ้นื ผิวจนดสู มจรงิ ได้ด้วย เช่น การ ออกแบบตู้ โตะ๊ เกา้ อี้ต่างๆ ภาพที่ 2.15 การออกแบบเฟอรน์ ิเจอร์ไม้ ที่มา https://3dwarehouse.sketchup.com/search/?domain=Furniture เข้าถงึ เมอื่ 15 พฤษภาคม 2556 ภาพที่ 2.16 การออกแบบเตียงไม้ 2 ช้ัน จุฑารตั น์ ใจบญุ ,2556
10 งานด้านการศกึ ษา โปรแกรม Google SketchUp เป็นเครื่องมือสร้างสื่อการสอนทน่ี ่าสนใจให้กับนักเรยี น โดยเฉพาะวชิ าฟสิ ิกส์ เนอ่ื งจาก Google SketchUp มีโปรแกรมเสรมิ อยมู่ ากมาย และหนึง่ ในน้ันมี โปรแกรมสว่ นเสริมหรือปลกั๊ อินที่จาลองสภาพแรงโนม้ ถ่วงให้กับฉากนน้ั ทาใหว้ ัตถมุ ีการหลน่ กระทบ กนั อย่างสมจรงิ ไดแ้ ก่ sketch physics ภาพท่ี 2.17 การออกแบบจาลองทฤษฎีฟิสิกส์ ท่มี า https://3dwarehouse.sketchup.com/search/?q=physics%20sketchy% 20sketchyphysics เข้าถึงเม่อื 15 พฤษภาคม 2556
11 Google SketchUp เป็นโปรแกรมสรา้ งโมเดล 3 มิติ ซง่ึ มีเคร่ืองมอื ทีใ่ ชง้ านงา่ ย สามารถใช้ งานร่วมกับ Google Map เพื่อสร้างโมเดลอาคาร โชว์ภาพตัดขวางของโมเดล อีกทั้งยังจาลองการ แสดง แสง เงา ตามวันท่ีและเวลาจริงได้อีกด้วย นอกจากน้ียังสามารถโชว์มุมมองต่าง ๆ ของโมเดล เป็นแอนิเมช่ัน หรือจะแปลงเป็นไฟล์ต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ร่วมกับโปรแกรมอื่นได้ เช่น Photoshop, AutoCAD หรือ 3Ds Max เป็นตน้ Google SketchUp เปน็ โปรแกรมทม่ี ีความสามารถสูง แตก่ ลับมีความต้องการของระบบตา่ ซึ่งนบั เป็นข้อดีของโปรแกรมอย่างหน่ึง อย่างไรกต็ ามข้อมลู ตอ่ ไปนี้เปน็ เพียงความต้องการระบบขน้ั ต่า เท่าน้ัน ถ้าต้องการให้การทางานเป็นไปอย่างราบร่ืน และรวดเร็ว โดยเฉพาะการทางานกับโมเดลท่ีมี ความละเอียดมาก ๆ กค็ วรเลอื กใชเ้ คร่อื งท่ีมีความสามารถสูงกว่าท่ีระบุไว้ ความต้องการระบบขั้นตา่ ของระบบปฏิบตั กิ าร Windows ความต้องการระบบข้นั ต่าของระบบปฏบิ ัตกิ าร Mac OS ภาพท่ี 2.18 ความตอ้ งการระบบขนั้ ตา่ ของระบบปฏิบตั กิ าร จุฑารตั น์ ใจบุญ ,2556
12 การเรยี กใชง้ านโปรแกรม Google SketchUp มี 2 วิธี ดงั นี้ ท่หี น้าจอ (Desktop) วิธที ี 1 ดบั เบล้ิ คลกิ ทไ่ี อคอนของโปรแกรม วิธที ี 2 1. คลิกที่ Start 2. คลิกเลือก All Program 3. คลกิ เลือก SketchUp 8 4. คลิกเลอื ก SketchUp ภาพท่ี 2.19 การเรียกใช้งานโปรแกรม Google SketchUp จุฑารัตน์ ใจบุญ ,2556
13 คร้งั แรกเม่อื เปดิ โปรแกรม หน้าจอ Welcome To SketchUp จะมีแถบ Learn แสดง วิธกี ารใช้เคร่อื งมือตา่ งๆ เมอ่ื คลิกทเี่ ครื่องมือจะแสดงวธิ กี ารใชง้ านแต่ละเคร่ืองมือในหน้าตา่ ง Instructor สามารถเปิดได้ทเ่ี มนู Window > Instructor ภาพท่ี 2.20 หนา้ จอ Welcome To SketchUp จุฑารตั น์ ใจบญุ ,2556 ในหน้าตา่ งจะประกอบไปด้วยรายละเอียด ดังนี้ Learn เปน็ สว่ นท่เี ชื่อมตอ่ ไปยังเวบ็ ไซต์ ชว่ ยใหผ้ เู้ ริ่มตน้ ใช้งานเรยี นรูว้ ธิ ีการใช้งาน โปรแกรม Template เปน็ การเลือกรปู แบบการทางาน จะถูกบงั คับใหเ้ ลือกเมอ่ื เปิดโปรแกรม ครัง้ แรก เปน็ ส่วนสาคัญท่สี ุดในตอนเรมิ่ ตน้ ทางาน ป่มุ Start using SketchUp สาหรบั เร่ิมต้นใช้งานโปรแกรม ถา้ ไม่ต้องการให้หน้า Welcome to SketchUp แสดงข้ึนมาทกุ ครง้ั ทเี่ ปิด โปรแกรมให้คลกิ เลือกเครือ่ งหมายถูก always show on startup ออกไป ถา้ ตอ้ งการกาหนด Template ใหม่อีกครงั้ จากการปิดหน้าต่าง Welcome to SketchUp ลงไปแลว้ ทาไดโ้ ดยการ คลกิ ที่เมนู Help > Welcome to SketchUp
14 ในการเปดิ โปรแกรม Google SketchUp ครงั้ แรก (หลงั จากตดิ ตงั้ โปรแกรม และเลือก แมแ่ บบในหนา้ ตา่ ง Welcome แล้ว) จะพบกับหนา้ ตา่ งการทางานโดยมสี ่วนประกอบหลัก ดงั น้ี ภาพที่ 2.21 หน้าตา่ งส่วนประกอบหลกั ของโปรแกรม Google SketchUp จฑุ ารัตน์ ใจบญุ ,2556
15 แถบสาหรับแสดงชอื่ ไฟล์ท่กี าลังทางานอยขู่ ณะนัน้ โดยในการเปิดโปรแกรมหรือสร้างงาน ขนึ้ มาใหมช่ ื่อไฟล์ในแถบไตเติ้ลบาร์จะแสดงเปน็ Untitled จนกว่าจะมีการบนั ทึกและต้ังชื่อไฟล์ แถบทร่ี วบรวมคาส่ังตา่ ง ๆ ในการทางาน โดยจะแบง่ เป็น 8 หมวด ดังนี้ File : เป็นกล่มุ คาสั่งสาหรับจดั การกับไฟล์งาน เช่น การสรา้ งไฟลง์ าน การบันทึก การ นาเขา้ /สง่ ออก การส่งั พิมพ์ เปน็ ต้น Edit : เปน็ กลมุ่ คาสงั่ สาหรบั ปรับแตง่ แก้ไข เชน่ การคดั ลอก ลบ ซ่อน/แสดงโมเดล สรา้ ง Group/Component เป็นต้น View : เปน็ กลมุ่ คาสั่งสาหรบั จัดการในสว่ นของพื้นทีท่ างาน เช่น ซ่อน/แสดงแถบเครอื่ งมอื แกนอ้างอิง เงา หมอก การแสดงผลของเส้น การแสดงผลในสว่ นของการแก้ไข Group/Component เป็นต้น Camera : เปน็ สว่ นคาสงั่ สาหรับจัดการในสว่ นของมมุ มอง ในการทางาน เชน่ การหมนุ เลือ่ น ยอ่ /ขยาย เป็นต้น Draw : เปน็ กล่มุ คาส่งั สาหรบั เลือกใช้เคร่ืองมือต่าง ๆ ในการวาดรปู ทรง เช่น การวาด เสน้ ตรง เสน้ โค้ง สเ่ี หลี่ยม วงกลม เป็นตน้ Tools : เป็นกลุ่มคาสงั่ สาหรับเรยี กใช้เครื่องมือตา่ ง ๆ ในการทางาน เชน่ ดนั /ดึง การหมนุ / ยา้ ยโมเดล การสรา้ งตัวอกั ษรสามมิติ การวัดขนาด เป็นต้น Window : เป็นกลุ่มคาสง่ั เก่ยี วกับการเรยี กแสดงหนา้ ตา่ ง หรือไดอะล็อกบอกซ์ข้ึนมา เพื่อใช้ ร่วมในการทางาน และปรบั แต่งคา่ ต่าง ๆ ของโปรแกรม Help : เปน็ กลมุ่ คาสัง่ เก่ยี วกับค่มู ือการแนะนาการใชง้ านโปรแกรม ไปจนถึงการลงทะเบียน และการตรวจสอบการอัพเดต
16 เป็นแถบรวบรวมเคร่ืองมอื สาคัญมักถกู เรยี กใชง้ าน โดยส่วนมากจะเปน็ การทางานกบั โมเดล และสว่ นประกอบย่อยของโมเดล ดงั น้ี ภาพที่ 2.22 แถบ Toolbar จุฑารัตน์ ใจบญุ ,2556 เปน็ พ้ืนทสี่ าหรับทางาน ซ่ึงสามารถที่จะปรับเปล่ยี นมุมมองไปเป็นมมุ มองต่าง ๆ ท้งั การทางาน ในมมุ มองแบบ 2D และ 3D โดยมมุ มองแบบ 2D นัน้ จะแบ่งออกเปน็ ดา้ นบน ดา้ นหนา้ ด้านขวา ด้านหลงั ดา้ นซา้ ย และด้านล่าง และมุมมองแบบ 3D จะถูกเรียกว่า Iso (Isometric) การทา่ งานในมุมมอง 2D และ 3D เราสามารถปรับเปลย่ี นมุมมองไดโ้ ดยใชเ้ ครื่องมือ ซง่ึ สามารถปรบั ได้ 2 แบบ คือแบบ 2D และ 3D
17 ภาพท่ี 2.23 แถบ Drawing Area จฑุ ารตั น์ ใจบุญ ,2556 คอื เสน้ แกนสาหรับอา้ งองิ การทางาน เพื่อให้การวาดรูปทรง และการสร้างแบบจาลองใน ทศิ ทางตา่ ง ๆ เปน็ ไปอยา่ งถกู ต้องและแม่นยา โดยแกนอ้างอิงจะแบง่ เปน็ 3 แกน ดงั น้ี แกน x จะอยู่ในลักษณะของแนวขวาง (แกนสีแดง) แทนทิศเหนือ – เสน้ ทบึ และทิศใต้ – เสน้ ประ แกน y จะอยู่ในลักษณะของแนวลึก (แกนสเี ขยี ว) แทนทศิ ตะวนั ออก – เสน้ ทบึ และทิศ ตะวันตก – เส้นประ แกน z จะอย่ใู นลกั ษณะของแนวต้งั (แกนสนี า้่ เงนิ ) แทนแนวระนาบระดบั จากพ้ืน โดยเสน้ ทบึ คือบริเวณท่ีอย่สู งู กว่าแนวระนาบและเส้นประ คอื บริเวณท่ีอยตู่ า่ กวา่ แนวระนาบ จุดตดั กนั ระหวา่ งเสน้ แกนท้ัง 3 เส้นจะถูกเรียกว่า Original Point หรือ จะเรียกวา่ จุด ศูนยก์ ลางของพื้นท่ีทางานก็ได้เชน่ กัน โดยตาแหน่งของ Original Point จะมคี า่ x, y, z เท่ากบั 0 โดยถา้ คา่ ตวั เลขเปน็ บวกจะอยใู่ นทิศทางของเส้นทึบ และถ้าคา่ เป็นลบจะอยูใ่ นทิศทางของเสน้ จดุ ไข่ ปลา
18 ภาพท่ี 2.24 แถบ Drawing Axes จฑุ ารตั น์ ใจบุญ ,2556 คอื แถบแสดงสถานะต่าง ๆ ในการทางาน โดยจะแสดงในสว่ นการแนะนาการใชง้ านเครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ จะอธบิ ายลักษณะการทางานของเคร่ืองมอื ที่เราเลือกขณะทางาน เปน็ ตัวชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจวา่ เครอ่ื งมอื ที่ใชง้ านอยนู่ ้ันมีการใช้งานอยา่ งไร ภาพที่ 2.25 แถบ Status Bar จฑุ ารตั น์ ใจบญุ ,2556
19 Measurement มีช่ือเรียกอีกช่ือหนึ่งว่า VCB (Value Control Box) เป็นเครื่องมือสาหรับ กาหนดค่าต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นความยาว ขนาด องศา ระยะ ให้กับการใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ ซ่ึงจะ ช่วยให้การสร้างแบบจาลองมีความแม่นยาและได้สัดส่วนที่ถูกต้อง โดยรูปแบบการกาหนดค่าด้วย Measurement นนั้ จะใชว้ ิธีการพมิ พ์ตวั เลขลงไปในขณะทใี่ ชเ้ ครือ่ งมอื แตล่ ะชนิดอยู่ โดยท่ีไมต่ อ้ งเอา เมาส์ไปคลิกที่ช่องกาหนดค่า เช่น เม่ือเราต้องการวาดรูปสี่เหล่ียมขนาด 5 x 5 เมตร เราจะใช้ เครอ่ื งมือ Rectangle วาดรูปสี่เหลี่ยม จากนัน้ พิมพค์ า่ ลงไปเปน็ 5m, 5m หรอื 5,5 (ในกรณที กี่ าหนด หน่วยวัดเป็นเมตรไม่จาเป็นท่ีจะต้องใส่หน่วยวัดต่อท้ายตัวเลข) แล้วกดปุ่ม Enter เราก็จะได้รูป สเี่ หลยี่ ม ขนาด 5×5 เมตร เปน็ ต้น ภาพท่ี 2.26 แถบ Measurement Tool จุฑารัตน์ ใจบญุ ,2556 เมาส์ และคีย์บอรด์ เป็นอุปกรณ์ทีใ่ ชอ้ านวยความสะดวก ซง่ึ โปรแกรม Google SketchUp ได้ ออกแบบใหเ้ มาสส์ ามารถใชง้ านคาสงั่ ท่ีมักจะใชบ้ อ่ ยๆ เพอ่ื ให้การสรา้ งงานเป็นไปอยา่ งสะดวกและ รวดเรว็ โดยมีรปู แบบการใชง้ านดงั นี้ คลกิ ปุม่ ซ้ายของเมาส์ > เป็นการเลอื กวัตถุ คลิกปมุ่ ขวาของเมาส์ > เปน็ การเปดิ เมนู Context คลิกปุ่มกลาง หรือลกู กลิ้งของเมาส์ > เครอื่ งมือจะถูกเปล่ียนเป็นเคร่อื งมือ Orbit ช่วั คราว เปน็ การปรับหมนุ มมุ มองภาพ คลกิ ปุม่ กลาง หรือลกู กลิ้งของเมาสพ์ ร้อมกดคีย์ Shift > เคร่ืองมอื จะถูกเปลย่ี นเป็น เครื่องมอื Pan ชวั่ คราว เปน็ การเลอื่ นมุมมอง หมุนปุ่มกลาง หรอื ลูกกลงิ้ ของเมาส์ > เปน็ การย่อ/ขยายภาพ โดยถ้าหมนุ ไปข้างหน้าจะ เป็นการขยาย หมุนมาดา้ นหลังจะเป็นการย่อ ดับเบิลคลกิ ปุ่มกลาง หรอื ลูกกลิ้งของเมาส์ > เป็นการเปล่ียนจุดศูนย์กลางของภาพขณะท่ี เลือกเครื่องมือ Orbit, Pan และ Zoom สามารถที่จะคลิกเมาส์ปมุ่ ขวาเพอ่ื เรียกแสดงเมนูคาสงั่ สาหรับการควบคมุ มุมมองได้ดว้ ย
20 การทางานบนโปรแกรม Google SketchUp ให้มปี ระสทิ ธิภาพตอ้ งเริ่มต้นจากการทาความ เข้าใจวิธกี ารทางานกบั ระบบไฟล์ เพอื่ จะสามารถใช้ไฟลง์ านและจัดเกบ็ ไฟล์ได้อย่างถูกต้อง เม่ือเรียกใชง้ านโปรแกรม Google SketchUp ก็จะเริม่ ตน้ ทางานกบั ไฟลใ์ หม่ได้ทันที โดย ใหส้ ังเกตท่ีไตเติลบารจ์ ะมีชอื่ ไฟลว์ ่า Untitled แสดงวา่ ไฟล์นี้ยงั ไมม่ ีการบนั ทึกไฟล์ เนื่องจากเป็นไฟล์ ใหม่ นอกจากน้นั โปรแกรมจะจัดเตรียมโมเดลรูปคนยืนใกล้กบั แกนหลกั ทกุ ครัง้ ด้วย ถา้ ไม่ใช้กส็ ามารถ ลบทิ้งได้ หลงั จากเปิดโปรแกรมข้ึนมา สามารถเริ่มทางานกบั ไฟลใ์ หมไ่ ดเ้ ลย ภาพที่ 2.27 หนา้ ตา่ งเรม่ิ ต้นการทางานกบั ไฟลใ์ หม่ จฑุ ารตั น์ ใจบุญ ,2556
21 แต่ถ้าเราต้องการสร้างไฟลใ์ หม่ โดยละทิ้งทุกอย่างทกี่ าลังทาอย่ใู หเ้ ลือกคาสง่ั File –> New หรอื กดคยี ์ Ctrl + N ภาพท่ี 2.28 หน้าต่างสร้างไฟล์งานใหม่ จุฑารัตน์ ใจบญุ ,2556 ภาพท่ี 2.29 ไดอะล็อกบ็อกซ์ ถามวา่ ต้องการบันทึกไฟลห์ รือไม่ จุฑารัตน์ ใจบญุ ,2556
22 หลงั จากทเ่ี ริม่ ทางานบนพน้ื ที่การทางานไปบา้ งแล้ว หากต้องการเกบ็ บันทึกไฟลง์ านไว้ แต่ เรายังไม่เคยบนั ทึกไฟลน์ ม้ี าก่อน ใหเ้ ลือกคาสง่ั File –> Save As ไฟลท์ ่ีไดจ้ ะมีนามสกุล .skp ซง่ึ เปน็ ไฟล์งานของโปรแกรม Google SketchUp ภาพที่ 2.30 หน้าตา่ งเลือกคาส่ังบันทึกไฟล์งาน จฑุ ารัตน์ ใจบญุ ,2556 ภาพที่ 2.31 การบันทกึ ไฟล์งาน จุฑารัตน์ ใจบุญ ,2556
23 การเปดิ ไฟล์หรือการเรียกชิ้นงานที่ถูกสร้างไวก้ ่อนหนา้ จะตอ้ งเปิดเฉพาะไฟล์นามสกุล .skp เทา่ น้นั เนอื่ งจากไฟลท์ ่ถี ูกสรา้ งจากโปรแกรม Google SketchUp จะถกู เก็บไฟล์ไวน้ ามสกุลน้ี โดย เปดิ ไฟลด์ ว้ ยคาสั่ง File –> Open หรือกดคยี ์ Ctrl + O ภาพที่ 2.32 หนา้ ตา่ งเปิดไฟล์งาน จฑุ ารัตน์ ใจบญุ ,2556 ภาพที่ 2.33 การเลือกเปิดไฟลง์ าน จฑุ ารตั น์ ใจบญุ ,2556
24 เมือ่ ต้องการออกจากโปรแกรม ให้เลือกคาส่งั File –> Exit หรอื คลิกท่ีปุ่ม ด้านบน ขวาของโปรแกรมกไ็ ด้ ถ้าทาการบันทึกงานแล้วโปรแกรมจะปิดทันที แตถ่ ้ายงั ไมไ่ ดบ้ นั ทึกโปรแกรมก็ จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ ถามวา่ ต้องการบันทึกหรือไม่ ใหเ้ ลือกตามความต้องการ แลว้ จงึ ออกจาก โปรแกรม ภาพท่ี 2.34 หนา้ ต่างออกจากโปรแกรม จุฑารัตน์ ใจบญุ ,2556 ภาพท่ี 2.35 ไดอะลอ็ กบอ็ กซ์ ถามว่าต้องการบนั ทึกงานหรือไม่ จฑุ ารตั น์ ใจบญุ ,2556
25 เริ่มตน้ เมือ่ เขา้ เปิดโปรแกรม Google SketchUp คร้งั แรกโปรแกรมจะให้เลือก Template และมาตราสว่ นหน่วยวัดทใ่ี ช้ และควรที่จะเลอื ก Template ใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน ซึ่งในแต่ละ ตัวมคี วามแตกตา่ งกนั ภาพที่ 2.36 การเลอื ก Template และมาตราส่วนหนว่ ยวัด จฑุ ารัตน์ ใจบุญ ,2556 ในหน้าต่าง Welcome to SketchUp จะมีสว่ นท่ตี อ้ งเลือกก่อนเร่ิมต้นใชโ้ ปรแกรม คือ ส่วนของ Template ซึ่งจะเป็นตัวกาหนดหนว่ ยวัดระยะทเ่ี ราใชก้ ารเลอื ก Template สาหรับ เริม่ ตน้ ทางาน มีความสาคัญท่ีตอ้ งตัดสินใจเลือก 2 สว่ น คือ ทางานทางด้านใด เชน่ ทางานทว่ั ไป หรอื ทางานด้าน Product Design ใชห้ นว่ ยแบบใด เช่น หนว่ ยแบบ Feet and Inches ทแ่ี สดงหนว่ ยเปน็ นิว้ หรอื ฟุต หรอื หนว่ ยแบบ Meters ทีแ่ สดงหนว่ ยเป็น เซนตเิ มตร หรือ เมตร
26 Simple Template – Feet and Inches และTemplate – Meters เป็นรปู แบบเริ่มตน้ เหมาะกับการทางานท่วั ไป Architectural Design – Feet and inches และ Architectural Design – Millimeters เปน็ รปู แบบการทางานท่เี หมาะสมกบั งานสถาปตั ยกรรมและการออกแบบตกแตง่ ภายใน Google Earth Modeling – Feet and Inches และ Google Earth Modeling – Meters เป็นรูปแบบท่เี หมาะกับการสร้างโมเดล เพอื่ ใช้สาหรบั โปรแกรม Google Earth Engineering –Feet และ Engineering –Meters เปน็ รูปแบบการทางานที่เหมาะกับงาน วศิ วกรรม Product Design and Woodworking – Inches และ product Design and Woodworking Millimeters เป็นรปู แบบท่ีเหมาะกับงานชน้ิ เลก็ ๆ และงานเฟอรน์ เิ จอร์ Template น้จี ะมหี นว่ ยวัดทลี่ ะเอียดถงึ มิลลิเมตร Plan View –Feet and Inches และ Plan View –Meters จะเปน็ การทางานทีม่ ีมุมมอง แบบแปลน 2 มติ ิ นอกจากหน่วยการทางานที่เปลย่ี นไปแล้ว ในการเลือก Template ว่าจะทางานด้านใดในตวั Template เองจะมรี ายละเอียดอน่ื ๆ เช่น สไตล์ของเสน้ และรายละเอยี ดอืน่ ๆ ทีแ่ ตกต่างกนั ไปดว้ ย ซง่ึ สิ่งเหลา่ น้สี ามารถมองเหน็ ได้จริง ๆ เม่ือเริ่มวาดภาพหรอื ทางานในโปรแกรมแล้ว หากตอ้ งการ เปลี่ยน Template หลงั จากทเ่ี ปดิ โปรแกรมแลว้ ทาไดโ้ ดยการคลิกทีเ่ มนู Window –> Preference จากน้นั คลิกท่ี Template ใหมท่ ตี่ ้องการ โดย Template ทีเ่ ปล่ยี นจะมผี ลเม่ือเปิดโปรแกรมครั้ง ตอ่ ไป
27 หากเราต้องการสร้าง Template ตามทเ่ี ราต้องการ สามารถกาหนดได้เองตามขัน้ ตอน ตอ่ ไปน้ี 1. ไปทเ่ี มนู Windows —> Styles ภาพท่ี 2.37 การเลือก Style ของ Template จุฑารตั น์ ใจบญุ ,2556 2. เลอื ก List รายการสไตลท์ ี่ต้องการ ภาพที่ 2.38 การเลอื ก List รายการ Style ของ Template จฑุ ารตั น์ ใจบุญ ,2556
28 3. คลิกเลอื กโมเดลที่เราต้องการและเราสามารถกาหนดมาตราส่วนและหน่วยวัดของโปรแกรม Google SketchUp โดย เลือกเมนู Windows —> Model Info —> Unit ภาพท่ี 2.39 การกาหนดมาตราส่วนและหนว่ ยวดั ของโปรแกรม จุฑารตั น์ ใจบญุ ,2556 Format คือ การกาหนดมาตรฐานตัวเลขทใี่ ชใ้ นการทางาน โดยเนน้ ตามหลกั สากล มใี ห้ เลอื ก 4 แบบ ดังน้ี Architectural เป็นตัวเลขตามแบบงานสถาปัตย์ ใหใ้ ช้เปน็ น้วิ เท่านัน้ Decimal เป็นตัวเลขทัว่ ไปตามรปู แบบเลขฐานสิบ เลอื กหนว่ ยวัดได้หลากหลาย เชน่ ฟุต, นิว้ , มิลลิเมตร, เซนตเิ มตร, เมตร Engineering เป็นตวั เลขตามแบบงานวิศวกรรม ให้ใชเ้ ป็นฟุตเท่านน้ั Fractional เป็นตัวเลขแบบเศษสว่ นใหใ้ ช้เป็นนิ้วเท่าน้นั Precision คอื การกาหนดตัวเลขใหแ้ สดงค่าตาแหน่งทศนิยม Enable Length Snapping คอื การกาหนดให้โปรแกรมช่วยกาหนดค่าความยาวของเสน้ ใหเ้ พ่ิม หรอื ลดตามค่าตวั เลขท่ีกาหนด Display Units Format คือ การกาหนดใหแ้ สดงหน่วยวัดทใ่ี ช้งาน Force Display of 0” คือ กรณีเลือกใช้แบบ Architectural เมอ่ื ไม่มเี ศษของค่านิ้ว โปรแกรมจะใส่สัญลักษณ์ 0” ต่อท้ายลงไปด้วย
29 Precision คือ การกาหนดค่าองศาให้แสดงตาแหนง่ ทศนยิ ม Enable Length Snapping คอื การกาหนดใหโ้ ปรแกรมช่วยกาหนดค่าความกวา้ งของมมุ ใหเ้ พิ่มหรือลดตามค่าตวั เลขที่กาหนด เมอ่ื เลือกรายละเอียดเรยี บรอ้ ยแล้ว หากตอ้ งการ Save Template ให้ไปที่ เมนู File –> Save As Template จะปรากฏหน้าต่าง ดงั ภาพ ภาพท่ี 2.40 ไดอะล็อกบ็อกซ์ การบนั ทกึ เทมเพลต จุฑารัตน์ ใจบุญ ,2556 กดปุ่ม Save เพอ่ื ทาการ Save Template เป็นอันเสร็จสนิ้ การสร้าง Template เมื่อเรา เปดิ โปรแกรม Google SketchUp เราสามารถเรยี กใช้ Template ทบี่ ันทกึ ไว้
30 ในการออกแบบโครงสร้างตัวอาคาร ผลิตภณั ฑ์ต่าง ๆ จาเป็นต้องอาศัยความแม่นยา และ เจาะจง เพ่ือให้ชิ้นงานที่ออกมาน้ัน สามารถนาไปใชไ้ ดจ้ ริง โปรแกรม Google SketchUp มีแกน อ้างองิ ไวใ้ ห้ใช้เปน็ แกนหลักในการวาดภาพและข้ึนโมเดล รวมทั้งการทางานอื่น ๆ ซง่ึ เม่ือเปิด โปรแกรมข้นึ มาจะพบแกนอ้างอิง ดงั ภาพ ภาพที่ 2.41 แกนอ้างอิง จุฑารตั น์ ใจบุญ ,2556 จากภาพจะพบแกนอ้างองิ ท้ังหมด 3 แกน วางตดั กัน ได้แก่ แกนสแี ดง (Red Axis) แกนสี เขยี ว (Green Axis) และแกนสีนา้ เงนิ (Blue Axis) ซง่ึ ใชง้ านตามรปู แบบของแกน 3 มิติ (X, Y, Z) สว่ นจุดตัดของแกนทัง้ 3 เรียกว่า จุดกาเนดิ (origin) การจัดวางแกนอ้างอิงในโปรแกรม SketchUp เป็นรูปแบบมาตรฐานท่ีคนส่วนใหญ่ใช้ กัน เราสามารถกาหนดรูปแบบและลกั ษณะการวางแกนไดเ้ อง ทงั้ นเ้ี พื่อความสะดวกในการทางาน และความถนัดของแต่ละคน โดยคลิกขวาท่ีแกนท่ีตอ้ งการ จะปรากฏคาสงั่ ให้เลอื ก ดังน้ี คลิกขวาทีแ่ กนทต่ี ้องการทางาน จะปรากฏเมนูคาสง่ั ออกมา
31 ภาพที่ 2.42 การเลือกแกนที่ตอ้ งการทางาน จุฑารัตน์ ใจบญุ ,2556 เป็นการจัดวางตาแหน่งของแกนอ้างองิ ตามความต้องการของเรา โดยเม่อื คลิกเลือกคาสัง่ Place แลว้ จะปรากฏไอคอนแกนข้ึนมา ใหค้ ลกิ เมาสเ์ พื่อระบตุ าแหน่งแกนอา้ งอิง และเลื่อนเมาส์เพื่อ หมนุ ภาพ ภาพท่ี 45 การวางแกนอ้างอิงในตาแหน่งใหม่ด้วยคาสัง่ Place จฑุ ารัตน์ ใจบญุ ,2556
32 ภาพท่ี 2.43 ตาแหนง่ ใหมข่ องแกนอ้างอิงที่ยา้ ยมา จุฑารัตน์ ใจบญุ ,2556 เป็นการจดั วางตาแหน่งของแกนอ้างองิ และหมนุ แนวแกนไดต้ ามตอ้ งการ โดยกาหนดระยะทาง ในชอ่ ง Move และกาหนดองศาการหมุนในชอ่ ง Rotate ภาพที่ 2.44 การจดั วางตาแหนง่ ของแกนอา้ งอิงด้วยคาส่ัง Move จฑุ ารัตน์ ใจบุญ ,2556
33 ภาพท่ี 2.45 การจัดกาหนดค่าการวางและหมนุ ตาแหนง่ ของแกนอา้ งอิง จุฑารตั น์ ใจบญุ ,2556 ภาพท่ี 2.46 แกนอ้างอิงทีเ่ กิดจากการวางและหมุนตาแหน่งใหม่ จฑุ ารตั น์ ใจบญุ ,2556
34 หลงั จากได้เปลย่ี นตาแหน่งแกนหรือหมนุ แกน ถ้าตอ้ งการให้แกนอา้ งอิงกลบั มาวางตัวในแนว เดมิ กใ็ หใ้ ช้คาสง่ั Reset ภาพที่ 2.47 การเรยี กค่าการวางแกนอา้ งอิงคืนตาแหน่งเดิม จฑุ ารัตน์ ใจบุญ ,2556 ในกรณีทต่ี ้องการซ่อนแกนอา้ งอิง กส็ ามารถทาไดโ้ ดยคลิกขวาทแ่ี กน แล้วเลอื กคาสั่ง Hide ภาพท่ี 2.48 การซ่อนแกนอ้างองิ ดว้ ยคาสง่ั Hide จุฑารตั น์ ใจบุญ ,2556
35 การทางานกับโมเดล 3 มติ ินน้ั จะมมี มุ มองทร่ี อบดา้ นแตกต่างจากโมเดล 2 มิติ ดงั นัน้ เพ่อื ความเหมาะสมกบั การดูโมเดลแต่ละมมุ โปรแกรม Google SketchUp มีเคร่ืองมอื มุมกลอ้ ง ซึ่ง จาลองมมุ มองเหมือนอยู่ในสภาพแวดล้อมของชิ้นงานจริง ในพน้ื ท่ี 3 มิติ จะมีมมุ มองมาตรฐานในการมองชิน้ งานอยู่ 7 มมุ ไดแ้ ก่ Top : ดา้ นบน Bottom : ดา้ นลา่ ง (ข้างใต้) Front : ด้านหนา้ Back : ดา้ นหลัง Left : ดา้ นซ้าย Right : ด้านขวา ISO : Isometric หรอื มมุ มองแนวเอียงที่ทาใหเ้ ห็นรปู ทรงโดยรวมของชน้ิ งานได้ ในการมองชิ้นงานมุมต่าง ๆ น้ันเราสามารถใชเ้ คร่ืองมือหมุนมุมมอง เพ่ือมองรอบชนิ้ งานได้ อสิ ระ แตม่ ุมมองมาตรฐานมีประโยชน์สาหรบั การตรวจสอบชิ้นงาน ในแต่ละด้านอยา่ งเที่ยงตรง และ ใชใ้ นการนาเสนองาน เช่น การออกแบบสนิ คา้ หรือสถานที่ตา่ ง ๆ การเลือกมมุ มองมาตรฐาน ทาได้ ดังน้ี 1. เลือกเมนู Camera จากแถบเมนูหลกั และเลือกมุมมองจากเมนยู ่อย Standard Views ภาพท่ี 2.49 การเลือกมมุ มองจากเมนยู ่อย จุฑารตั น์ ใจบุญ ,2556
36 2. พ้นื ที่ทางานจะเปล่ียนเปน็ มมุ มองท่ีเลือกไวต้ ามภาพตัวอยา่ ง มุมมอง Top (ดา้ นบน) มุมมอง Bottom (ด้านลา่ ง) มุมมอง Front (ดา้ นหนา้ ) มุมมอง Back (ดา้ นหลงั ) มมุ มอง Left (ด้านซ้าย) มมุ มอง Right (ดา้ นขวา) มุมมอง Iso (3 มติ ิ) ภาพท่ี 2.50 การเลอื กมุมมองแบบต่างๆ จุฑารตั น์ ใจบุญ ,2556
37 เครื่องมือ Orbit มีไว้สาหรับการหมุนมมุ มองรอบชนิ้ งานในลักษณะการโคจรรอบ ๆ นบั ว่าเป็น เคร่อื งมือทจ่ี าเป็นต้องใช้ตลอดเวลาในการสรา้ งโมเดล 3 มิติ การเรยี กใชเ้ ครอ่ื งมือ Orbit นน้ั ทาได้จากการเรียกใชเ้ มนู และการใชเ้ มาส์ เพื่อความรวดเรว็ ดังน้ี 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Orbit บน Toolbar ภาพที่ 2.51 การเลือกเคร่อื งมือ Orbit จฑุ ารัตน์ ใจบญุ ,2556 2. ใช้เครือ่ งมือ Orbit เพ่ือหมุนมุมมองชิน้ งานได้รอบ 360 องศา สิ่งท่ีหมนุ คือมมุ มอง ของเรา แตไ่ ม่ใชโ่ มเดลทีถ่ กู หมนุ ภาพที่ 2.52 การเลอื กมมุ มองชนิ้ งาน 360 องศา จฑุ ารัตน์ ใจบญุ ,2556
38 เคร่อื งมือ Pan ใชส้ าหรับการเลือ่ นมมุ มองแนวราบโดยไมห่ มนุ มุมมอง จะเห็นได้วา่ หน้าที่ของ Pan และ Orbit นั้นเป็นการจัดการมมุ มองชิน้ งานท่ตี า่ งแนวกัน แตต่ อ้ งใช้คู่กันเสมออยา่ งหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ดงั นนั้ 2 เครอ่ื งมือนี้จึงเปน็ เครอ่ื งมือท่เี ราเรียกใช้ไดท้ ุกเวลา โดยไม่จาเป็นต้องคลิกเลือก เครอื่ งมือจาก Toolbar กอ่ นทุกครง้ั เรามาดูวิธีใชง้ าน Pan Tool ทง้ั จากการคลิกที่ Toolbar และการใช้งานดว้ ยเมาส์ 1. จากตวั อย่างชิ้นงานอยู่เรียงกันในแนวหน้ากระดาน ภาพท่ี 2.53 ชิ้นงานเรยี งกนั ในแนวหน้ากระดาน จุฑารตั น์ ใจบญุ ,2556
39 2. คลกิ เลอื กเคร่ืองมอื Pan บน Toolbar ภาพที่ 2.54 การเลอื กเครื่องมือ Pan จุฑารตั น์ ใจบญุ ,2556 3. ใช้เคร่ืองมือ Pan คลกิ และเลื่อนมุมมองในแนวราบ เพ่ือทางานกบั ช้นิ งานแตล่ ะช้นิ ได้ การ เลื่อนนเ้ี ป็นการเลื่อนมมุ มอง แตโ่ มเดลไม่มกี ารเคลอ่ื นย้ายแตอ่ ย่างใด ภาพที่ 2.55 การเลื่อนมมุ มองแนวราบ จุฑารตั น์ ใจบุญ ,2556
40 เครือ่ งมอื Zoom นบั วา่ เป็นเคร่ืองมือจดั การมุมมองที่มีหน้าที่สาคญั คือการย่อและขยาย มุมมอง เพ่ือทางานกบั ช้ินงานในระดบั ภาพรวมหรือในรายละเอยี ดย่อย ๆ ได้ เครอ่ื งมอื Zoom ไมเ่ พยี งแต่ใช้ในการย่อขยายมุมมองเทา่ นนั้ แตย่ ังใชเ้ ปล่ยี นมมุ กล้องได้อกี ด้วย การเรยี กใชเ้ ครื่องมือ Zoom จาก Toolbar มีดงั น้ี 1. เตรยี มชนิ้ งานบนพน้ื ที่ทางาน ภาพท่ี 2.56 ชิ้นงานบนพ้ืนท่ีทางาน จุฑารตั น์ ใจบุญ ,2556 2. คลิกเลือก Zoom จาก Toolbar ภาพท่ี 2.57 การเลือกเครื่องมอื Zoom จุฑารตั น์ ใจบุญ ,2556
41 3. คลกิ เลอื่ นไปทางด้านบนเป็นการขยายมุมมองชน้ิ งานจะดูใกล้และใหญ่ขึน้ ภาพท่ี 2.58 การขยายมุมมองชนิ้ งานด้วยเคร่ืองมือ Zoom จฑุ ารตั น์ ใจบญุ ,2556 4. คลิกและเลื่อนไปทางด้านลา่ งเปน็ การย่อมุมมอง ชน้ิ งานจะดูไกลออกไปและเล็กลง ภาพที่ 2.59 การยอ่ มุมมองชิน้ งานดว้ ยเครือ่ งมือ Zoom จุฑารตั น์ ใจบญุ ,2556
42 5. หากดับเบิลคลิกเครอ่ื งมือ Zoom ไปทช่ี ้นิ งานใด ชิ้นงานนน้ั จะถกู จัดใหอ้ ยูต่ รงกลาง ภาพท่ี 2.60 การดับเบลิ คลิกเคร่อื งมือ Zoom ให้ช้ินงานอยู่ตรงกลาง จุฑารัตน์ ใจบญุ ,2556 Zoom Window เปน็ เครือ่ งมอื ท่ีอยู่ใกลเ้ คียงเครือ่ งมือ Zoom และใช้งานใกล้เคียงกนั ด้วย เพยี งแตเ่ คร่ืองมือ Zoom Window จะใหล้ ากพื้นทีท่ ี่ต้องการจะขยายมุมมองโดยเฉพาะ วธิ ใี ชแ้ ละ ตวั อยา่ งผลลัพธ์ ดงั น้ี 1. คลิกเครอ่ื งมอื Zoom Window บน Toolbar ภาพที่ 2.61 การเลอื กเครอื่ งมอื Zoom Window จุฑารตั น์ ใจบุญ ,2556
43 2. ลากพ้นื ท่ตี ้องการขยายมุมมอง ภาพที่ 2.62 การขยายมุมมองด้วยเครอื่ งมือ Zoom Window จฑุ ารัตน์ ใจบุญ ,2556 3. ผลลพั ธ์ คอื มุมมองจะถกู ขยายในบริเวณทล่ี ากพื้นทจี่ นเต็มหน้าจอการทางาน ภาพที่ 2.63 มุมมองชนิ้ งานถูกขยายเต็มจอการทางาน จฑุ ารตั น์ ใจบุญ ,2556
44 Zoom Extents มีหน้าทีข่ ยายมุมมอง เพื่อใหเ้ ห็นช้ินงานทงั้ หมดบนพื้นท่ที างาน โดยมี มมุ มองทใ่ี หญ่ทส่ี ดุ เท่าที่จะครอบคลุมชน้ิ งานทง้ั หมด 1. คลิกเคร่ืองมือ Zoom Extents บน Toolbar ภาพท่ี 2.64 การเลอื กเครอื่ งมอื Zoom Extents จฑุ ารัตน์ ใจบุญ ,2556 2. ชนิ้ งานทั้งหมดจะถูกขยายจนเต็มพน้ื ท่ีการทางาน ภาพท่ี 2.65 ช้นิ งานทัง้ หมดถูกขยายเต็มจอการทางาน จุฑารัตน์ ใจบญุ ,2556
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: